ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านผาเวียง

รหัสโครงการ ศรร.1113-025 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.25 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤษภาคม 2019 - 30 พฤศจิกายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

การผลิตน้ำยาเอนกประสงค์

กิจกรรมให้ความรู้นักเรียนในการผลิตน้ำยาเอนกประสงค์ที่มี นักเรียนร่วมกันผลิตน้ำยาเอนกประสงค์ อาทิ น้ำยาล้างจาน น้ำยาล้างห้องน้ำ น้ำยาถูพื้น โดยวางขายผ่านร้านค้าสหกรณ์ ฯลฯ ทำให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้านการตลาดการจัดทำรายรับ รายจ่าย ตลอดจนสามารถจำหน่ายให้กับชุมชนในราคาถูก และมีความปลอดภัย

1.ครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมดำเนินติดต่อหาแหล่งรับซื้อน้ำยาเอนกประสงค์โดยเน้นที่โรงเรียนในเครือข่ายแม่สิน 9 โรงเรียน 2.กลุ่มนักเรียนผู้ผลิตน้ำยาเอนกประสงค์ดำเนินการผลิตน้ำยาเอนกประสงค์

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

ความร่วมมือของหน่วยงาน ได้แก่ ชุมชนบ้านผาเวียงโดยผู้ปกครองรับซื้อผลิตภัณฑ์ จากสหกรณ์นักเรียนซึ่งมีราคาถูกกว่าท้องตลาด ผู้บริหารมีนโยบายสนับสนุนการผลิตน้ำยาเอนกประสงค์ และประชาสัมพันธ์การจำหน่ายสินค้าแก่ชุมชนในการใช้ผลิตภัณฑ์ที่ถูกกว่าท้องตลาดและมีความปลอดภัย นักเรียนกลุ่มผลิตน้ำยาเอนกประสงค์มีความสนใจและให้ความร่วมในการผลิตเป็นอย่างดีและนำส่งสหกรณ์นักเรียนเพื่อจำหน่ายในโรงเรียนและชุมชน รพ.สต.สะท้อ โดยเจ้าหน้าที่ให้คำแนะนำในเรื่องความปลอดภัยในการเลือกใช้น้ำยาที่นำมาผลิต

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

เป็นชุมชนที่อยู่นอกเมือง การเดินทางไม่สะดวกการหาซื้อของใช้ต่างๆยากลำบากเมื่อโรงเรียนมีการผลิตน้ำยาเอนกประสงค์ จำหน่ายในโรงเรียนจึงทำให้สะดวกในการซื้อ และมีบริการส่งของถึงที่โดยนักเรียนที่เป็นคณะกรรมการ ทำให้ชุมชนได้ใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีความปลอดภัยและมีราคาถูก ตลอดจนได้สนับสนุนกิจกรรมของบุตรหลาน

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

ความร่วมมือของคณะทำงานได้แก่ ครูผู้รับผิดชอบกิจกรรม คณะครู นักเรียน ผู้บริหาร ชุมชน ให้ความร่วมมือและสนับสนุนการทำงานเป็นอย่างดี

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

-ประชุมให้ความรู้แก่ นักเรียน แม่ครัว ครูุเข้าร่วมอบรมในการร่วมกันผลิตภัณฑ์ส่งเข้าสหกรณ์ของโรงเรียน

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

ผู้ปกครองแสดงความคิดเห็นและประเมินผลสำเร็จของงาน กลุ่มแม่บ้านรับซื้อผลิตภัณฑ์น้ำยาเอนกประสงค์จากสหกรณ์นักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

-มีผักเพียงพอในการประกอบอาหารกลางวันจำนวน 15 แปลงหลากหลายชนิด ทำให้ได้วัตถุดิบจำนวน 10-20 กิโลกรัมต่อวัน

-ผลไม้จัดซื้อตามฤดูกาลจากท้องตลาดและชุมชน 2 ครั้งต่อสัปดาห์

-มีเห็ดนางฟ้าในการประกอบอาหารเพียงพอ จำนวน 400 ก้อนทำให้มีวัตถุดิบที่เป็นดอกเห็ดส่งโครงการอาหารกลางวันเพื่อประกอบอาหารเมนูเห็ด 1 ครั้งต่อสัปดาห์ส่วนที่เหลือจำหน่ายให้แก่ ครู และชุมชน โดยผ่านสหกรณ์นักเรียน

รายการอาหารกลางวัน

จัดทำโครงการปลูกผลไม้ตามฤดูกาลในโรงเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

โรงเรียนมีการเลี้ยงไก่พันธ์ไข่จากโครงการจำนวน 40 ตัวและได้รับสนับสนุนจากอบต.แม่สิน จำนวน 60 รวมเป็น 100 ตัว ทำให้ได้ผลผลิต ประมาณ 3 แผง ต่อวัน และนำส่งโครงการอาหารกลางวัน ครั้งละ 5-7 แผง โดยโรงอาหารมีการจัดทำเมนูไข่ 2 ครั้งต่อสัปดาห์ ทำให้มีไข่เพียงพอต่อการประกอบอาหารส่วนที่เหลือจำหน่ายให้แก่่ครูและชุมชน ผ่านสหกรณ์นักเรียน มีการเลี้ยงไก่พันธ์พื้นเมืองโดยจัดซื้อจำนวน 3 คู่และชุมชนให้การสนับสนุนพันธ์ลูกไก่ จำนวน 10 ตัว

รายการอาหารกลางวัน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

ได้รับการสนับสนุนพันธ์ปลาดุกจากประมงจังหวัดสุโขทัย จำนวน 2,000 ตัว โดยเลี้ยงแบ่งเป็น 2 บ่อ

ภาพถ่าย

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

นักเรียนอนุบาลได้รับการบริโภคผัก 30 กรัมต่อวันและร้อยละ 80 รับประทานผักหมด โรงเรียนได้จัดผลไม้ให้นักเรียน 2 วันต่อสัปดาห์

เมนูอาหารกลางวัน

ครูมีการตรวจสอบการรับประทานอาหารของนักเรียนและให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในเรื่องการบริโภคผักและผลไม้ของนักเรียนให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม
  • นักเรียนระดับประถมศึกษาได้รับการบริโภคผักในปริมาณ 60 กรัม และร้อยละ 90 รับประทานอาหารหมด
  • โรงเรี่ยนมีการจัดผลไม้ให้นักเรียน 2 วันต่อสัปดาห์

เมนูอาหารกลางวัน

  • ครูมีการตรวจสอบการรับประทานอาหารของนักเรียนก่อนล้างภาชนะ

  • ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในเรื่องการบริโภคผักและผลไม้ที่ถูกต้อง เหมาะสม ตามหลักโภชนาการ เพื่อให้ผู้ปกครองได้เกิดความรู้และตระหนักในการประกอบอาหารให้กับบุตรหลาน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

โรงเรียนไม่ได้รับงบสนับสนุนจัดอาหารกลางวันกับนักเรียนกลุ่มนี้

โครงการอาหารกลางวัน

ให้ความรู้กับนักเรียนในการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการและให้ความรู้แก่ผู้จำหน่ายอาหารให้กับนักเรียน โรงเรียนมีนโยบายจัดหาร้านจำหน่ายอาหารที่หลากหลาย เช่น ร้านจำหน่ายผลไม้ ร้านอาหารปรุงสุกที่ประกอบเมนูผัก

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

ชุมชนมีการนำผลผลิตประเภทส้มเขียวหวานและผักประเภทฟักทอง ฟักเขียว จำหน่ายให้กับสหกรณ์นักเรียน ทำให้นักเรียนได้บริโภคอาหารและผลไม้ที่ปลอดภัย

โครงการอาหารกลางวัน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

จัดทำโปรแกรมเมนูอาหารกลางวัน เป็นรอบเดือนและส่งต่อให้แม่ครัวเป็นผู้จัดหาวัตถุดิบเพื่อจัดทำเมนูอาหารกลางวัน

  • เว็บไซด์เด็กไทยแก้มใส
  • เมนูอาหารกลางวันของโรงเรียน

ให้ความรู้เพิ่มเติมในการจัดเมนูอาหารแก่แม่ครัวในโรงเรี่ยนและผู้เกี่ยวข้อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการติดตาม ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงในช่วงแรกเดือนพฤษภาคมเปิดภาคเรียนที่ 1และในเดือนกันยายนก่อนปิดภาคเรียนที่ 1 และช่วงที่สองเดือนพฤศจิกายนเปิดภาคเรียนที่ 2 และเดือนกุมภาพันธ์ก่อนปิดภาคเรียนที่ 2นำข้อมูลมาวิเคราะห์ภาวะโภชนาการของนักเรียน รายบุคคล แล้วแจ้งครูผู้เกี่ยวข้อง ผู้ปกครองในการควบคุมอาหารสำหรับนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์และเสริมอาหาร นม สำหรับนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์

เอกสารรายงานผลภาวะโภชนาการ

 

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/1
เตี้ย 5.39 5.39% 6.21 6.21% 6.02 6.02% 6.42 6.42% 5.99 5.99% 6.33 6.33% 6.54 6.54% 5.21 5.21% 4.98 4.98%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 12.87 12.87% 12.43 12.43% 11.45 11.45% 12.84 12.84% 11.36 11.36% 12.03 12.03% 14.05 14.05% 11.07 11.07% 9.66 9.66%
ผอม 6.27 6.27% 2.66 2.66% 4.52 4.52% 2.76 2.76% 5.36 5.36% 4.78 4.78% 5.10 5.10% 3.19 3.19% 5.61 5.61%
ผอม+ค่อนข้างผอม 18.21 18.21% 7.69 7.69% 11.45 11.45% 7.98 7.98% 14.20 14.20% 12.10 12.10% 12.42 12.42% 7.67 7.67% 13.40 13.40%
อ้วน 4.18 4.18% 3.55 3.55% 3.31 3.31% 3.99 3.99% 4.10 4.10% 4.14 4.14% 3.18 3.18% 3.83 3.83% 3.74 3.74%
เริ่มอ้วน+อ้วน 8.96% 8.96% 11.54% 11.54% 6.93% 6.93% 12.27% 12.27% 8.52% 8.52% 7.32% 7.32% 7.96% 7.96% 7.67% 7.67% 7.79% 7.79%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

ในช่วงภาคเรียนที่ 1 นักเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนคิดเป็นร้อยละ 8.51 ในช่วงภาคเรียนที่ 2 พบว่านักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนคิดเป็นร้อยละ 8.22 ซึ่งลดลงจากเดิม ร้อยละ 0.29 จากผลที่นักเรียนมีภาวะโภชนาการดีขึ้นมาจากการใช้โปรแกรม Thai school Lunch และการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของนักเรียน

เอกสารรายงานภาวะโภชนาการนักเรียน

ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในเรื่องการรับประทานอาหารในปริมาณที่เหมาะสมตามช่วงวัย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

ในช่วงภาคเรียนที่ 1 นักเรียนที่มีภาวะค่อนข้างผอมและผอมคิดเป็นร้อยละ 14.19 ในช่วงภาคเรียนที่ 2 พบว่านักเรียนมีภาวะค่อนข้างผอมและผอมคิดเป็นร้อยละ 12.65 ซึ่งลดลงจากเดิม ร้อยละ 1.54 จากผลที่นักเรียนมีภาวะโภชนาการดีขึ้นมาจากการใช้โปรแกรม Thai school Lunch และการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของนักเรียน

เอกสารรายงานภาวะโภชนาการนักเรียน

ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในเรื่องการรับประทานอาหารในปริมาณที่เหมาะสมตามช่วงวัย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

ในช่วงภาคเรียนที่ 1 นักเรียนมีภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยวคิดเป็นร้อยละ 11.34 ในช่วงภาคเรียนที่ 2 พบว่านักเรียนมีภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ย คิดเป็นร้อยละ 13.59 ซึ่งเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ2.25จากผลที่นักเรียนมีภาวะโภชนาการในด้านส่วนสูงไม่พัฒนาขึ้นทางโรงเรียนจึงได้มีการเสริมอาหารประเภทนมให้กับนักเรียนในกลุ่มนี้

เอกสารรายงานภาวะโภชนาการ

ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในเรื่องการรับประทานอาหารในปริมาณที่เหมาะสมตามช่วงวัย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

ติดตามวัดส่วนสูง ชั่งน้ำหนักนักเรียนกลุ่มที่มีภาวะทุพโภชนาการและติดตามเยี่ยมบ้านนักเรียนและให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในเรื่องการรับประทานอาหารในปริมาณที่เหมาะสมตามช่วงวัย

เอกสารรายงานภาวะโภชนาการนักเรียน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

ครูแจ้งภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนให้ผู้ปกครองทราบและติดตามภาวะโภชนาของนักเรียนกลุ่มนี้

รายงานภาวะโภชนาการนักเรียน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

ความร่วมมือของหน่วยงาน ได้แก่ ชุมชนบ้านผาเวียงโดยผู้ปกครองรับซื้อผลิตภัณฑ์ จากสหกรณ์นักเรียนซึ่งมีราคาถูกกว่าท้องตลาด ผู้บริหารมีนโยบายสนับสนุนการผลิตน้ำยาเอนกประสงค์ และประชาสัมพันธ์การจำหน่ายสินค้าแก่ชุมชนในการใช้ผลิตภัณฑ์ที่ถูกกว่าท้องตลาดและมีความปลอดภัย นักเรียนกลุ่มผลิตน้ำยาเอนกประสงค์มีความสนใจและให้ความร่วมในการผลิตเป็นอย่างดีและนำส่งสหกรณ์นักเรียนเพื่อจำหน่ายในโรงเรียนและชุมชน รพ.สต.สะท้อ โดยเจ้าหน้าที่ให้คำแนะนำในเรื่องความปลอดภัยในการเลือกใช้น้ำยาที่นำมาผลิต

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh