แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านม่วงชุม

ชุมชน 248 ม.10 ตำบลม่อนปิ่น อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ 50110

รหัสโครงการ ศรร.1113-003 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.03

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน พฤษภาคม 2559 ถึงเดือน กันยายน 2559

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรม ประชุม แถลงนโยบาย มอบหมายหน้าที่ ให้คณะครู

วันที่ 20 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา จำนวน 53 คน เข้าร่วมกิจกรรม แถลงนโยบายตามโครงการเด็กไทยแก้มใส เพื่อแก้ไขปัญหาทุพภาวะโภชนาการของนักเรียน ผ่านโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน ให้เกิดความตระหนักถึงผลกระทบต่อการบริโภคอาหารของนักเรียน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. การประชุมสร้างความตระหนักถึงภาระกิจการพัฒนาโครงการเด็กไทยแก้มใส ให้เป็นศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส ภายในปี 2559 ให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคนต้องให้ความร่วมมือกับผู้รับผิดชอบโครงการ ครูต้องเข้าใจในเรื่องภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนรายบุคคล  มีความรู้ในเรื่องการจัดการอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน
  2. สามารถจัดทำแผนปฏิบัติงาน เด็กไทยแก้มใส ปีการศึกษา 2559 สามารถนำไปใช้จริงได้
  3. สามารถจัดตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน เด็กไทยแก้มใส

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. จัดทำเอกสารเผยแพร่ โครงการเด็กไทยแก้มใสปีที่ 2 เพื่อเตรียมเป็นศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ
  2. อบรมให้องค์ความรู้กับคณะครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 38  คน
  3. กำหนดเป้าหมาย  ทิศทางการทำงาน  จัดทำแผนปฏิบัติงานให้ชัดเจนลงสู่การปฏิบัติได้
  4. จัดทำแผนปฎิบัติงานเด็กไทยแก้มใส 

กิจกรรมที่ทำจริง

1 จัดประชุมคณะครู กำหนดทิศทางการพัฒนาคุณภาพอาหาร ตามโครงการเด็กไทยแก้มใส เพื่อยกระดับเป็นศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้ม 2 ทวบทวนการดำเนินงานเด็กไทยแก้มใสครั้งที่ผ่านมา สรุป ปัญหา อุปสรรค์ แนวทางการแก้ปัญหา 3 จัดทำแผนปฏิบัติงาน เด็กไทยแก้มใส ปีการศึกษา 2559 4 กำหนดทิศทางการพัฒนาให้เป็นศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส 5 กำหนด การกำกับ  ติดตาม  การรายงานการดำเนินงาน

 

38 0

2. กิจกรรมพออยู่ พอกิน พอเพียง ตามรอยเท้าพ่อ การเลี้ยงไก่ไข่

วันที่ 20 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. สามารถผลิตสินค้าทางการ  เกษตรปลอดสารพิษ ส่งขายผ่านระบบสหกรณ์นักเรียน ให้ผู้ประกอบการได้นำผลผลิตไปประกอบเป็น  อาหารกลางวัน  ปลอดสารพิษให้กับนักเรียน 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. นักเรียนเครื่อข่าย ฐานการเรียนรู้ การเลี้ยงไก่ไข่ สามารถฝึกปฏิบัติการเลี้ยงไก่ไข่ได้ สามารถนำไปประกอบอาชีพ ต่อยอดที่บ้านได้
  2. นักเรียนสามารถทำบัญชีฟาร์มจำหน่ายสินค้าผ่านระบบสหกรณ์นักเรียน
  3. ผลผลิตไข่ไก่ มีเพียงพอต่อความต้องการของผู้ประกอบการ สามารถนำไข่ไก่ มาประกอบอาหารให้กับนักเรียนได้อย่างเพียงพอ
  4. ไข่ไก่ที่นักเรียนได้บริโภคเป็นไข่ไก่ ปลอดภัย 100% จากสารพิษที่มาจากการเร่งไข่แดง
  5. สามารถแก้ไขปัญหาทุพภาวะโภชนาการได้ในระดับหนึ่ง นักเรียนได้บริโภคอาหารที่สะอาด และปลอดภัย

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ในปีที่ผ่านมา โรงเรียนบ้านม่วงชุมได้มีการเลี้ยงไก่ไข่จำนวน 100ตัว สามารถนำมาประกอบอาหารให้กับนักเรียนได้ แต่ยังไม่ครบตามจำนวนนักเรียนในปีนี้จะขยายฐานการเรียนรู้และฐานการผลิต ไข่ ขายผ่านระบบสหกรณ์นักเรียนอีกจำนวน 100 ตัว เพื่อให้เพียงพอต่อการประกอบอาหารให้นักเรียน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. สามารถขยายการเลี้ยงไก่ไข่ให้เพียงพอต่อความต้องการของผู้ประกอบอาหาร โดยการจัดซื้อไก่ไข่เพิ่มอีก 100ตัว
  2. ผู้รับผิดชอบกิจกรรมนายทรงธรรม เสรีรัตน์ ทำบันทึกข้อความขออนุมัติงบประมาณเพื่อดำเนินการ
  3. บันทึกข้อความเสนอฝ่าย แผนงานและการเงินของโรงเรียน
  4. แต่งตั้งคณะทำงาน
  5. แต่งตั้งคณะกรรมการนักเรียน ผู้ดูแล ไก่ไข่ การให้อาหาร ทำความสะอาดโรงเรือน และการจำหน่ายไข่ไก่ ุ6. จัดทำแผนการเรียนรู้ตาม ฐานการเรียนรู้การเลี้ยงไก่ไข่ ึ7. จัดทำบัญชีฟาร์มควบคุมการผลิต
  6. จำหน่ายผ่านสหกรณ์นักเรียนเข้าสู่กระบวนการผลิตอาหารกลางวัน
  7. หมุนเวียนการเงิน เพื่อจัดซื้ออาหารไก่ไข่

 

776 105

3. กิจกรรม พออยู่ พอกิน พอเพียง ตามรอยเท้าพ่อ การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์

วันที่ 27 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. สามารถผลิตสินค้าทางการ  เกษตรปลอดสารพิษ ส่งขายผ่านระบบสหกรณ์นักเรียน ให้ผู้ประกอบการได้นำผลผลิตไปประกอบเป็น  อาหารกลางวัน  ปลอดสารพิษให้กับนักเรียน 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

นักเรียนเครือข่าย ฐานการเรียนรู้ การเลี้ยงไก่ไข่ สามารถฝึกปฏิบัติการเลี้ยงไก่ไข่ได้ สามารถนำไปประกอบอาชีพ ต่อยอดที่บ้านได้ 2. นักเรียนสามารถทำบัญชีฟาร์มจำหน่ายสินค้าผ่านระบบสหกรณ์นักเรียน 3. ผลผลิตไข่ไก่ มีเพียงพอต่อความต้องการของผู้ประกอบการ สามารถนำปลาดุกในบ่อซีเมนต์มาประกอบอาหารให้กับนักเรียนได้อย่างเพียงพอ 4. ไข่ไก่ที่นักเรียนได้บริโภคปลาดุก ปลอดภัย 100% จากสารพิษที่มาจากการเร่งโตไว 5. สามารถแก้ไขปัญหาทุพภาวะโภชนาการได้ในระดับหนึ่ง นักเรียนได้บริโภคอาหารที่สะอาด และปลอดภัย

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

โรงเรียนบ้านม่วงชุมได้มีการเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ สามารถนำมาประกอบอาหารให้กับนักเรียนได้ โดยให้นักเรียนเป็นคนเลี้ยง จำหน่ายผ่านระบบสหกรณ์นักเรียนเพื่อนำไปประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. สามารถขยายการเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ให้เพียงพอต่อความต้องการของผู้ประกอบอาหาร
  2. ผู้รับผิดชอบกิจกรรมนายทรงธรรม เสรีรัตน์ ทำบันทึกข้อความขออนุมัติงบประมาณเพื่อดำเนินการ
  3. บันทึกข้อความเสนอฝ่าย แผนงานและการเงินของโรงเรียน
  4. แต่งตั้งคณะทำงาน
  5. แต่งตั้งคณะกรรมการนักเรียน ผู้ดูแลการให้อาหาร ทำความสะอาดบ่อเลี้ยงปลาและการจำหน่ายปลาดุกในบ่อซีเมนต์ ุ6. จัดทำแผนการเรียนรู้ตาม ฐานการเรียนรู้การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ ึ7. จัดทำบัญชีฟาร์มควบคุมการผลิต
  6. จำหน่ายผ่านสหกรณ์นักเรียนเข้าสู่กระบวนการผลิตอาหารกลางวัน
  7. หมุนเวียนการเงิน เพื่อจัดซื้ออาหารปลาดุก

 

746 0

4. กิจกรรม อบรมให้ความรู้พัฒนาคุณภาพอาหารให้ผู้ประกอบการ คณะครู

วันที่ 27 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

อบรมให้ความรู้พัฒนาคุณภาพอาหารให้ผู้ประกอบการ คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา มีองค์ความรู้และแนวทางจัดการอาหารกลางวันให้มีคุณภาพ ตามโปรแกรมThai School Lunch ผู้ประกอบอาหารทำข้อตกลง MOU กับทางโรงเรียน 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ประเด็นที่ 1 การจัดอบรมให้ความรู้พัฒนาคุณภาพอาหารให้ผู้ประกอบการ คณะครู สามารถกระตุ้นความคิดให้กับคณะครูทุกคน ไม่เพียงเฉพาะครูอนามัยโรงเรียนเท่านั้น ที่ให้ความสำคัญต่อการประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียนได้รับประทานมีคุณค่าทางโภชนาการ
ประเด็นที่ 2 ครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนบ้านม่วงชุม ได้เกิด องค์ความรู้ในการพัฒนาสมองของนักเรียน ไม่เฉพาะสอนแต่ในห้องเรียน แต่อาหารที่นักเรียนบริโภคเข้าไป มีผลต่อการพัฒนาการทางด้าน สติปัญญา และร่างกาย ทำให้เกิดแนวความคิดที่ว่า การรับประทานอาหารของนักเรียนต้องให้ผู้ปกครองเป็นคน คอยดูแล เพราะนักเรียนรับประทานอาหารที่โรงเรียน 1 มื้อ 5 วันเท่านั้น  นอกนั้นนักเรียนรับประทานที่บ้าน ประเด็นที่ 3 ผู้ประกอบการเกิดความตระหนักถึง เครื่องปรุงรส  ผักปลอดสารพิษ  คุณค่าทางอาหารที่นักเรียนจะได้รับ ครบ 5 หมู่ ประเด็นที่ 4 คณะกรรมการสถานศึกษาเข้ามามีบทบาทในการ ควบคุม  กำกับ  ดูแล คุณภาพอาหาร โดยใช้ครูทุกคนเป็นผู้ประเมิน คุณค่าทางอาหาร  รสชาติ  และวัถตุดิบในการปรุงอาหาร

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. จัดอบรมให้ความรู้กับผู้ประกอบการทางด้านอาหารให้เกิดความตระหนักถึงการปรุงอาหารให้กับนักเรียน
  2. จัดทำข้อตกลงในการประกอบอาหาร กับผู้ประกอบการ
  3. กำหนดนโยบาย ให้โครงการเด็กไทยแก้มใสเป็นอีก 1 นโยบายสำคัญของโรงเรียน
  4. กำหนดเป้าหมายการดำเนินงาน มีการจัดทำปฏิทินปฏิบัติงานอย่างชัดเจน

กิจกรรมที่ทำจริง

รายละเอียดการปฏิบัติกิจกรรม ใช้กระบวนการ PDCA ในการควบคุมคุณภาพ 1.  คณะทำงานประชุมร่วมกันวางแผนการจัด อบรมให้ความรู้พัฒนาคุณภาพอาหารให้ผู้ประกอบการ คณะครู ในวันที่ 23 พฤษภาคม 2559 2.  จัดทำรูปแบบการทำกิจกรรม  เขียนกิจกรรม ขออนุมัติกิจกรรมจากผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านม่วงชุม 3.  คณะทำงาน  ออกหนังสือเชิญ คณะกรรมการสถานศึกษา  ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลบ้านม่วงชุม ผู้ประกอบอาหาร ร้านค้า 3.  ดำเนินงานตามกิจกรรมที่วางไว้ในแผนงาน  ดังนี้     3.1  08.00 น. - 08.30 น.  ลงทะเบียน  รับเอกสาร     3.2  08.30 น. - 09.00 น.  พิธีเปิด การอบรม โดยท่าน ผอ. สิทธิพร  นันตาวงค์ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านม่วงชุม พร้อมบรรยายพิเศษ     3.3  09.30 น. - 10.00 น.  ปัญหาทุพภาวะโภชนาการของนักเรียนโรงเรียนบ้านม่วงชุม โดย นางเพ็ญนภา  สันฟู  ครูอนามัยโรงเรียน     3.4  10.00 น. - 10.30 น.  การกระตุ้นพัฒนาการทางสมองของเด็ก โดยการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์  นายประสงค์  ธิยศ  ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลบ้านม่วงชุม     3.5  10.30 น. - 11.00 น.  สะท้อนปัญหาการประกอบอาหาร ในรอบปีที่ผ่านมา  ผู้ประกอบอาหาร     3.6  11.00 น. - 11.30 น.  แนวทางการพัฒนา สถานที่ประกอบอาหาร  วัสดุ อุปกรณ์  และ คุณค่าทางโภชนาการ ตาม โปรแกรม Thai School Lunch  นางเพ็ญนภา  สันฟู  ครูอนามัยโรงเรียน     3.7  11.00 น. - 12.00 น.  การทำ  MOU การประกอบอาหารเพื่อเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านม่วงชุม

 

48 43

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 11 4                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 120,000.00 33,030.00                  
คุณภาพกิจกรรม 16 13                  

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. กิจกรรม พัฒนาคุณภาพอาหารศึกษาดูงานโรงเรียนต้นแบบ ( 1 ก.พ. 2560 - 28 ก.พ. 2560 )
  2. กิจกรรม สร้างเครือข่าย ผู้ปกครอง ชุมชน ( 20 ก.พ. 2560 )
  3. กิจกรรม อย น้อย ใส่ใจสุขภาพ ( 21 ก.พ. 2560 )
  4. กิจกรรม นิทรรศการสุขภาพ ( 23 ก.พ. 2560 )
  5. กิจกรรม พออยู่พอกิน พอเพียง ตามรอยเท้าพ่อ การปลูกมะนาวในบ่อซีเมนต์ ( 24 ก.พ. 2560 )
  6. เบิก-ถอน เงินเปิดบัญชี ( 17 มี.ค. 2560 - 31 มี.ค. 2560 )
  7. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ ( 30 มี.ค. 2560 - 31 มี.ค. 2560 )

(................................)
นายสิทธิพร นันตาวงค์
ผู้รับผิดชอบโครงการ