ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านม่วงชุม

รหัสโครงการ ศรร.1113-003 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.03 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

กิจกรรมการเลี้ยงไก่ไข่

1.เป็นกิจกรรมที่พัฒนามาจาก เด็กไทยแก้มใสปีที่ 1 โดยในปีที่ 2 นี้ ทางโรงเรียนได้พัฒนาผลผลิต จากการเลี้ยง 100 ตัว เป็น 200 ตัวขยายโรงเรือนเพิ่ม
2. การเพิ่มผลผลิตนี้นักเรียนได้คิดวิธีการเพิ่มผลผลิต โดยการใช้นมนักเรียนที่เหลือจากนักเรียนที่ขาดเรียนในแต่ละ เดือน มาผสมอาหารให้ไก่ไข่ โดยสามารถเก็บผลผลิตเพิ่มขึ้นจากเดิม จาก ไก่ไข่ 2 วันไข่ 1 ฟอง เป็น 3 วันไข่ 2 ฟอง ไข่มีขนาดที่ใหญ่ขึ้น

พัฒนาต่อยอดให้ชุมชนเข้ามาดูงานจัดอบรม ให้ผู้ปกครอง แล้วนำกลับไปเลี้ยงที่บ้าน ส่งขายผ่านระบบสหกรร์นักเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

กิจกรรมระบบบริหารสหกรณ์

  1. ทางโรงเรียนพัฒนาโรงอาหารเดิม ปรับปรุงให้เป็นศูนย์ภาวะโภชนาการเด็กไทยแก้มใส และห้องสหกรณ์นักเรียน โดยการร่วมหุ้น บริหารงานโดยนักเรียนแกนนำ ในปีการศึกษาที่ผ่านมาได้มีหุ้นรวม 30000 บาท ผลกำไรจากการขายเฉลี่ยต่อเดือน เดือนละ 2500 บาท

ระดมทรัพยากร การรวมหุ้น และเปิดรับซื้อผลผลิตจากชุมชน ผ่าน เครือข่ายผู้ปกครองเด็กไทยแก้มใส

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

กิจกรรม การประกอบอาหารที่ถูกสุขลักษณะ

โรงเรียนได้ใช้โปรแกรม Thai School Lunch. โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียน โดยมีครูที่รับผิดชอบอาหารกลางวันเป็นผู้ควบคุม คุณภาพของอาหาร

เน้นที่ผู้ประกอบอาหารให้ใช้โปรแกรมการจัดการอาหารให้มีคุณภาพ สะอาด

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

กิจกรรม สรา้งเครือข่ายผู้ปกครอง

  1. สร้างเครือข่ายผู้ปกครองให้ร่วมผลิต วัตถุดิบทางการเกษตรในท้องถิ่น เช่น ผักท้องถิ่นผลไม้ท้องถิ่น อาหารท้องถิ่น ขายผ่านระบบสหกรณ์นักเรียน
  1. สร้างเครือข่ายผู้ปกครองให้เข้มแข็ง โดยสร้างประธาน กรรมการ เลขา พร้อมมีการประชุม ภาคเรียนละ 1 ครั้ง
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

กิจกรรมอย.น้อยใส่ใจสุขภาพ

  1. นักเรียนแกนนำที่เป็นสมาชิก อย.น้อย นำเสนอกิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพ หน้าเสาธงมุกวันศุกร์ โดยออกมานำเสนอความรู้เรื่องอาหารอารมณ์อากาศ
  2. ตรวจสอบคุณภาพอาหารกลางวันว่า อาหารมีคุณภาพ สารอาหารครบ 5 หมู่ รสชาติเป็นไงบ้าง
  3. ควบคุมการขายขนมในโรงเรียน

ขยายแกนนำ โดยแบ่งเป็นอย.น้อย ในช่วงชั้น

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

กิจกรรม ธนาคารขยะ

เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติโดยการลดขยะในโรงเรียน มีวิธีการคือแยกขยะที่สามารถนำไปขายได้ แล้วนำเงินมาพัฒนาระบบสภานักเรียนของโรงเรียน

1.จัดหาถังขยะที่ สามารถแยกขยะได้ให้เพียงพอต่อความต้องการในแต่ละพื้นที่ 2.จัดสร้างธนาคารขยะโดยมีการรับขยะจากชั้นเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

กิจกรรม ตรวจฟัน

ได้รับความอนุเคราะห์จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลบ้านม่วงชุม โรงพยาบาลฝาง มาตรวจฟันนักเรียนทุกคน ภาคเรียนละ 1 ครั้ง

การอบรมสุขภาพปากและฟันให้กับนักเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

กิจกรรมฐานการเรียนรู้เกษตรทฤษฏีใหม่ 13 ฐานการเรียนรู้

โรงเรียนได้จัดสร้างฐานการเรียนรู้เกษตรทฤษฏีใหม่ 13 ฐานการเรียนรู้ โดยคำนึงถึงสภาพบริบทของท้องถิ่น ผู้ปกครองเข้ามาช่วยในการสร้างฐานการเรียนรู้

กำหนดเป็นหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้หลักคิด หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถพึ่งตนเองได้

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

กิจกรรมการพัฒนา น้ำยาล้างจานจากผลไม้รสเปรี้ยว

ครูและนักเรียนได้ตัดทำโครงการ การผลิตน้ำยาล้างจาน จากผลไม้รสเปรี้ยว เนื่องจากทางโรงเรียนมีจำนวนนักเรียนที่เยอะ ถาดหลุมที่ใช้เป็นภาชนะบรรจุอาหารมีประมาณ 500 ใบ การซื้อน้ำยาล้างจานใช้เป็นการซื้อที่สิ้นเปลืองงบประมาณ จึงได้คิดโครงงานนี้ขึ้นมาเพื่อประหยัดงบประมาณในการจัดซื้อ

ขยายผลการผลิตน้ำยาล้างจานให้มีคุณภาพสามารถส่งขายในชุมชนได้

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

  1. โรงพยาบาลฝางตำบลเวียงอำเภอฝางจังหวัดเชียงใหม่
  2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลบ้านม่วงชุม 3.องค์การบริหารส่วนตำบลม่อนปิ่น 4.ผู้นำชุมชนฝ่ายปกครอง 5.คณะกรรมการสถานศึกษา

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

ผู้บริหารโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน แคณะครูนักเรียน เห็นความตระหนักในเรื่องสุขภาพที่มีต่อนักเรียน โดยสถาพบริบทของโรงเรียนเป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ชายขอบ นักเรียนเป็นชนเผ่าหลากหลายทางชาติพันธ์ุ ดังนั้นความต้องการพื้นฐานของชีวิต คือ อากาศ และอาหาร ทำให้ทุดคนตระหนักถึงเรื่องสุขภาพเป็นหลัก

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

ความร่วมมือของทุกฝ่ายในการขับเคลื่อน ทุกคนเห็นผลที่เกิดขึ้นจากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินการบริโภคของนักเรียน ผู้บริหารโรงเรียนใส่ใจ ให้ความสำคัญของโครงการเด็กไทยแก้มใส

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

ครูสร้างความตระหนักถึงเรื่อง อาหาร ที่ส่งผลทำให้ร่างกายสติปัญญาและอารมณ์ของนักเรียน โดยผ่านการ โฮมรูมผ่านทางกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยมีส่วนประกอบหลัก คือ แม่ครัวเป็นผู้ประกอบอาหารที่คำนึงถึงความสะอาด ปลอดภัยครูเป็นผู้กำหนดรายการอาหารตามโปรแกรมนักเรียนเป็นผู้บริโภคอาหาร ดังนั้น ควรร่วมมือกันเพื่อได้อาหารที่สะอาดและปลอดภัย

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

ชุมชนเข้ามามีบทบาทโดยการส่งผลผลิตทางการเกษตรเข้ามาขายผ่านระบบสหกรณ์นักเรียน สามารถสร้างเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนได้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

สถานที่ดำเนินการเพาะปลูกไม่พอเพียงต่อความต้องการทางด้านผลผลิต

สถานที่เพาะปลูกประมาณ 2 ไร่

กระจายการผลผลิตวัตถุดิบจากโรงเรียนเป็นชุมชน ให้ชุมชนเป็นผู้ผลิตวัตถุดิบส่งขายผ่านระบบสหกรณ์นักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

กิจกรรมการเลี้ยงไก่ไข่

โรงเรียนได้ขยายฐานการผลิตการเลี้ยงไก่ไข่ให้มี200 ตัวปลากดุกขยายจาก 4 บ่อ เป็น 8 บ่อ เพียงพอต่อการบริโภคของนักเรียน

ใช้เงินหมุนเวียนเพื่อพัฒนาต่อยอดในแต่ละฐาน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

กิจกรรมการเลี้ยงปลาดุก

โรงเรียนได้ขยายฐานการผลิตการเลี้ยงปลากดุกขยายจาก 4 บ่อ เป็น 8 บ่อ เพียงพอต่อการบริโภคของนักเรียน

ใช้เงินหมุนเวียนเพื่อพัฒนาต่อยอดในแต่ละฐาน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

ผู้ประกอบการร้านค้าสามารถเปิดขายอาหารเช้าให้กับนักเรียนได้

โรงเรียนได้รับงบประมาณในการสร้างโรงอาหาร 300ที่นั่ง มีผู้ประกอบการ 8 ร้านค้าที่สามารถเปิดขายได้ทั้งวัน

การควบคุมคุณภาพของอาหารเช้า

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

การกำหนดเมนูอาหารจากโปรแกรมThai School Lunch. โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนโดยได้รับงบประมาณรายหัว จากองค์การบริหารส่วนตำบลม่อนปิ่น โดยใช้โปรแกรมเป็นตัวหลังในการคิดเมนูอาหาร โดยประยุกต์ใช้ผลผลิตทางการเกษตรจากท้องถิ่นมาเป็นวัตถุดิบในการผลิตอาหารกลางวันให้กับนักเรียน

  1. การรายงานการใช้Thai School Lunch. โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียน
  2. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ควบคุมคุณภาพอาหารกลางวัน โดยมีคณะกรรมการสถานศึกษาเข้ามาเป็นคณะกรรมการประเมินคุณภาพอาหาร
  3. สร้างความตระหนักให้ผู้ประกอบการเห็นความสำคัญของการประกอบอาหาร เช่น การเลือกใช้วัตถุดิบภาชนะในการประกอบอาหารวิธีการประกอบอาหาร และคุณค่าของสารอาหารที่นักเรียนได้รับในแต่ละมื้อ
  1. การควบคุมคุณภาพอาหารและความปลอดภัยทางด้านการบริโภคอาหาร
  2. ประสานผู้ปกครองเครือข่ายร่วมปลูกผลไม้ โดยกำหนดครอบครัวละ 1 ต้น 1 ชนิด เพื่อส่งให้กับนักเรียนได้บริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

TการกำหนดเมนูอาหารจากโปรแกรมThai School Lunch. โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนโดยได้รับงบประมาณรายหัว จากองค์การบริหารส่วนตำบลม่อนปิ่น โดยใช้โปรแกรมเป็นตัวหลังในการคิดเมนูอาหาร โดยประยุกต์ใช้ผลผลิตทางการเกษตรจากท้องถิ่นมาเป็นวัตถุดิบในการผลิตอาหารกลางวันให้กับนักเรียน

การรายงานการใช้Thai School Lunch. โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียน

การควบคุมคุณภาพอาหารและความปลอดภัยทางด้านการบริโภคอาหาร

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

เด็กมัธยมศึกษาสามารถเลือกซื้ออาหารจากผู้ประกอบการ 8ร้านค้า โดยครูเป็นผู้ควบคุม

รายงานนการขายสินค้าของผู้ประกอบการในแต่ละวันผ่านโครงการอาหารกลางวัน

จัดอาหารเช้าให้กับนักเรียนอย่างมีคุณภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

การกสร้างเครือข่ายผู้ปกครองเครือข่าย

การขายผลผลิตทางการเกษตรผ่านระบบสหกรณ์นักเรียน

ขยายการผลิตผลผลิตทางการเกษตรให้มาขึ้นโดยเพิ่มความปลอดภัยเน้นผักปลอดสารพิษ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่
  1. ครูเป็นผู้กำหนดเมนูอาหารผ่านกระบวนการ จากโปรแกรม Thai School Lunch
  2. การรายงานการใช้Thai School Lunch. โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียน
  3. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ควบคุมคุณภาพอาหารกลางวัน โดยมีคณะกรรมการสถานศึกษาเข้ามาเป็นคณะกรรมการประเมินคุณภาพอาหาร
  4. สร้างความตระหนักให้ผู้ประกอบการเห็นความสำคัญของการประกอบอาหาร เช่น การเลือกใช้วัตถุดิบภาชนะในการประกอบอาหารวิธีการประกอบอาหาร และคุณค่าของสารอาหารที่นักเรียนได้รับในแต่ละมื้อ
  5. การเลือกใช้วัตถุดิบ บางมื้อ อาจไม่ตรงกับเมนูเพราะผักบางฤดูกาลแพงกว่าราคาท้องถิ่น

เอกสารบัญชีการสั่งซื้อ
เอกสารบัญชีการจัดซื้อจัดจ้าง รายงานการดำเนินงานอาหารกลางวัน

จัดทำระบบคุณภาพอาหารกลางวันโดยจัดตั้งคณะทำงาน ควบคู่ไปกับ อย. น้อย เป็นนักวิเคราะห์โภชนาการอาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการติดตามคุณภาพอาหารผ่าน คณะกรรมการสถานศึกษาคณะครู และนักเรียน ภาคเรียนละ 2 ครั้ง

รายงานโครงการกิจรรม อย.น้อย

ใช้เครือข่ายการติดตามโดยตั้งเป็นคณะกรรมการตรวจสอบคุณภาพอาหาร

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12561 1/12561 1/22561 2/12561 2/22562 1/1
เตี้ย 2.31 2.31% 10.86 10.86% 9.37 9.37% 6.50 6.50% 5.74 5.74% 6.65 6.65% 8.34 8.34% 8.47 8.47% 7.84 7.84% 6.77 6.77% 7.88 7.88%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 8.67 8.67% 18.55 18.55% 17.67 17.67% 12.39 12.39% 10.88 10.88% 14.79 14.79% 18.44 18.44% 18.28 18.28% 17.40 17.40% 16.07 16.07% 19.90 19.90%
ผอม 7.66 7.66% 4.98 4.98% 2.11 2.11% 1.51 1.51% 0.60 0.60% 5.83 5.83% 2.69 2.69% 1.75 1.75% 1.46 1.46% 2.26 2.26% 3.00 3.00%
ผอม+ค่อนข้างผอม 19.22 19.22% 11.16 11.16% 5.89 5.89% 3.17 3.17% 1.96 1.96% 12.08 12.08% 6.86 6.86% 5.51 5.51% 5.05 5.05% 5.58 5.58% 8.26 8.26%
อ้วน 2.75 2.75% 5.28 5.28% 4.38 4.38% 2.72 2.72% 2.11 2.11% 3.39 3.39% 4.71 4.71% 4.03 4.03% 4.78 4.78% 4.12 4.12% 4.63 4.63%
เริ่มอ้วน+อ้วน 10.55% 10.55% 8.30% 8.30% 6.95% 6.95% 5.44% 5.44% 4.98% 4.98% 8.28% 8.28% 10.90% 10.90% 11.29% 11.29% 11.16% 11.16% 11.55% 11.55% 10.01% 10.01%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

กิจกรรม เต้นแอโรบิคหน้าเสาธง กิจกรรมลดพุง

รายงานกิจกรรม รายงานSAR

การคัดกรองนักเรียนรายบุคลล

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

กิจกรรมส่งเสริมการดื่มนม

รายงานการรับอาหารเสริมนมจากองค์การบริหารส่วนตำบลม่อนปิ่น

จัดอบรมให้ความรู้กับผู้ปกครองนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

กิจกรรมส่งเสริมการเล่นกีฬา

รายงานการแข่งขันกีฬาภายใน รายงานกิจกรรมการแข่งขันกีฬานักเรียนระดับศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาตำบลม่อนปิ่น รายงานกิจกรรมการแข่งขันกีฬานักเรียนระดับอำเภอ

ส่งเสริมให้นักเรียนเล่นกีฬาทุกวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

ประสานความร่วมมือกับ อสม.ประจำหมู่บ้านเฝ้าระวัง

การบันทึกโภชนาการครัวเรือน ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลบ้านม่วงชุม

จัดกิจกรรม 1ครู 1 ครัวเรือน 1 อสม.

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

เครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน

บันทึกการประชุมเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน

สร้างเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนให้เข้มเข็ง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

  1. โรงพยาบาลฝางตำบลเวียงอำเภอฝางจังหวัดเชียงใหม่
  2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลบ้านม่วงชุม 3.องค์การบริหารส่วนตำบลม่อนปิ่น 4.ผู้นำชุมชนฝ่ายปกครอง 5.คณะกรรมการสถานศึกษา

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh