ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนอนุบาลไทยรัฐวิทยา5 (วัดตลิ่งต่ำ)

รหัสโครงการ ศรร.1112-027 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.27 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน
  1. ปลูกผักกะหล่ำปลีในกระถาง
  1. เตรียมกระถางจำนวน 100 กระถาง
  2. เตรียมดิน และดินปุ๋ย แกลบดำ ผสมให้เข้ากัน
  3. ปลูกกะหล่ำปลีกระถางละ 1 ต้น
  4. ดูแล รดน้ำ พรวนดิน
  5. เก็บผลผลิต จำหน่าย และนำไปประกอบอาหารกลางวัน

ปลูกผักในกระถางที่หลากหลายชนิด เพื่อใช้บริเวณโรงเรียนให้เกิดประโยชน์สูงสุด

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

การจัดกิจกรรมอาหารกลางวัน โดยใช้โปรแกรม Thai School lunch

  1. ผู้รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวัน จัดทำรายการอาหารเป็นรายเดือน
  2. บันทึกวัสดุตามรายการอาหารลงในโปรแกรมอาหารกลางวัน Thai School lunch แล้วตรวจสอบวัตถุดิบ และคุณค่าอาหาร ให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ
  3. นำรายการอาหารไปติดป้ายประกาศที่โรงอาหาร
  4. ครูที่รับผิดชอบ จัดซื้อ จัดหาวัตถุดิบที่ปลอดสารพิษเป็นประจำทุกวัน และมอบให้ผู้ประกอบการอาหารกลางวัน
  5. ผู้ประกอบการอาหารกลางวัน ได้รับการอบรมจาก โรงพยาบาลประจำอำเภอ และผ่านการตรวจสุขภาพ

ประชาสัมพันธ์ ให้ผู้ปกครองและชุมชนเข้าร่วมกิจกรรม "อาหารปลอดภัย สุขภาพแข็งแรง" เพื่อพัฒนาและส่งเสริมสุขภาวะของนักเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

กิจกรรม อย.น้อย ทำงานใหญ่

  1. ครูอนามัยโรงเรียน ชี้แจงการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพนักเรียน โดยมีอาสาสมัคร อย.น้อย ช่วยดำเนินกิจกรรม
  2. ครูอนามัยโรงเรียนออกแบบบันทึกน้ำหนัก และส่วนสูงนักเรียน
  3. อย.น้อย ดำเนินการตรวจสุขภาพนักเรียนตามแบบที่กำหนดไว้ เช่น การตรวจเหา ตรวจสุขภาพฟัน ตรวจเล็ และความสะอาดของร่างกาย พร้อมให้คำแนะนำ
  4. อย.น้อยบันทึกน้ำหนัก และส่วนสูงนักเรียนทุกชั้น เดือนละ 1 ครั้ง และสรุปผล รายงานครูอนามัยโรงเรียน
  5. ครูสุขศึกษาพลศึกษา ร่วมวัดสมรรถภาพทางร่างกาย

ขอเชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเช่น รพ.สต.ให้ความรู้ และออกแบบการจัดกิจกรรมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ กับ ผู้ปกครอง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

กิจกรรมพัฒนาสุขภาวะนักเรียนด้วยหลัก ๔ อ. คือ อ.อาหาร อ.ออกกำลังกาย อ.อโรคยา และ อ.อนามัย ส่ิงแวดล้อม

  1. ผู้บริหารมอบหมายคณะครูรับผิดชอบทั้ง 4 กิจกรรม
  2. จัดกิจกรรมกับนักเรียนทั้งโรงเรียน
    -กิจกรรมให้ความรู้ โดยวิทยากร โดยศึกษาเรียนรู้เป็นฐาน และลงมือปฏิบัติกิจกรรมเป็นกลุ่ม -เรียนรู้โดยการปฏิบัติจริง เช่น การออกกำลังกาย การตรวจสุขภาพช่องปาก เหา การล้างมือ เป็นต้น -เรียนรู้โดยการส่งสารทางหอกระจายข่าว โดยกลุ่ม "ดีเจทีน"
  3. ใช้เวลา เช้าก่อนเข้าเรียน หลังรับประทานอาหารกลางวัน และกิจกรรม ลดเวลาเรียน ่เพ่ิมเวลารู้

เพ่ิมหลักการพัฒนาสุขภาวะ เป็น 6 อ. คือ อ. อาหาร อ. ออกกำลังกาย อ. อโรคยา อ. อนามัยส่ิงแวดล้อม อ. อารมณ์ และ อ. อบายมุข

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

กิจกรรม "กลุ่มพิชิตขยะ"

  1. ขออาสามัครร่วมกิจกรรม "พิชิตขยะ" ไม่จำกัดจำนวน
  2. แบ่งเป็นกลุ่ม ปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้ -พาน้องเก็บขยะตามบริเวณโรงเรียน -ทำความสะอาดถังขยะของโรงเรียน -ร่วมกับนักการ ฯ นำขยะไปทิ้งที่บ่อขยะ
  3. ปฏิบัติกิจกรรมก่อนเวลา 08.00 น. และ หลังเวลา 16.00 น. เป็นประจำทุกวัน

ขยายการจัดกิจกรรม "พิชิตขยะ" สู่ครอบครัวและชุมชน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

กิจกรรม สร้างความตระหนักด้านสุขภาพด้วย "ละครสร้างสรรค์"

  1. เชิญ จนท.รพ.สต. หรือ โรงพยาบาลอำเภอ มาให้ความรู้ด้านสุขภาพ และโภชนาการ แก่ผู้ปกครองและนักเรียน
  2. รับสมัครนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม "ละครสร้างสรรค์"
  3. นักเรียนเขียนโครงเรื่องละคร เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ การเลือกรับประทานอาหาร เหา ฟันผุ เป็นต้น
  4. นักเรียนแสดงละคร ในเวลาเช้า หลังเคารพธงชาติ เวลาหลังรับประทานอาหารกลางวัน และตามห้องเรียน

นำละครสร้างสรรค์ แสดงตามกิจกรรมของชุมชน เพื่อสร้างความตระหนักในการดูแล ใส่ใจสุขภาพ ในชุมชน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

ทุกพื้นที่ในโรงเรียน คือแหล่งเรียนรู้

จัดพื้นที่โรงเรียนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ โดยให้นักเรียนได้ศึกษาเรียนรู้บูรณาการทั้งในและนอกห้องเรียน นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง สามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง ด้านการเกษตรกิจกรรมปลูกผักสวนครัว การเลี้ยงปลาในวงบ่อ การเลี้ยงไก่พันธ์ุไข่
ด้านอาหารกลางวัน จัดบริการอาหารกลางวันด้วยโปรแกรม Thai School Lunch ด้านกิจกรรมสหกรณ์โรงเรียน เรียนรู้กระบวนการผลิต สหกรณ์ร้านค้า รับสมัครสมาชิกการคำนวณกำไร ขาดทุน การคืนกำไร เป็นต้น ด้านสุขอนามัย การร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น โรงพยาบาล รพ.สต. ให้ความรู้ ตรวจร่างกาย และการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาสุขภาพของโรงเรียน เช่น กิจกรรมอาหารกลางวัน กิจกรรมตรวจลูกน้ำยุงลาย กิจกรรมต้านสารเสพติด กิจกรรมรักษ์ส่ิ่งแวดล้อม

-ขยายพื้นที่การทำเกษตรสู่ครอบครัว -จัดแหล่งเรียนรู้ให้มีเนื้อหาทันต่อเหตุการณ์

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ
  1. การจัดกิจกรรมอาหารกลางวัน ด้วยโปรแกรม Thai School Lunch
  2. การจัดกิจกรรมลดภาวะโรคอ้วน
  3. กิจกรรมการเลี้ยงไก่ไข่เพื่ออาหารกลางวัน
  1. ได้รับรางวัลโครงการอาหารกลางวันยอดเยี่ยม ระดับเขตพื้นที่การศึกษา
  2. ได้รับรางวัลการดูแลสุขภาพนักเรียนระดับยอดเยี่ยม จากมูลนิธิไทยรัฐ
  3. เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน
  4. ได้รับคัดเลือกเป็นโรงเรียนต้นแบบนักเรียนไทยสุขภาพดี

ปรับปรุง และดำเนินโครงการต่อเนื่อง

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1. นายกเทศบาลตำบลพระเสด็จ เห็นความสำคัญในปัญหาสุขภาพของเยาวชน จึงสนับสนุนงบประมาณ และกลุ่มเยาวชน "ไทยรัฐ - พระเสด็จ" มาช่วยเหลือน้อง ๆ ทำการเกษตรในครัวเรือน เช่น พาน้องปลูกผักสวนครัว พาน้องเพาะถั่วงอก เพาะต้นอ่อนทานตะวัน เป็นต้น 2. ได้รับความอนุเคราะห์จาก ผอ.รพ.สต. ตำบลชัยจุมพล ให้เจ้าหน้าที่มาให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง นักเรียน และร่วมจัดกิจกรรมสร้างความตระหนัก และร่วมกันดุแลสุขภาพของบุตรหลาน 3. ได้รับคำแนะนำจากศึกษานิเทศก์ ที่รับผิดชอบเครือข่าย และเสนอแนะแนวทางการดำเนินกิจกรรม 4. ได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครอง คณะครู และนักเรียนทุกคน

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

ด้านบริบทของโรงเรียนและชุมชน โรงเรียนตั้งอยู่ในพื้นที่ราบ ผู้ปกครองร้อยละ 80 ประกอบอาชีพเกษตกรรม ทำให้การพัฒนาและการส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านการเกษตรค่อนข้างประสบความสำเร็จ เนื่องด้วยกิจกรรมใกล้เคียงกับสภาพแวดล้อมและการดำเนินชีวิตประจำวันของนักเรียน เมื่อผู้ปกครอง และนักเรียนได้รับความรู้ จึงหันมาพัฒนาตนเอง และบุคคลในครอบครัว โรงเรียนและชุมชน มีนายกเทศมนตรี ที่มีวิสัยทัศน์ มีภาวะความเป็นผู้นำ และมีโครงการที่เอื้อต่อการพัฒนาสุขภาพคนในชุมชนในทุกวัย จึงทำให้กิจกรรมสอดคล้องและพัฒนาไปในทิศทางเดียวกัน โรงเรียนตั้งอยู่ใกล้แหล่งเรียนรู้ เช่น รพ.สต. ศูนย์วิจัยวัตถุมีิพิษ แหล่งน้ำบึงมาย นักเรียนจึงได้รับโอกาสได้ศึกษาเรียนรู้ และนำมาพัฒนาทักษะของตนเอง

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

  1. ผู้บริหารให้ความสำคัญ ได้ชี้แจงนโยบาย และมอบหมายภาระงานที่ชัดเจน มีการติดตามสอบถาม ให้กำลังใจในการทำงาน
  2. คณะครูทุกคนให้ความสำคัญ และร่วมมือเป็นอย่างดี
  3. ผู้ปกครองมีความตระหนัก หันมาใส่ใจสุขภาพของบุตรหลานของตนเองมากขึ้น
  4. นักเรียนมีวินัย มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ และให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี
  5. ผู้นำชุมชนให้ความสนับสนุน

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

  1. ศึกษาแหล่งเรียนรู้้ด้วยตนเอง
  2. ศึกษาเรียนรู้จากวิทยากร
  3. ศึกษาเรียนรู้จากการทดลอง
  4. ศึกษาเรียนรู้โดยการปฏิบัติจริง

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

  1. ผู้นำชุมชน เชิญผู้ปกครองนักเรียน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง มาประชุมชี้แจงถึงสภาพปัจจุบัน ปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อหาวิธีการแก้ปัญหาร่วมกัน
  2. ผู้นำชุมชนสนับสนุนงบประมาณ และจัดทำโครงการการพัฒนาสุขภาพบุคคลในชุมชน เพื่อให้สอดคล้องกับกิจกรรมในโรงเรียน เป็นการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
  3. ชุมชนเข้ามาช่วยเหลือ ให้ความรู้ จัดกิจกรรมพัฒนาสุขภาวะให้ผู้ปกครอง และนักเรียน
  4. ผู้ปกครองมีบทบาทในการเป็นผู้ประกอบอาหารกลางวัน เพื่อศึกษาข้อมูลวัตถุดิบ วิธีการที่ถูกหลักอนามัย
  5. ผู้ปกครองมีบทบาทในการตรวจสุขภาพของบุตรหลานของตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

การปลูกผักและผลไม้ในโรงเรียนมีไม่เพียงพอต่อการนำไปเป็นวัตถุดิบ ประกอบอาหารกลางวัน และได้จัดซื้อวัตถุดิบของผู้ปกครองนักเรียน ที่สนใจปลูกผักปลอดสารพิษไว้สำหรับรับประทาน

กิจกรรมการปลูกผักพื้นบ้านตามฤดูกาลของโรงเรียน

เพิ่มพื้นที่ปลูกผักพื้นบ้านตามฤดูกาล

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)
  1. เลี้ยงไก่พันธ์ุไข่ จำนวน 240 ตัว

โครงการเกษตร เพื่ออาหารกลางวัน

  1. ปรับปรุงและขยายโรงเลี้ยงไก่ให้กว้าง และโปร่ง ระบายลมได้มากขึ้น
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

การเลี้ยงปลาในวงบ่อ

โครงการเกษตร เพื่ออาหารกลางวัน

จัดระบบน้ำวนในบ่อเลี้ยงปลา ให้ปลาได้ออกกำลัง ทำให้เจริญเติบโตได้ดี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

นักเรียนร้อยละ 98.25 รับประทานอาหารมาจากบ้าน กรณีที่ไม่ได้รับประทาน จะดื่มนม หรือ โอวัลติน ก่อนมาโรงเรียน

แบบสำรวจการรับประทานอาหารเช้า

ประชุมชี้แจงผู้ปกครองให้ดูแลการรับประทานอาหารเช้า

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม
  1. อาหารกลางวันทุกมื้อจะเป็นเมนูที่มีผักเป็นส่วนประกอบ
  2. จัดผลไม้ให้นักเรียนได้รับประทานสัปดาห์ละ 3 วัน

เมนูอาหารตามโปรแกรม Thai School Lunch

จัดบริการให้เด็กได้รับประทานผลไม้ให้ครบ 5 วัน ต่อสัปดาห์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

อาหารกลางวันทุกมื้อจะเป็นเมนูที่มีผักเป็นส่วนประกอบ จัดผลไม้ให้นักเรียนได้รับประทานสัปดาห์ละ 3 วัน

เมนูอาหารตามโปรแกรม Thai School Lunch

จัดบริการให้เด็กได้รับประทานผลไม้ให้ครบ 5 วัน ต่อสัปดาห์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

อาหารกลางวันทุกมื้อจะเป็นเมนูที่มีผักเป็นส่วนประกอบ จัดผลไม้ให้นักเรียนได้รับประทานสัปดาห์ละ 3 วัน

เมนูอาหารตามโปรแกรม Thai School Lunch

จัดบริการให้เด็กได้รับประทานผลไม้ให้ครบ 5 วัน ต่อสัปดาห์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

โรงเรียนมีผู้ปกครองที่ให้ความร่วมมือในการปลูกผักปลอดสารพิษ แต่มีจำนวนผู้ผลิตไม่เพียงพอในบางฤดูกาล เนื่องด้วยชุมชนขาดแคลนน้ำ คนในชุมชนจึงหันไปประกอบอาชีพ ทำสวน ทำไร่ มากกว่า ปลูกพืชผักที่ต้องใช้น้ำมาก

บันทึกกลุ่มสนใจของนักเรียนและผู้ปกครองที่เข้าร่วมกิจกรรม

เชิญชวนให้ผู้ปกครองเห็นความสำคัญ และร่วมมือกันปลูกพืชผักปลอดสารพิษ เพื่อประกอบอาหารในครอบครัวเพ่ิ่มขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

โรงเรียนดำเนินการบริการอาหารกลางวัน ได้ตามโปรแกรม Thai School Lunch อย่างสมบูรณ์

การบันทึกผลการจัดบริการอาหารกลางวัน และการบันทึกการจัดซื้อ จัดหาวัตถุดิบมาประกอบอาหาร

ดำเนินการใช้โปรแกรมการจัดการอาหารกลางวันด้วยโปรแกรม Thai School Lunch ต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

โรงเรียนได้บันทึกน้ำหนัก และส่วนสูงของนักเรียนได้ตามเกณฑ์ที่กำหนดให้

แบบบันทึกน้ำหนักและส่วนสูง

ให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการติดตามภาวะโภชนาการของบุตรหลาน

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/2
เตี้ย 3.77 3.77% 3.38 3.38% 3.79 3.79% 3.44 3.44% 3.05 3.05% 2.30 2.30% 1.82 1.82% 3.30 3.30% 3.51 3.51% 3.93 3.93%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 10.04 10.04% 9.70 9.70% 9.47 9.47% 11.07 11.07% 9.54 9.54% 9.96 9.96% 8.39 8.39% 9.89 9.89% 9.82 9.82% 8.93 8.93%
ผอม 9.21 9.21% 11.81 11.81% 10.65 10.65% 10.31 10.31% 7.63 7.63% 8.05 8.05% 7.30 7.30% 9.85 9.85% 8.01 8.01% 5.32 5.32%
ผอม+ค่อนข้างผอม 17.15 17.15% 24.05 24.05% 25.10 25.10% 21.37 21.37% 17.56 17.56% 18.01 18.01% 19.71 19.71% 21.90 21.90% 17.42 17.42% 16.31 16.31%
อ้วน 4.18 4.18% 3.80 3.80% 3.80 3.80% 2.29 2.29% 3.82 3.82% 3.07 3.07% 4.01 4.01% 4.38 4.38% 4.53 4.53% 4.26 4.26%
เริ่มอ้วน+อ้วน 11.72% 11.72% 11.39% 11.39% 11.03% 11.03% 7.25% 7.25% 8.78% 8.78% 9.20% 9.20% 8.76% 8.76% 10.22% 10.22% 9.41% 9.41% 8.51% 8.51%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

จำนวนนักเรียนที่อ้วนลดลง แต่นักเรียนเร่ิมอ้วนเพื่มขึ้น

บันทึกน้ำหนัก ส่วนสูง

ดูแลสุขภาวะโภชนาการนักเรียนตั้งแต่เร่ิ่มอ้วน และนักเรียนอ้วน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

จำนวนนักเรียนผอม และค่อนข้างผอมเพิ่มขึ้น

บันทึกน้ำหนัก ส่วนสูง

ดูแลสุขภาวะโภชนาการนักเรียนตั้งแต่เร่ิมผอม และนักเรียนผอม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

จำนวนนักเรียนเตี้ยลดลง แต่ค่อนข้างเตี้ยเพิ่มขึ้น

บันทึกน้ำหนัก ส่วนสูง

ดูแลภาวะโภชนาการนักเรียนเตี้ยและค่อนข้างเตี้ย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

ได้ดูและนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) โดยให้ออกกำลังกาย ชั่งน้ำหนัก ทุกสัปดาห์ เพื่อให้นักเรียนประเมินตนเอง

บันทึกการชั่งน้ำหนัก

ให้นักเรียนออกกำลังกายตามความสนใจมากขึ้น และชั่งน้ำหนักทุกวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

ผู้่ปกครองเข้าร่วมประชุม และอบรมการจัดอาหารสำหรับพัฒนาสุขภาวะของนักเรียน แต่นักเรียนร้อยละ 75 อยู่กับปู่ ย่า ตา ยาย และญาติ ส่วนผู้ปกครองไปประกอบอาชีพรับจ้างต่างจังหวัด ทำให้ไม่สามารถดูแลภาวะโภชนาการของนักเรียนได้เต็มที่

บันทึกการเยี่ยมบ้าน

จัดกิจกรรมสรัางความตระหนักให้นักเรียนสามารถดูแลสุขภาวะของตนเอง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

โรงเรียนจัดกิจกรรมดูแล เฝ้าระวังภาวะโภชนาการของนักเรียน หลากหลายรูปแบบ แต่มักพบปัญหาการย้ายเข้า ย้ายออกของนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ ทำให้ผลการดำเนินการตามโครงการไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร

บันทึกการย้ายเข้า ย้ายออกของนักเรียน

จัดบริการอาหารตามโปรแกรม Thai School Lunch จัดกิจกรรมพัฒนาสุขภาพนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการเป็นรายบุคคล

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1. นายกเทศบาลตำบลพระเสด็จ เห็นความสำคัญในปัญหาสุขภาพของเยาวชน จึงสนับสนุนงบประมาณ และกลุ่มเยาวชน "ไทยรัฐ - พระเสด็จ" มาช่วยเหลือน้อง ๆ ทำการเกษตรในครัวเรือน เช่น พาน้องปลูกผักสวนครัว พาน้องเพาะถั่วงอก เพาะต้นอ่อนทานตะวัน เป็นต้น 2. ได้รับความอนุเคราะห์จาก ผอ.รพ.สต. ตำบลชัยจุมพล ให้เจ้าหน้าที่มาให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง นักเรียน และร่วมจัดกิจกรรมสร้างความตระหนัก และร่วมกันดุแลสุขภาพของบุตรหลาน 3. ได้รับคำแนะนำจากศึกษานิเทศก์ ที่รับผิดชอบเครือข่าย และเสนอแนะแนวทางการดำเนินกิจกรรม 4. ได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครอง คณะครู และนักเรียนทุกคน

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh