ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านวังประจบ


“ โรงเรียนบ้านวังประจบ ”

ม.1 ตำบลวังประจบ อำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก

หัวหน้าโครงการ
นางสาวเฉลิมลักษณ์ เนื้อไม้

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านวังประจบ

ที่อยู่ ม.1 ตำบลวังประจบ อำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก จังหวัด ตาก

รหัสโครงการ ศรร.1111-020 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.20

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2016 ถึง 30 เมษายน 2017


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านวังประจบ จังหวัดตาก" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.1 ตำบลวังประจบ อำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านวังประจบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านวังประจบ



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านวังประจบ " ดำเนินการในพื้นที่ ม.1 ตำบลวังประจบ อำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก รหัสโครงการ ศรร.1111-020 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านวังประจบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 199 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากผลการดำเนินโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ในปี 2558 ของโรงเรียนบ้านวังประจบ พบว่ายังมีปัญหาและสิ่งที่ต้องดำเนินการต่ออีกหลายกิจกรรม ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 การเกษตรในโรงเรียน เนื่องจากโรงเรียนมีปัญหาเรื่องดินขาดความอุดมสมบูรณ์ ทำให้ผลิตผลจากการเพาะปลูกได้ผลไม่ดีเท่าที่ควร ในปีนี้โรงเรียนจึงจะปรับปรุงดินโดยวิธีการทางธรรมชาติ โดยการปลูกพืชคลุมดิน เช่น ปอเทือง เพื่อไถกลบจะทำให้ดินดีสามารถเพาะปลูกพืชผักได้ผลตามต้องการและทางโรงเรียนยังมีปุ๋ยพืชสดที่ได้จากใบไม้ สืบเนื่องมาจากโรงเรียนมีต้นไม้เยอะ จึงให้นักเรียนเก็บมาทำปุ๋ยไว้ใช้ใส่แปลงเกษตรและการปลูกพืชผักต่างๆ และให้นักเรียนนำผักตามท้องถิ่นมาปลูกที่โรงเรียนเสหกรณ์นักเรียนเพื่อไว้สำหรับทำอาหารกลางวันได้ด้วย กิจกรรมที่ 2 สหกรณ์นักเรียน นำครูและนักเรียนไปศึกษาดูงานโรงเรียนต้นแบบสหกรณ์ เพื่อให้นักเรียนมีควารู้ในการดำเนินกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน นักเรียนสามารถทำบัญชีรายรับ -รายจ่ายได้และสามารถนำไปใช้ในครอบครัวได้ด้วย กิจกรรมที่ 3 การจัดการอาหารของโรงเรียน เนื่องจากยังมีนักเรียนอ้วน ทางโรงเรียนจึงลดอาหารหวาน มัน เค็มลง มีการปลูกผลไม้โดยให้นักเรียนนำมาจากที่บ้าน ให้นักเรียนทำโครงงานสำรวจเพื่อหาเด็ก อ้วน เตี้ย ผอม โดยสำรวจการรับประทานอาหารเช้ามาโรงเรียนและการนำเงินมาโรงเรียนคนละกี่บาท หลังจากดำเนินแต่ละกิจกรรมแล้วทางโรงเรียนจะจัดกิจกรรม click of มีการจัดนิทรรศการและมอบเกียรติบัตรให้กับนักเรียน กิจกรรมที่ 4ติดตามภาวะโภชนาการ จัดกิจกรรมเฝ้าระวังน้ำหนัก ส่วนสูง เฝ้าระวังภาวะโภชนาการและอบรมนักเรียนแกนนำ โดยเชิญวิทยากรจากสาธารณสุขมาอบรมให้ความรู้แก่นักเรียน กิจกรรมที่ 5 การพัฒนาสุขนิสัยและส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน นักเรียนแกนนำสำรวจพฤติกรรมการแปรงฟัน ล้างมือและจัดประกวดฟันสวย ส่งเสริมกิจกรรมออกกำลังกายเพื่อลดภาวะเด็กอ้วน เตี้ย ผอม กิจกรรมที่ 6การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน กิจกรรมคัดแยกขยะ กิจกรรมที่ 7 การบริการสุขภาพ จัดอบรมอย.น้อยเพื่อให้นักเรียนสามารถตรวจสุขภาพได้ด้วยตนเอง กิจกรรมที่ 8 การจัดการเรียนรู้ เกษตร โภชนาการและสุขภาพอนามัยปีที่แล้วได้จัดการอบรมแก่ครูและผู้ปกครอง ในปีนี้โรงเรียนจึงดำเนินการจัดการเรียนการสอนเป็นฐานให้แก่นักเรียนเพื่อให้นักเรยนรู้ ตระหนักถึงการเรียนเกษตร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาสุขภาวะ และโภชนาการของเด็กและเยาวชน
  2. 2.เพื่อสร้างการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะนักเรียน
  3. 3.เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.เด็กนักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการ ดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง

    2.โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ

    3.พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและ

    ความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชนตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน 4.ชุมชนมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมชี้แจงผู้ปกครอง

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ทำหนังสือเชิญประชุม
    • เตรียมเอกสาร
      -ดำเนินการประชุมโดยผู้อำนวยการ ประชุม ชี้แจง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ผู้ปกครองนักเรียนเข้าร่วมประชุม

     

    195 107

    2. การจัดทำการเกษตรในโรงเรียน ครั้งที่2 โดยปรับปรุงสภาพดิน

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2016 เวลา 14:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.นักเรียน จำนวน 62 คน ได้ร่วมกันปรับปรุงดินในแปลงเกษตรจากเดิมจำนวน  12 แปลง โดยได้นำปุ๋ยหมักที่ได้ทำไว้มาบำรุงดิน

    2.สามเณร ได้ร่วมกับนักเรียนชาย หญิงถางหญ้าบริเวณหลังโรงเรียน 30x150 ตารางวา เพื่อเตรียมและปรับพื้นที่เป็นแปลงผักในโรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต
    1.นักเรียน และผู้นำศาสนา (สามเณร วัดวังประจบ) ได้ร่วมกันทำแปลงผักจนแล้วเสร็จจำนวน 12 แปลง

    ผลลัพธ์

    1.เด็กนักเรียนมีส่วนร่วม ความสามัคคีในการทำแปลงเกษตรในโรงเรียน
    2.นักเรียนสามารถเชื่อมโยงวิชาที่เรียนในวิชา การงานและอาชีพ เพื่อฝึกให้นักเรียนได้เรียนรู้การทำเกษตร ปลูกผัก ในชีวิตประจำวัน

     

    64 93

    3. การจัดทำการเกษตรในโรงเรียน ครั้งที่ 3 โดยการติดตั้งระบบน้ำ แปลงผัก 160 x 12

    วันที่ 18 พฤษภาคม 2016 เวลา 14:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ติดตั้งระบบน้ำในแปลงผัก 4 จุด -ติดตั้งระบบน้ำแปลงผักสวนครัว 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รับความสะดวกในการดูแล รดน้ำมากขึ้น พืชผักได้รับน้ำอย่างเพียงพอ

     

    64 75

    4. สวนกล้วย/มะละกอ/ผักสวนครัว 30 x 150 ตร.ซม.

    วันที่ 1 มิถุนายน 2016 เวลา 14:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ซื้อพันธุ์ผัก มะเขือ ผักบุ้ง คะน้า
    2. จัดซื้อหน่อกล้วย  

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีพันธุ์ผัก มะเขือ ผักบุ้ง คะน้า และหน่อกล้วยปลูกตามต้องการ

    ผลลัพธ์ มีผักต่างๆส่งเข้าสหกรณ์โรงเรียนและโครงการอาหารกลางวันนักเรียน นักเรียนได้ทานผัก ผลไม้ที่มีประโยชน์และปลอดสารพิษ

     

    5 30

    5. จัดทำตาข่าย(ลี่)ล้อมสวนกล้วย/มะละกอ/ผักสวนครัว

    วันที่ 15 มิถุนายน 2016 เวลา 14:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำลี่กันความร้อน แมลงและไก่ทั้งแปลงผักและแปลงผักสวนครัว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต มีลี่กันความร้อน แมลงและไก่ทั้งแปลงผักและแปลงผักสวนครัว

    ผลลัพธ์ 1. สามารถป้องกันความร้อนให้แก่แปลงผักและแปลงผักสวนครัว 2.ป้องกันแมลงและไก่ไม่ให้มารบกวนในแปลงผักและแปลงผักสวนครัว

     

    66 27

    6. ถอนเงินเปิดบัญชี

    วันที่ 29 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    1 1

    7. จัดสอนอาชีพเสริม (เพาะเห็ด)

    วันที่ 13 กรกฎาคม 2016 เวลา 14:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • จัดทำป้าย สื่อต่างๆ
    • จัดหาวัสดุในการดำเนินงานสหกรณ์ -จัดทำชั้นเห็ด -จัดซื้อก้อนเห็ด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต มีป้าย สื่อต่างๆติดหน้าห้อง ชั้นเห็ด

    ผลลัพธ์ ได้งานตามที่ต้องการและวางแผนไว้ นักเรียนมีรายได้พิเศษ

     

    64 31

    8. การจัดทำการเกษตรในโรงเรียน ครั้งที่ 1 โดยเตรียมวัสดุ อุปกรณ์

    วันที่ 21 กรกฎาคม 2016 เวลา 14:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดหาวัสดุและอุปกรณ์เตรียมการปลูก เช่น จอบ เสียม บุ้งกี้ คราด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต จัดหาวัสดุและอุปกรณ์เตรียมการปลูก เช่น จอบ เสียม บุ้งกี้ คราด ผลลัพธ์ มีวัสดุและอุปกรณ์การเกษตร เช่น จอบ เสียม บุ้งกี้ คราดเพียงพอต่อการใช้งาน

     

    64 2

    9. เสริมสร้างสุขลักษณสุขนิสัยและสิ่งแวดล้อม

    วันที่ 1 สิงหาคม 2016 เวลา 14:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำที่คัดแยกขยะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต -ได้ที่คัดแยกขยะ

    ผลลัพธ์ 1. นักเรียนทิ้งขยะถูกต้องตามประเภท 2. เกิดรายได้จากการคัดแยกขยะ

     

    68 75

    10. ศึกษาดูงานโรงเรียนต้นแบบสหกรณ์

    วันที่ 10 สิงหาคม 2016 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ทำหนังสือขอศึกษาดูงานสหกรณ์ต้นแบบ -ศึกษาดูงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -นำมาใช้ปรับปรุง แก้ไขในงานสหกรณ์โรงเรียน - จัดทำเอกสารและงานที่โรงเรียนยังดำเนินการไม่ครบ

    ผลลัพธ์ โรงเรียนจัดระบบสหกรณ์อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ

     

    64 50

    11. ป้ายไวนิลโครงการศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

    วันที่ 22 กันยายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำป้ายโครงเหล็กโครงการเด็กไทยแก้มใส

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีป้ายโครงเหล็กโครงการเด็กไทยแก้มใส

     

    0 0

    12. ป้ายไวนิล ให้ความรู้เรื่องสหกรณ์

    วันที่ 23 กันยายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำชุดถ่ายวีดิโอกิจกรรมศุนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีวีดิโอกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนไว้ให้ผู้ศึกษาดูงานหรือศูนย์เครือข่ายได้เรียนรู้

     

    19 0

    13. จัดทำรายงานปิดงวด 1

    วันที่ 17 ตุลาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำรายงานปิดงวด 1 โดยบันทึกข้อมูลในระบบเว้ปไซต์ www.dekthaikamsai.com/ ให้มีความถูกต้อง และมีการปรับแก้เอกสารการเงิน และทำรายการหักภาษี ณ ที่จ่าย 1% และทำรายงาน ง.1,ส.1

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต จัดทำรายงานปิดงวด 1

    ผลลัพธ์ ส่งงานได้ตรงตามกำหนดและถูกต้อง

     

    3 3

    14. ออกกำลังกายเพื่อลดภาวะเด็กอ้วน เตี้ย ผอม

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2016 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • จัดหาอุปกรณ์ออกกำลังกาย
    • จัดหาที่ชั่งน้ำหนัก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • นักเรียนมีสุขภาพ ร่างกายที่แข็งแรง น้ำหนักส่วนสูงสมส่วน

     

    157 114

    15. การทำน้ำหมักชีวภาพ

    วันที่ 15 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ให้ความรู้กับนักเรียน
    • ลงมือปฎิบัติ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีน้ำหมักชีวภาพไว้ใช้ในงานเกษตร

     

    91 27

    16. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการอาหารให้กับนักเรียน แกนนำ

    วันที่ 26 มกราคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำนักเรียนไปอบรมนักเรียนแกนนำโรงเรียนเทศบาล 2 วัดดอนมูลชัย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้รับความรู้และนำมาปฎิบัติ นำมาขยายผลให้นักเรียนคนอื่นๆได้

     

    26 26

    17. การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการด้านเกษตรโภชนาการและสุขภาพ

    วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นักเรียนเรียนกิจกรรมเป็นฐานทั้งหมด 5 ฐาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้รับความรู้ในแต่ละฐาน

     

    64 40

    18. อบรม อย.น้อย

    วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    หัวหน้าโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพลานสอมาให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับอาหารและยา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนและครูได้รับความรู้ ความเข้าใจในการเลือกซื้อ เลือกใช้อาหารและยาอย่างถูกต้อง

     

    36 35

    19. กิจกรรม click of (จัดประกวดอาหารดีมีประโยชน์)

    วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เชิญผู้ปกครองนักเรียน
    • ผอ.กล่าวเปิด
    • นักเรียนเริ่มนิทรรศการอาหาร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -นักเรียนได้ฝึกทักษะการประกอบอาหาร - นักเรียนได้นำผลผลิตทางการเกษตรมาทำอาหาร - นักเรียนได้รับประทานอาหารที่ดี มีประโยชน์

     

    158 119

    20. ฝึกอาชีพเสริมถักผ้าพันคอ

    วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วางแผนกิจกรรม จัดเตรียมวัสดุ สอนนักเรียนถักผ้าพันคอแบบต่างๆ เช่น ใช้โครเช นิตติ้ง จำหน่าย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนมีผ้าพันคอไว้ใช้ในฤดูหนาว ฝึกทักษะอาชีพเพื่อให้นักเรียนมีรายได้

     

    19 19

    21. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ

    วันที่ 27 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    3 3

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาสุขภาวะ และโภชนาการของเด็กและเยาวชน
    ตัวชี้วัด : นักเรียนเจริญเติบโตสมวัย โดยมี 1.1 ภาวะอ้วน ผอม ไม่เกิน ไม่เกิน 7 % (ทั้งนี้ดูตามเกณฑ์ของโรงเรียนเป็นหลัก) 1.2 ภาวะเตี้ย ไม่เกิน 7 % 1.3 เด็กมีการปรับพฤติกรรมการกิน โดยกินผักและผลไม้ เฉลี่ยในมื้อกลางวันประมาณ 40-100 กรัม (อาจดูตามเกณฑ์ของแต่ละโรงเรียน ที่แยกเป็น ช่วงอนุบาล และ ช่วงปฐม) 1.4 มีการนำโปรแกรม Thai school lunch มาใช้ในการกำหนดเมนูอาหารกลางวัน 1.5 มีกระบวนการติดตาม ประเมินสุขภาวะของนักเรียน โดยเด็กและเยาวชน ครู และผู้ปกครอง ร่วมกัน

    นักเรียนเติบโตสมวัยมีภาวะอ้วน ผอม ไม่เกิน 7% ภาวะเตี้ยไม่เกิน 7% มีการใช้โปรแกรม Thai school lunch ในการจัดเมนูอาหารกลางวัน นักเรียนกินผัก ผลไม้ตามเกณฑ์ของโรงเรียนและมีการติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนโดยครู นักเรียนและผู้ปกครอง

    2 2.เพื่อสร้างการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะนักเรียน
    ตัวชี้วัด : 1.เด็กมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินผักและผลไม้เพิ่มขึ้น เฉลี่ยประมาณ 40-100 กรัม ในมื้ออาหารเย็น และอาหารว่าง (ติตตามผลโดยครูและผู้ปกครอง) 2.นักเรียนประมาณ 80% มีพฤติกรรมสุขภาวะที่ดี ได้แก่ การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร มีการแปรงฟันหลังทานอาหาร รวมทั้งแปรงฟันก่อนเข้านอน และมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถัง 3.ทางโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมออกกำลังกาย ก่อนเลิกเรียน (อาจจะเน้นที่เด็กมีภาวะอ้วนเป็นพิเศษ)

    นักเรียนรับประทานผักและผลไม้เพิ่มขึ้น นักเรียนร้อยละ 100 ล้างมือก่อนรับประทานอาหารและแปรงฟันหลังทานอาหาร มีการแปรงฟันก่อนเข้านอน และคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถัง โรงเรียนมีกิจกรรมออกกำลังกายก่อนเรียนและหลังเลิกเรียน

    3 3.เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน
    ตัวชี้วัด : 1.โรงเรียนมีระดับความสำเร็จในด้านการเชื่อมโยงอาหารและสุขภาพ อยู่ในระดับ 4 2.จำนวนกิจกรรมที่มีส่วนร่วมของครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนเพิ่มขึ้น 40%

    โรงเรียนมีระดับความสำเร็จในการเชื่อมโยงอาหารและสุขภาพ อยู่ในระดับ 4 มีจำนวนครู นักเรียน ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมเพิ่มขึ้น

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาสุขภาวะ และโภชนาการของเด็กและเยาวชน (2) 2.เพื่อสร้างการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะนักเรียน (3) 3.เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

    ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านวังประจบ

    รหัสโครงการ ศรร.1111-020 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.20 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

    วันที่เริ่มประเมิน

    1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    (ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    1. การเกษตรในโรงเรียน

    -มีแปลงที่มีสภาพดินที่ดีเหมาะกับการเพาะปลูก -มีพืชผักสวนครัวในท้องถิ่นส่งขายให้สหกรณ์

    • ปรับปรุงดินโดยวิธีธรรมชาติ เช่น ปลูกปอเทือง ใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพ
    • ปลูกพืชผักสวนครัวในท้องถิ่น
    • ซื้อวัสดุและอุปกรณ์เตรียมการปลูก

    ปลูกพืชผักหมุนเวียน ดูแลให้เจริญงอกงาม บำรุงดินอย่างสม่ำเสมอ

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    2. สหกรณ์นักเรียน

    ได้รับรางวัลโรงเรียนต้นแบบสหกรณ์โรงเรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๙

    -กิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในรูปแบบร้านค้าและออมทรัพย์ -นำผลิตผลจากการเกษตรไปขายในสหกรณ์นักเรียน -นักเรียนร้อยละ ๙๐ เป็นสมาชิกสหกรณ์ -โครงการอาหารกลางวันซื้อผลผลิตจากสหกรณ์นักเรียนไปจัดทำอาหารกลางวัน

    • นักเรียนร้อยละ ๑๐๐ มีสมุดฝากออมทรัพย์
    • นักเรียนร้อยละ ๑๐๐ เป็นสมาชิกสหกรณ์
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน
    • จัดหาผลไม้ให้นักเรียนทาน ทั้ง ๕ วัน
    • ลดอาหารหวาน มัน เค็ม
    • ปลูกผลไม้ตามท้องถิ่น
    • กิจกรรรมโครงงานสำรวจเด็กอ้วน เตี้ย ผอม
    • กิจกรรม click of

    นักเรียนได้รับประทานอาหารปริมาณพลังงานและสารอาหารครบถ้วนตามความต้องการและมีสุขนิสัยที่ดีในการเลือกรับประทานอาหาร

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

    จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการอาหารที่มีคุณค่าและเหมาะสมกับช่วงวัยให้กับครู แม่ครัว ผู้ปกครอง -จัดทำคู่มือเพื่อให้แม่ครัว ผู้ปกครองสามารถดำเนินการได้ด้วยตนเอง -น้ำหนักส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน

    -กิจกรรมเฝ้าระวังนำหนัก ส่วนสูง เฝ้าระวังภาวะโภชนาการ -อบรมนักเรียนแกนนำ

    -แม่ครัว ผู้ปกครองมีความรู้และสามารถจัดทำอาหารที่มีคุณค่าเหมาะสมให้แก่นักเรียน -ครูมีความรู้ เกิดทักษะในการติดดามภาวะโภชนาการและสามารถแปลผลจากการชั่งน้ำหนักและส่วนสูง -ครูมีคู่มือดำเนินงาน

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

    โรงเรียนมีโครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน -กิจกรรมการบริหาร -กิจกรรมการล้างมือ

    -จัดหาวัสดุ อุปกรณ์เพื่อเสริมทักษะและพัฒนาการ -จัดประกวดฟันสวยโดยนักเรียนแกนนำ -กิจกรรมออกกำลังกายเพื่อลดภาวะเด็กอ้วน เตี้ย ผอม

    -นักเรียนมีการฝึกปฎิบัติอย่างสม่ำเสมอจนเกิดลักษณะนิสัยที่ดี -นักเรียนมีความรู้เรื่องสุขภาพ

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ
    • กิจกรรมกลุ่มสี ดูแลรักษาความสะอาดตามเขตรับผิดชอบ
    • ดูแลรักษาความสะอาดห้องเรียนตามเวรห้องเรียน
    • กิจกรรมคัดแยกขยะ

    แบ่งนักเรียนตามกลุ่มสี รับผิดชอบทำความสะอากตามพื้นที่รับผิดชอบทั้งเช้าและเย็น ให้นักเรียนคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถังเพื่อนำไปคัดแยกและส่งไปขายต่อ

    จัดทำธนาคารขยะของโรงเรียน

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

    -จัดห้องพยาบาลเอกเทศ -จัดหาเวชภัณฑ์ -ตรวจสุขภาพนักเรียน

    -จัดห้องพยาบาลเอกเทศแยกชาย -หญิง -จัดหาเวชภัณฑ์ให้เพียงพอต่อจำนวนนักเรียน -ตรวจสุขภาพนักเรียนโดยแกนนำนักเรียนและเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

    โรงเรียนมีห้องพยาบาล บริการสุขภาพนักเรียน -มียาสำหรับปฐมพยาบาลเบื้องต้น -นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพ

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

    -จัดการเรียนรู้การสอนเกี่ยวกับงานเกษตร -การจัดการเรียนรู้โภชนาการและสุขภาพอนามัย

    -นักเรียนมีความรู้ ความใจเรื่องโภชนาการและสุขภาพอนามัย -นักเรียนสามารถดูแลตนเองและขยายผลสู่ครอบครัวได้ -นักเรียนได้รับความรู้ด้านโภชนาการและสุขภาพ

    นักเรียนนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวัน นำไปปฎิบัติที่บ้านของตนและให้ความรู้กับผู้อื่นได้

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    9. อื่น ๆ

     

     

     

    2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

    1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

    โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลได้เข้ามาให้ความรู้และตรวจสุขภาพให้กับนักเรียนร่วมกับแกนนำนักเรียน โรงเรียนได้ให้คำแนะนำกับโรงเรียนในเครือข่ายในการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใส

    2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

    อยู่ใกล้ชุมชนที่มีพืชผักสวนครัวและผลไม้ โดยชุมชนกับโรงเรียนผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนนำพืชผักมาจำหน่ายให้กับสหกรณ์โรงเรียนเพื่อให้โครงการอาหารกลางวันของโรงเรียนได้นำมาประกอบอาหารให้กับนักเรียนซึ่งทำให้ได้ผักผลไม้ที่ปลอดสารพิษและเป็นการเพิ่มรายได้ให้กับชุมชนและสมาชิกกลุ่มการเกษตรโรงเรียนด้วย

    3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

    ด้วยการบริหารจัดการและการวางแผนที่ดี มองการณ์ไกลของผู้บริหาร และคณะครูให้ความร่วมมือในการดำเนินตามกิจกรรมต่างๆด้วยความสามัคคี

    4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

    จัดการอบรมให้คณะครู นักเรียน เช่น อย.น้อย , นักเรียนแกนนำ อบรมให้ผู้ปกครองและแม่ครัวในด้านของสุขโภชนาการ เพื่อนักเรียนจะได้นำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในครองครัว สามารถตรวจเพื่อนๆ น้องๆ คนใกล้ตัว ให้ความช่วยเหลือหรือแนะนำได้ แม่ครัวและผู้ปกครองก็สามารถนำความรู้ที่ได้รับมาควบคุมและปรับปรุงวิธีการปรุงอาหาร การตักอาหาร ให้กับนักเรียนและบุตรหลานให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับแต่ละคน

    5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

    ในการดำเนินงานต่างๆโรงเรียนจะมีหนังสือแจ้งให้กับผู้ปกครองทราบและเชิญผู้ปกครองมาร่วมในการดำเนินกิจกรรมต่างๆทุกกิจกรรม
    ผู้ปกครองบางท่านช่วยออกแรงในการพัฒนา การนำพืชผักมาให้โรงเรียนปลูก นำผลไม้มาให้เด็กๆทาน ทุกคนตั้งใจและเต็มใจในการร่วมกิจกรรมในทุกกิจกรรม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

    โรงเรียนปลูกพืชผักสวนครัวตามฤดูกาล มีการบำรุงดิน การเพาะเมล็ด การแยกกล้า และปลูกผักโดยแบ่งนักเรียนรับผิดชอบ

    รูปภาพจากกิจกรรมการเกษตรในโรงเรียน

    บำรุงดินให้ดี เพราะโรงเรียนมีปัญหาเรื่องระบบน้ำและดินไม่มีคุณภาพ ทำให้ปลูกพืชผักไม่เจริญเติบโต งอกงาม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

    โรงเรียนได้รับงบประมาณดอกผลโครงการอาหารกลางวัน ซึ่งจะดำเนินการเลี้ยงไก่ไข่ในปีการศึกษาหน้า

    งบประมาณจาก สพฐ.สนับสนุน

    ดำเนินการเลี้ยงไก่ไข่

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

    -

    -

    -

    5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

    นักเรียนอนุบาล 3-5 ปี ได้รับประทานผักและผลไม้ในปริมาณที่เพียงพอในแต่ละวัน

    โรงเรียนใช้โปรแกรม Thai school lunch ในการจัดรายการอาหารทำให้นักเรียนได้รับสารอาหารที่ครบถ้วน

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    นักเรียนประถม 6-12 ปี ได้รับประทานผักและผลไม้ในปริมาณที่เพียงพอในแต่ละวัน

    โรงเรียนใช้โปรแกรม Thai school lunch ในการจัดรายการอาหารทำให้นักเรียนได้รับสารอาหารที่ครบถ้วน

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    เป็นโรงเรียนขนาดเล็กมีนักเรียนตั้งแต่ชั้นอนุบาลถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เท่านั้น

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

    ผู้ปกครองนักเรียนนำพืชผักมาจำหน่ายให้สหกรณ์เพื่อให้แม่ครัวนำไปประกอบอาหารให้กับนักเรียน

    สอบถามจากแม่ครัว

    โรงเรียนจะดำเนินการปลูกผัก บำรุงดินให้มีคุณภาพเพื่อให้ได้ผักที่ปลอดสารพิษมาจำหน่ายให้กับสหกรณ์โรงเรียนในปริมาณที่เพียงพอต่อความต้องการในการประกอบอาหารให้แก่นักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

    -

    -

    -

    4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

    โรงเรียนใช้โปรแกรม Thai school lunch ในการจัดอาหารแต่ละมื้อให้นักเรียน

    รายการอาหารจากโปรแกรม Thai school lunch

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

    มีการวัดน้ำหนัก ส่วนสูงนักเรียนเทอมละ 2 ครั้ง

    เอกสารชั้นเรียนการชั้งน้ำหนัก ส่วนสูงเด็ก ดูจากข้อมูลนักเรียนใน DMC

    แก้ไขและติดตามภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน

    3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

    สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

    ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/22562 1/12562 1/22562 2/1
    เตี้ย 11.83 11.83% 11.83 11.83% 17.02 17.02% 10.53 10.53% 10.20 10.20% 8.25 8.25% 7.29 7.29% 8.33 8.33% 8.82 8.82% 5.94 5.94% 5.77 5.77% 5.94 5.94% 5.71 5.71% 5.83 5.83% 5.77 5.77% 7.69 7.69% 5.31 5.31% 5.36 5.36% 9.65 9.65%
    เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 11.83 11.83% 11.83 11.83% 17.02 17.02% 11.58 11.58% 11.22 11.22% 13.40 13.40% 12.50 12.50% 11.46 11.46% 12.75 12.75% 8.91 8.91% 10.58 10.58% 9.90 9.90% 9.52 9.52% 9.71 9.71% 10.58 10.58% 12.50 12.50% 11.50 11.50% 11.61 11.61% 16.67 16.67%
    ผอม 22.58 22.58% 12.90 12.90% 14.74 14.74% 11.58 11.58% 7.14 7.14% 3.09 3.09% 6.25 6.25% 6.25 6.25% 4.90 4.90% 4.90 4.90% 3.85 3.85% 4.95 4.95% 3.81 3.81% 4.85 4.85% 4.81 4.81% 3.85 3.85% 4.42 4.42% 3.57 3.57% 2.63 2.63%
    ผอม+ค่อนข้างผอม 22.58 22.58% 12.90 12.90% 17.89 17.89% 15.79 15.79% 10.20 10.20% 10.31 10.31% 10.42 10.42% 9.38 9.38% 8.82 8.82% 7.84 7.84% 5.77 5.77% 6.93 6.93% 9.52 9.52% 11.65 11.65% 8.65 8.65% 7.69 7.69% 11.50 11.50% 10.71 10.71% 8.77 8.77%
    อ้วน 15.05 15.05% 13.98 13.98% 12.63 12.63% 12.63 12.63% 11.22 11.22% 11.34 11.34% 11.46 11.46% 11.46 11.46% 7.84 7.84% 6.86 6.86% 10.58 10.58% 11.88 11.88% 13.33 13.33% 9.71 9.71% 8.65 8.65% 10.58 10.58% 9.73 9.73% 9.82 9.82% 9.65 9.65%
    เริ่มอ้วน+อ้วน 15.05% 15.05% 15.05% 15.05% 14.74% 14.74% 13.68% 13.68% 18.37% 18.37% 16.49% 16.49% 16.67% 16.67% 16.67% 16.67% 16.67% 16.67% 14.71% 14.71% 15.38% 15.38% 14.85% 14.85% 18.10% 18.10% 13.59% 13.59% 12.50% 12.50% 15.38% 15.38% 14.16% 14.16% 14.29% 14.29% 11.40% 11.40%
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

    โรงเรียนมีการวัดน้ำหนัก ส่วนสูงนักเรียนเพื่อติดตามภาวะอ้วน สำหรับนักเรียนอ้วนจะมีกิจกรรมออกกำลังกายช่วงเช้า โรงเรียนมีอุปกรณ์ออกกำลังกายให้นักเรียนออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

    ภาพถ่ายการออกกำลังกาย

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

    โรงเรียนได้รับงบประมาณในการแก้ปัญหานักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ นักเรียนได้รับประทานอาหารเสริมที่ครบถ้วนทำให้จำนวนนักเรียนผอมลดลง

    หนังสือแจ้งจัดสรรงบประมาณนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ จาก สพฐ.

    นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

    โรงเรียนได้รับงบประมาณในการแก้ปัญหานักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ นักเรียนทุกคนดื่มนม นักเรียนได้รับประทานอาหารเสริมนมทุกวันทำให้นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์

    ภาพถ่ายการดื่มนม, โครงการนมโรงเรียน

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

    โรงเรียนมีการคัดกรองนักเรียนอ้วน เตี้ย ผอม และจัดอาหารนมเสริมให้กับนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการเป็นรายบุคคลและจัดสรรตามงบประมาณของ สพฐ.

    หนังสือแจ้งจัดสรรงบประมาณนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ จาก สพฐ.

    ไม่มีนักเรียนที่มีภาวะุทุพโภชนาการ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

    ผู้ปกครองได้ช่วยในเรื่องการเลือกปรุงอาหารที่ถูกสุขลักษณะ และมีประโยชน์ เข้มงวดและส่งเสริมให้นักเรียนรับประทานอาหารที่ดี มีประโยชน์ และดื่มนมทุกวัน

    สอบถามจากผู้ปกครองและนักเรียน หลักฐานจากการวัดน้ำหนัดส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

    โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลได้เข้ามาให้ความรู้และตรวจสุขภาพให้กับนักเรียนร่วมกับแกนนำนักเรียน โรงเรียนได้ให้คำแนะนำกับโรงเรียนในเครือข่ายในการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใส

    หมายเหตุ *

    • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    โรงเรียนบ้านวังประจบ จังหวัด ตาก

    รหัสโครงการ ศรร.1111-020

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวเฉลิมลักษณ์ เนื้อไม้ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด