ชื่อโรงเรียน | โรงเรียนบ้านศาลา |
สังกัด | อบจ.เชียงใหม่ |
หน่วยงานต้นสังกัด | องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ |
ที่อยู่โรงเรียน | 234 หมู่ที่ 3 ตำบลดอนแก้ว อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ 50180 |
จำนวนนักเรียน | 737 คน |
ช่วงชั้น | อนุบาล,ประถม,มัธยมต้น |
ผู้อำนวยการ | นางรสชรินทร์ คำโพธิ์ 0611982423 |
ครูผู้รับผิดชอบ | นางสาวสุวพิชญ์ สุภา |
เชิญวิทยากร มาอบรมให้ความรู้เรื่องการตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร
นักเรียนได้รับความรู้เรื่องการตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร
- image_2022-04-08_133047132.png
- image_2022-04-08_133102761.png
- image_2022-04-08_133137111.png
- image_2022-04-08_133203780.png
- image_2022-04-08_133231704.png
- image_2022-04-08_133254768.png
- image_2022-04-08_133324555.png
- image_2022-04-08_133349007.png
- image_2022-04-08_133446273.png
- image_2022-04-08_133504652.png
- image_2022-04-08_133529136.png
- image_2022-04-08_133554733.png
- image_2022-04-08_133805828.png
- image_2022-04-08_133822165.png
- image_2022-04-08_133859866.png
- image_2022-04-08_133909353.png
- image_2022-04-08_133923663.png
ส่งเสริมให้นักเรียนเรียนรู้และฝึกทักษะด้านเกษตร และปลูกผักอินทรีย์ ตามฐานการเรียนรู้เศรษฐกิจพอพียงขับเคลื่อนนเกษตรอินทรีย์สู่อาหารกลางวัน โดยความร่วมมือจากครอบครัวและชุมชน เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องมีวิทยากรภายนอกมาอบรมให้ความรู้เกษตรอินทรีย์ต่างๆ เช่นการเลี้ยงจิ้งหรีด การปลูกผักให้เหมาะสมกับดิน เป็นต้น
- นักเรียนรับประทานผัก ผลิตผลทางเกษตรที่สะอาดไม่มีสารปนเปื้อน
- นักเรียนมีความเข้าใจในการปลูกผัก ทำเกษตรอินทรีย์ รับผิดชอบตามฐานการเรียนรู้ที่ตนเองรับผิดชอบ
- นักเรียนสามารถนำผลผลิตที่เหลือจากการขาย แบ่งปันหรือนำมาบริโภคเอง
- ผลผลิตที่ได้ ขายให้กับแม่ครัว ครู และบุคลากรในโรงเรียน
- สภานักเรียนจัดทำแผ่นพับประชาสัมพันธ์การกินผักผลไม้ และการล้างผักผลไม้อย่างถูกวิธี ให้กับนักเรียน และให้นักเรียนนำไปเผยแพร่ให้กับสมาชิกในครอบครัวและชุมชน
- สภานักเรียนให้ความรู้น้อง ๆ เรื่องการกินผักผลไม้ และการล้างผักผลไม้อย่างถูกวิธี ให้นักเรียนนำไปเผยแพร่ให้กับสมาชิกในครอบครัวและชุมชน
- จากการเรียนรู้ฐานกิจกรรมการปลูกผักอินทรีย์ปลอดสารพิษ สู่การขยายผลไปยังครอบครัวและชุมชน โดยสภานักเรียน แจกเมล็ดพันธุ์ผักให้กับนักเรียน เพื่อนำไปปลูกที่บ้านเพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองได้บริโภคผักอย่างปลอดภัย
- สภานักเรียน เป็นแบบอย่างที่ดีด้านการส่งเสริมพฤติกรรม การบริโภคที่เหมาะสม (เพิ่ม ผักผลไม้ ลดหวานมันเค็ม) โดยการมีส่วนร่วม
- นักเรียนมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง และปลอดภัย
นักเรียน(อย.น้อย)ร่วมกันเฝ้าระวังทางสุขาภิบาลอาหาร ด้วยชุดทดสอบในการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียในอาหาร ภาชนะและถาดอาหาร ช้อน ส้อม และผู้สัมผัสอาหาร ทดสอบสัปดาห์ละ2 ครั้ง เพื่อป้องกันโรคติดต่อทางเดินอาหารและน้ำที่จะเกิดขึ้นกับนักเรียน ครูและบุคลากรภายในโรงเรียน
- นักเรียนมีความเข้าใจ รู้จักวิธีการตรวจโคลิฟอร์มทีี่ถูกต้อง
- นักเรียน ครู และบุคคลากรในโรงเรียนรับประทานอาหารที่สะอาดปลอดภัย
- ป้องกันการเกิดโรคติดต่อทางเดินอาหารและน้ำภายในโรงเรียน
- image_2022-04-07_140657926.png
- image_2022-04-07_140642048.png
- image_2022-04-07_140712134.png
- image_2022-04-07_140727899.png
- image_2022-04-07_140747458.png
- image_2022-04-07_140806403.png
- image_2022-04-07_140822385.png
- image_2022-04-07_140847623.png
- image_2022-04-07_140915033.png
- image_2022-04-07_140942472.png
- image_2022-04-07_140958191.png
โครงการเกษตรอินทรีย์สู่อาหารนักเรียนเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เป็นการขับเคลื่อนนโยบายด้านอาหารโภชนาการของโรงเรียนนำสู่ให้นักเรียนปฏิบัติ โดยการน้อมนำหลักปรัญชญาเศรษฐกิจพอเพียงในหลวงรัชกาลที่ 9 มาเป็นฐานในการจัดกิจกรรม ให้นักเรียนแต่ละห้องรับผิดชอบตามฐานการเรียนรู้ เช่น ฐานปลูกผัก ฐานเลี้ยงปลา ฐานเลี้ยงไก่ ฐานเลี้ยงกบ เป็นต้น ผลผลิตที่ได้จากเกษตรอินทรีย์ก็จะนำมาจำหน่ายให้แม่ครัวเพื่อปรุงอาหารกลางวันในโรงเรียน
- นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ได้ลองผิดลองถูกด้วยตัวเอง
- แต่ละห้องรับผิดชอบตามฐานการเรียนรู้นำผลผลิตจากเกษตรอินทรีย์จำหน่ายให้แม่ครัวเพื่อปรุงอาหารกลางวัน
- นักเรียนนำผลผลิตจากเกษตรอินทรีย์ที่เหลือจากการจำหน่ายให้แม่ครัวไปจำหน่ายให้ครู /เจ้าหน้าที่อบจ. /ผู้ปกครอง/จัดกระเช้าของฝากและนำเงินเข้าฝากธนาคารโรงเรียนเพื่อเป็นต้นทุนต่อไป
ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงของนักเรียน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ทุกชั้นเรียน เพือประเมิน ภาวะโภชนาการของนักเรียนรายบุคคล รายชั้นเรียนและภาพรวมของโรงเรียน โดยการบันทึกข้อมูลในโปรแกรม Kiddiary school
จากการบันทึกข้อมูลจะพบว่านักเรียนโรงเรียนบ้านศาลา มีภาวะโภชนาการดังนี้
1. ผอม ร้อยละ 5.16
2. ค่อนข้างผอม ร้อยละ 5.77
3. สมส่วน ร้อยละ 68.54
4. ท้วม ร้อยละ 6.53
5. เริ่มอ้วน ร้อยละ 7.59
6. อ้วน ร้อยละ 6.38