ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยน

รหัสโครงการ ศรร.1112-004 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.04 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

ปลูกผักไฮโดรโปนิกส์

กิจกรรมการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์เพื่อนำผลผลิตมาจัดทำเป็นโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน โดยกิจกรรมการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ มีการปลูกผักต่างๆ เช่น ผักสลัด ผักบุ้ง ผักคื่นช่าย ผักคะน้า ผักกาดขาว มะเขือเทศ โดยนักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับกระบวนการการปลูกผักโดยครูผู้ควบคุมให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยการปฎิบัติ และหาความรู้เพิ่มเติมจากสื่อทางอินเตอร์เนตทำให้นักเรียนสามารถมีความรู้ความเข้าใจและปฎิบัติการปลูกผักไฮโดรโพนิกส์ จนถึงการเก็บเกี่ยวผลผลิตและนำเข้าสู่โครงการอาหารกลางวัน และนำผลิตผลจากการปลูกผักไฮโดรไปนิกส์ไปจำหน่ายให้กับชุมชน นอกเหนือจากนี้ทางโรงเรียนได้ตั้งอยู่ในพื้นที่ของหมู่บ้านที่มีชาติพันธ์จีนและชาติพันธ์ลาหุ่ ทางโรงเรียนได้มีการนำผักพื้นบ้านของชาติพันธ์จีนกับชาติพันธ์ลาหู่นำมาทดลองปลูกแบบไฮโดรโพนิกส์ซึ่ง ผักพื้นบ้านบางชนิดสามารถปลูกแบบไม่ใช้ดินได้ บางชนิดไม่สามารถปลูกแบบไม่ใช้ดินได้ยังอยู่ในช่วงของการทดลองปลูก

เพื่มปริมาณการผลิตและปลูกผักตรงตามความต้องการของผู้เรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

กิจกรรมการอบรมวินัยทางการเงินและกิจกรรมสหกรณ์โรงเรียน กิจกรรม "ออมวันนี้ สบายชีวีในวันหน้า" กิจกรรมสหกรณ์ร้านค้าโรงเรียน

นักเรียนมีความตระหนักในการใช้จ่ายเงิน รู้จักประหยัดอดออม อยู่อย่างพอเพียง -นักเรียนเกิดทักษะในการเรียนรู้กิจกรรมสหกรณ์ โดยการปฎิบัติจริง -มีการฝึกฝนให้นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการทำงานสหกรณ์โรงเรียน โดยการทำงานร่วมกัน มีการประชุม การทำบัญชีการค้าขาย
-มีการบูรณาการกิจกรรมต่างๆที่ทำให้นักเรียนได้เกิดการเรียนรู้เรื่องสหกรณ์

การจัดตั้งธนาคารในโรงเรียนและการพัฒนากิจกรรมสหกรณ์ร้านค้าโรงเรียนให้ดีขึ้นอย่างเป็นระบบ โดยเปิดโอกาสให้ผู้ปกครอง ชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมด้วย จัดกิจกรรมบูรณาการให้ความรู้นักเรียนเรื่อง "วินัยทางการเงิน"

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

-การจัดทำโปรแกรมอาหารกลางวัน thai school lunch

โรงเรียนมีการจัดบริการอาหารกลางวันให้กับนักเรียน โดยใช้ โปรแกรม Thai School lunch ซึ่งเมนูอาหารจะมีการสับเปลี่ยนหมุนเวียนกัน ทางโรงเรียนจะนำผลผลิตที่ทางโรงเรียนปลูกนำมาใ้ช้ประกอบอาหารและเมื่อผลผลิตเกินความต้องการของทางโรงเรียนจึงนำไปขายให้กับชุมชน และเป็นการกระจายรายได้อีกทางหนึ่ง

จัดทำ MOU ร่วมกันระหว่างโรงเรียนและชุมชน เรื่องการรับซื้อผักปลอดสารจากชุมชนเพื่อนำมาประกอบอาหารกลางวันเพื่อนักเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

โครงการแก้ไขปัญหาทุพภาวะโภชนาการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการและทักษะนักเรียนด้านกีฬา-นันทนาการ

การพัฒนานักเรียนที่มีปัญหาทุพภาวะโภชนาการของนักเรียน การออกกำลังทุกเช้าก่อนเข้าห้องเรียน

ควรมีการฝึกให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการออบแบบกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาทุพภาวะโภชนาการ ควรมีการส่งเสริมให้นักเรียนทุกคนเห็นคุณค่าและตระหนักในการส่งเสริมสุขภาวะของตนเอง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

กิจกรรมการอบรมโครงการโรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยน
ห่างไกลโรคด้วยการออกกำลังกาย -โครงการส่งเสริมพัฒนาการและทักษะนักเรียนด้านกีฬา-นันทนาการ -โครงการเด็กห้วยเฮี่ยนฟันดี

นักเรียนได้รับความรู้การออกกำลังกายอย่างถูกวิธี นักเรียนมีความรู้ด้านทฤษฎีเพิ่มเติมจากการเล่นกีฬาหรือนันทนาการ นักเรียนได้รับการพัฒนาสุขนิสัยและสุขอนามัยของนักเรียนอย่างดี

ควรหากิจกรรมอื่นที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพเพื่อนำมาจัดกิจกรรมให้นักเรียนเกิดความสนใจมากยิ่งขึ้น เช่น กิจกรรมรำวงย้อนยุค -ควรจัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องสุขภาพประจำสัปดาห์

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

การอบรมให้ความรู้โครงการบ้านห้วยเฮี่ยนใส่ใจสิ่งแวดล้อมด้วยกิจกรรมคัดแยกขยะ โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ในโรงเรียน

กิจกรรมการสร้างโรงคัดแยกขยะ กิจกรรมการให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ กิจกรรมการคัดแยกขยะ นักเรียนผู้นำที่ได้รับการอบรมมีความรู้การคัดแยกขยะอย่างถูกวิธีและสามารถนำไปเผยแพร่ให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม นักเรียนมีพัฒนาการการเรียนรู้ที่ดีภายใต้สภาพแวดล้อมที่ถูกสุขลักษณะ

ควรมีการจัดทำธนาคารขยะ จัดซื้อขยะจากนักเรียนและชุมชน ปรับปรุงภูมิทัศน์สนามกีฬา จัดแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

1.การบริการตรวจฟันของนักเรียน จากโรงพยาบาลฝาง 2.บริการตรวจสุขภาพนักเรียนปีละ 1 ครั้ง 3.บริการตรวจทดสอบสายตาปีละ 1 ครั้ง 4.บริการวัคซีนป้องกันหัดเยอรมัน 5.

นักเรียน อย.น้อยสามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับ อย.น้อยรุ่นต่อไปได้ นักเรียนได้ทราบแนวทางการปฎิบัติการรักษาสุขภาพหลังจากการตรวจและรับคำแนะนำ

-ส่งแกนนำนักเรียเข้าร่วมอบรมการปฐมพยาบาลเบื้องต้น -กิจกรรมการบริการสุขภาพเคลื่อนที่ภายในโรงเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

การจัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้และการจัดกิจกรรมชุมนุมเศรษฐกิจพอเพียง

การจัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้และการจัดกิจกรรมชุมนุมเศรษฐกิจพอเพียงโดยให้นักเรียนเลือกกิจกรรมต่างๆตามความสมัครใจของตน อาทิ กิจกรรมอย.น้อย กิจกรรมสหกรณ์ กิจกรรมเกษตรการเลี้ยงปลา การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ การปลูกผักบนแปลงซีเมนต์ การเลี้ยงไก่ไข่ การเลี้ยงจิ้งหรีด

ควรมีการประเมินกิจกรรมทุกิจกรรมและ ต่อยอดกิจกรรมเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

  1. โรงพยาบาลฝาง
  2. อาสาสมัครประจำหมู่บ้านสันป่ายาง
  3. องค์การบริหารส่วนตำบลเวียง
  4. ศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาตำบลเวียง
  5. วัดคูหาวารีเกษม
  6. ทหารชุดปฎิบัติการสัมพันธ์ชุมชน
  7. ทหารชุดความมั่นคง
  8. สถานีตำรวจภูธรอำเภอฝาง

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

มีแหล่งน้ำ(ประปาภูเขา)ที่เพียงพอต่อการเกษตรภายในโรงเรียน

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

สภาพแวดล้อมของโรงเรียน มีพื้นที่เอื้ออำนวยในการดำเนินการเกษตร อยูใกล้ชุมชน ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรม

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

ครูและบุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนทุกคน มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมให้ประสบผลสำเร็จ

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

มีการประสานงานกันระหว่างผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาให้ความรู้ข้อมูลข่าวสารกันอยู่เป็นประจำ ข้อมูลที่มีจึงสอดคล้องกันและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน จึงเกิดความง่ายในการบริหารจัดการในส่วนต่างๆอย่างครบวงจร

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

 

ภาพถ่าย

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

มีการเลี้ยงไก่ไข่ 50 ตัว เพื่อบริโภคไข่

ภาพถ่าย

เพิ่มจำนวนไก่ไข่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

มีการเลี้ยงปลาหมอเทศ เพื่อบริโภค

ภาพถ่าย

เพิ่มจำนวนปลาหมอ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

มีการจัดเมนูอาหารตามความต้องการของนักเรียน

ข้อมูลด้านภาวะโภชนาการของนักเรียน

ให้นักเรียนได้ทานอาหารหลากหลายเมนู และตรงตามโภชนาการ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

มีการจัดเมนูอาหารตามความต้องการของนักเรียน

ข้อมูลด้านภาวะโภชนาการของนักเรียน

ให้นักเรียนได้ทานอาหารหลากหลายเมนู และตรงตามโภชนาการ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

มีการจัดเมนูอาหารตามความต้องการของนักเรียน

ข้อมูลด้านภาวะโภชนาการของนักเรียน

ให้นักเรียนได้ทานอาหารหลากหลายเมนู และตรงตามโภชนาการ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

ส่งเสริมให้ผู้ปกครองปลูกผักในครัวเรือน

ภาพถ่าย

เพาะกล้าผักให้ผู้ปกครองนักเรียนนำไปปลูกที่บ้าน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

สมบูรณ์ ครูผู้รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวันร่วมกับครูเกษตรในโรงเรียน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

ติดตามภาวะโภชนาการต้นเทอม และปลายเทอม

 

 

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/22562 1/12562 1/22562 2/12562 2/22563 1/12563 2/22564 1/1
เตี้ย 11.79 11.79% 11.28 11.28% 11.28 11.28% 11.28 11.28% 16.13 16.13% 14.44 14.44% 13.44 13.44% 8.56 8.56% 12.81 12.81% 12.32 12.32% 14.36 14.36% 8.43 8.43% 14.55 14.55% 10.87 10.87% 12.83 12.83% 14.44 14.44% 16.24 16.24% 16.24 16.24% 7.04 7.04% 7.00 7.00% 12.90 12.90% 12.43 12.43% 16.28 16.28%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 24.62 24.62% 23.08 23.08% 23.59 23.59% 29.74 29.74% 27.42 27.42% 28.88 28.88% 23.12 23.12% 16.58 16.58% 22.66 22.66% 22.17 22.17% 26.67 26.67% 22.47 22.47% 30.91 30.91% 21.74 21.74% 24.60 24.60% 24.60 24.60% 29.95 29.95% 29.95 29.95% 9.05 9.05% 12.00 12.00% 25.81 25.81% 22.16 22.16% 25.00 25.00%
ผอม 6.15 6.15% 5.13 5.13% 4.62 4.62% 4.10 4.10% 5.88 5.88% 4.28 4.28% 4.26 4.26% 2.14 2.14% 2.48 2.48% 6.37 6.37% 5.13 5.13% 1.03 1.03% 2.25 2.25% 2.73 2.73% 1.07 1.07% 2.67 2.67% 2.01 2.01% 2.00 2.00% 3.02 3.02% 2.00 2.00% 2.16 2.16% 3.24 3.24% 4.17 4.17%
ผอม+ค่อนข้างผอม 12.82 12.82% 8.72 8.72% 9.74 9.74% 9.23 9.23% 11.23 11.23% 9.63 9.63% 9.04 9.04% 5.35 5.35% 6.93 6.93% 12.25 12.25% 11.28 11.28% 7.69 7.69% 9.01 9.01% 8.74 8.74% 5.88 5.88% 5.88 5.88% 9.05 9.05% 9.00 9.00% 5.03 5.03% 10.00 10.00% 7.57 7.57% 7.57 7.57% 5.95 5.95%
อ้วน 0.51 0.51% 3.08 3.08% 3.59 3.59% 1.03 1.03% 3.21 3.21% 3.21 3.21% 4.79 4.79% 2.67 2.67% 1.98 1.98% 2.94 2.94% 2.56 2.56% 1.54 1.54% 2.25 2.25% 3.28 3.28% 2.14 2.14% 3.21 3.21% 0.50 0.50% 1.00 1.00% 1.01 1.01% 1.50 1.50% 3.78 3.78% 4.32 4.32% 5.95 5.95%
เริ่มอ้วน+อ้วน 4.10% 4.10% 5.64% 5.64% 5.64% 5.64% 4.10% 4.10% 10.70% 10.70% 9.09% 9.09% 11.17% 11.17% 9.09% 9.09% 9.41% 9.41% 8.33% 8.33% 7.69% 7.69% 5.13% 5.13% 5.41% 5.41% 7.10% 7.10% 6.95% 6.95% 8.56% 8.56% 7.54% 7.54% 8.00% 8.00% 6.53% 6.53% 3.50% 3.50% 5.95% 5.95% 7.57% 7.57% 8.93% 8.93%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

เข้าร่วมชมรมการออกกำลังกายด้วยกิจกรรมอโรบิค มีการจัดการควบคุมวัดน้ำหนักส่วนสูง

แบบบันทึกนักเรียนที่มีภาวะทุพพะโภชนาการ/รูปถ่าย

ส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขนิสัยและมีวินัยในการออกกำลังกาย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

เข้า่รวมชมรมกีฬาและออกกำลังกายด้วยกิจกรรมแอโรบิค มีการจัดการควบคุมวัดน้ำหนักส่วนสูง เพิ่มอาหารเสริมนม

แบบบบันทึก/รูปถ่าย

ส่งเสริมให้เกิดสุขนิสัยและมีวินัยในการออกกำลังกาย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

เข้า่รวมชมรมกีฬาและออกกำลังกายด้วยกิจกรรมแอโรบิค มีการจัดการควบคุมวัดน้ำหนักส่วนสูง เพิ่มอาหารเสริมนม

แบบบันทึก/รูปถ่าย

ส่งเสริมให้เกิดสุขนิสัยและมีวินัยในการออกกำลังกาย ส่งเสริมให้นักเรียนเลือกทานอาหารที่มีประโยชน์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

1.ชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูง 2.เพิ่มอาหารเสริมนม 3.ส่งเสริมให้นักเรียนออกกำลังกาย

แบบบันทึก/รูปถ่าย

ส่งเสริมให้นักเรียนออกกำลังกาย ส่งเสริมให้นักเรียนเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

ผู้ปกครองรับทราบถึงถึงปัญหาเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการและได้ให้ความร่วมมือกับทางโรงเรียนเป็นอย่างดีอีกทั้งยังได้นำแนวทางที่ครูแนะนำกลับไปปฎิบัติต่อที่บ้าน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

  1. โรงพยาบาลฝาง
  2. อาสาสมัครประจำหมู่บ้านสันป่ายาง
  3. องค์การบริหารส่วนตำบลเวียง
  4. ศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาตำบลเวียง
  5. วัดคูหาวารีเกษม
  6. ทหารชุดปฎิบัติการสัมพันธ์ชุมชน
  7. ทหารชุดความมั่นคง
  8. สถานีตำรวจภูธรอำเภอฝาง

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh