ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนรวมไทยพัฒนา 6


“ โรงเรียนรวมไทยพัฒนา 6 ”

19/99 หมู่ 13 ตำบลช่องแคบ อำเภอพบพระ จังหวัดตาก 63160

หัวหน้าโครงการ
นายวิชิต ศรีจันทร์ตรา

ชื่อโครงการ โรงเรียนรวมไทยพัฒนา 6

ที่อยู่ 19/99 หมู่ 13 ตำบลช่องแคบ อำเภอพบพระ จังหวัดตาก 63160 จังหวัด ตาก

รหัสโครงการ ศรร.1112-022 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.22

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2016 ถึง 30 มีนาคม 2017


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนรวมไทยพัฒนา 6 จังหวัดตาก" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 19/99 หมู่ 13 ตำบลช่องแคบ อำเภอพบพระ จังหวัดตาก 63160

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนรวมไทยพัฒนา 6 ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนรวมไทยพัฒนา 6



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนรวมไทยพัฒนา 6 " ดำเนินการในพื้นที่ 19/99 หมู่ 13 ตำบลช่องแคบ อำเภอพบพระ จังหวัดตาก 63160 รหัสโครงการ ศรร.1112-022 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2016 - 30 มีนาคม 2017 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนรวมไทยพัฒนา 6 เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 368 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้
โรงเรียนรวมไทยพัฒนา 6 จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการแล้วและในปีที่ 2 โรงเรียนคาดหวังที่จะดำเนินการต่อไปเพื่อให้ดียิ่งขึ้นโดยจะมีการขยายผลโครงการลงสู่ชุมชนให้ผู้ปกครองได้เห็นคุณค่าของโภชนาการที่ เพื่อบุตรหลานของตนเอง จะได้มีคุณภาพชีวิตที่ดีสุขภาพดีสมองดี เหมาะสมกับวัยเพื่อพัฒนาให้เป็นบุคลากรที่ดีของประเทศชาติต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย รวมทั้งมีทักษะในการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริง
  2. เพื่อให้ครู บุคลากรในโรงเรียนมีทักษะความรู้เกี่ยวกับการจัดอาหารตามหลักโภชนาการได้อย่างถูกต้อง สามารถถ่ายทอดความรู้สู่ผู้ปกครองและชุมชนได้
  3. เพื่อขยายผลให้ผู้ปกครองและคนในชุมชนเกิดการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานเด็กไทยแก้มใส

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนได้รับสารอาหารครบ 5 หมู่ อาหารเสริม อย่างมีคุณภาพ มีภาวะโภชนาการสมวัย
    2. นักเรียนสามารถแปรรูปผลผลิต เป็นอาหารเสริมให้กับผู้ปกครองในชุมชนและสังคมได้
    3. นักเรียนมีความรู้ในการผลิต การจำหน่าย สามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดให้กับผู้ปกครอง และชุมชนได้
    4. ได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครอง ชุมชน มีส่วนร่วมกิจกรรมในโครงการและได้รับความรู้เกี่ยวกับโภชนาการ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
    5. นักเรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
    6. สร้างเสริมสัมพันธภาพที่ดี มีความสามัคคี ระหว่างโรงเรียน ชุมชน ผู้ปกครอง และนักเรียน
    7. นักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. เผยแพร่ทางสื่อออนไลน์

    วันที่ 2 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. วางแผนการดำเนินงาน
    2. จัดทำคำสั่งมอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบ
    3. จัดเก็บรูปภาพกิจกรรมต่าง ๆ ในโครงการเด็กไทยแก้มใสและเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ เฟซบุ๊ค และแฟนเพจเฟซบุ๊คของโรงเรียน
    4. นำผลการปฏิบัติงานมาสรุปและปรับปรุง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและสังคมได้รับความรู้เกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใสผ่านทางสื่อออนไลน์

     

    2 0

    2. อบรมพัฒนาศักยภาพครู

    วันที่ 28 พฤษภาคม 2016 เวลา 08:30 - 16.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วันที่ 28 พฤษภาคม 2559 1. ลงทะเบียน 2. จัดเตรียมเอกสารการอบรม 3. อบรมพัฒนาบุคลากร
    - คู่มือการใช้งานระบบติดตามโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสแบบออนไลน์ - ระบบเฝ้าระวังโภชนาการ

    วันที่ 29 พฤษภาคม 2559 1. ลงทะเบียน 2. เตรียมเอกสารการอบรม - การใช้โปรแกรม Thai School Lunch

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะครูให้ความสนใจในโครงการเด็กไทยแก้มใสอย่างดีมาก และเข้าร่วมประชุมตามเป้าหมายอย่างครบถ้วน และรับฟังการประชุม ชี้แจงรายเอียดเกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใส โดย 1. นางกรรณิการ์ สิทธิโสภณ ผู้อำนวยการโรงเรียนรวมไทยพัฒนา 6
    2. นางสาวสุปราณีพนะสันต์ 3. นายสุรพงษ์ศรีพรม ให้คณะครูรับชม VTR เรื่อง เปิดตัวโครงการเด็กไทยแก้มใสปี1/2557และ VTR เรื่อง 8 แนวทางสร้างเด็กไทยมีคุณภาพ โครงการเด็กไทยแก้มใส เพื่อให้ทราบความเป็นมาของโครงการ และรับชม VTR โครงการเด็กไทยแก้มใส ปี1 ของโรงเรียนรวมไทยพัฒนา 6 จากนั้น ดำเนินการอบรมคู่มือการใช้งานระบบติดตามโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสแบบออนไลน์ ระบบเฝ้าระวังโภชนาการการใช้โปรแกรม Thai School Lunch ซึ่งการอบรมเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและเป็นที่พึงพอใจ

     

    16 16

    3. ประชุมผู้ปกครอง

    วันที่ 3 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. วางแผนการดำเนินงานระหว่างครูผู้รับผิดชอบโครงการ
    2. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งมอบหมาย
    3. จัดทำหนังสือเชิญผู้ปกครองนักเรียน
    4. เตรียมเอกสารการประชุมสถานที่ประชุม อาหารกลางวัน อาหารว่าง
    5. ประชุม เพื่อสร้างความเข้าใจในการดำเนินการในโครงการเด็กไทยแก้มใส มีผู้ปกครองเข้าร่วมประชุม จำนวน 43 คน โดยมีวาระการพูดคุย เรื่อง ความเป็นมาและความสำคัญของโครงการเด็กไทยแก้มใส

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้ปกครองให้ความสนใจในโครงการเด็กไทยแก้มใสอย่างดีมาก และเข้าร่วมประชุมตามเป้าหมายอย่างครบถ้วน และรับฟังการประชุม ชี้แจงรายเอียดเกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใส โดย นางกรรณิการ์ สิทธิโสภณ ผู้อำนวยการโรงเรียนรวมไทยพัฒนา 6 ผู้อำนวยการได้ให้ผู้ปกครองรับชม VTR เรื่อง เปิดตัวโครงการเด็กไทยแก้มใสปี1/2557และ VTR เรื่อง 8 แนวทางสร้างเด็กไทยมีคุณภาพ โครงการเด็กไทยแก้มใส เพื่อให้ทราบความเป็นมาของโครงการ และรับชม VTR โครงการเด็กไทยแก้มใส ปี1 ของโรงเรียนรวมไทยพัฒนา 6จากนั้นผู้ปกครองและโรงเรียนวางแผนร่วมกันเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมต่างๆในโครงการ ซึ่งการประชุมเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและเป็นที่พึงพอใจ

     

    8 51

    4. อบรมพัฒนาขยายผลให้ผู้ปกครอง

    วันที่ 4 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เชิญผู้ปกครองเข้าร่วมอบรม
    2. ลงทะเบียน อบรม 3 วันดังนี้ วันที่ 3-4 กันยายน 2559  อบรมเรื่องโปรแกรม Thai School Lunch และการจัดอาหาร  วันที่ 5 กันยายน 2559 อบรมเรื่อง ระบบเฝ้าระวังโภชนาการ
    3. สรุปผลการปฏิบัติงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้ปกครองนักเรียนให้ความสนใจ โครงการเด็กไทยแก้มใสอย่างมากและเข้าร่วมอบรมตามเป้าหมายอย่างครบถ้วนและปฏิบัติจริง ชี้แจง รายละเอียดเกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใส
    โดย 1. นางกรรณิการ์ สิทธิโสภณ  2. นางสาวสุปราณี  พนะสันต์  3. นายสุรพงษ์ ศรีพรม โดยวันที่ 3-4 กันยายน 2559  ผู้ปกครองจำนวน 32 คน ชม VTR เรื่อง  8 แนวทางสร้างเด็กไทยมีคุณภาพ โครงการเด็กไทยแก้มใส เพื่อให้ทราบความเป็นมาของโครงการ และรับชม VTR โครงการเด็กไทยแก้มใส ปี 1 ของโรงเรียนรวมไทยพัฒนา 6 จากนั้น จากนั้นดำเนินการอบรมเรื่อง โปรแกรม Thai School Lunch และการจัดอาหาร ที่เหมาะสมกับเด็กในแต่ละวัย ใช้เวลาในการอบรม 2 วัน และวันที่ 5 กันยายน 2559 ผู้กครองอบรมเรื่องระบบเฝ้าระวังโภชนาการ เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องสุขภาพอนามัย การรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ เพื่อให้เกิดทักษะความรู้โดยเริ่มจากโรงเรียน  ครอบครัว สู่ชุมชนอย่างถาวร 

     

    2 34

    5. ผู้ปกครองเรียนรู้การจัดอาหารให้เด็กวัยเรียน ครั้งที่ 1

    วันที่ 7 กันยายน 2016 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เชิญผู้ปกครองปฏิบัติการประกอบอาหารสำหรับเด็กวัยเรียน ตามโปรแกรม Thai School lunch โดยมีผู้ปกครองมาเรียนรู้การประกอบอาหาร วันละ 6 คน
    จัดกิจกรรมในวัน จันทร์พุธและ ศุกร์ ของแต่ละสัปดาห์ โดยใช้โปรแกรมจัดอาหาร ในระดับอนุบาล3 - 5 ปี ประชุมจำนวน 10 ครั้ง ดังรายละเอียด

    • ครั้งที่ 1 วันที่ 7 กันยายน 2559 สำรับอาหารวันที่ 1 ไข่ลูกเขย
    • ครั้งที่ 2 วันที่ 9 กันยายน 2559 สำรับอาหารวันที่ 2 ข้าวผัดสามสี
    • ครั้งที่ 3 วันที่ 12 กันยายน 2559 สำรับอาหารวันที่ 3 ไข่ลูกเขย
    • ครั้งที่ 4 วันที่ 14 กันยายน 2559 สำรับอาหารวันที่ 4 ก๋วยเตี๋ยวเส้นใหญ่ผัดซีอิ้ว
    • ครั้งที่ 5 วันที่ 16 กันยายน 2559 สำรับอาหารวันที่ 5 ข้าวมันไก่
    • ครั้งที่ 6 วันที่ 19 กันยายน 2559 สำรับอาหารวันที่ 6 ข้าวหมูแดง
    • ครั้งที่ 7 วันที่ 21 กันยายน 2559 สำรับอาหารวันที่ 7 ไข่ตุ๋นทรงเครื่อง
    • ครั้งที่ 8 วันที่ 23 กันยายน 2559 สำรับอาหารวันที่ 8 ก๋วยเตียวผัดไทย
    • ครั้งที่ 9 วันที่ 26 กันยายน 2559 สำรับอาหารวันที่ 9 ต้มเลือดหมู ตำลึง ถั่วงอก
    • ครั้งที่ 10 วันที่ 28 กันยายน 2559 สำรับอาหารวันที่ 10 ข้าวคลุกกะปิ เพื่อให้ความรู้เรื่องคุณค่าทางโภชนาการ และสามารถทำอาหารได้เองที่บ้าน อย่างถูกต้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผู้ปกครองได้เรียนรู้เมนูอาหารแต่ละอย่างว่ามีคุณค่าทางโภชนาการ ดังนี้ 1 ไข่ลูกเขย 2 ข้าวผัดสามสี 3 ไข่ลูกเขย4 ก๋วยเตี๋ยวเส้นใหญ่ผัดซีอิ้ว 5 ข้าวมันไก่ 6 ข้าวหมูแดง 7 ไข่ตุ๋นทรงเครื่อง 8 ก๋วยเตียวผัดไทย 9 ต้มเลือดหมู ตำลึง ถั่วงอก 10 ข้าวคลุกกะปิ ผู้ปกครองที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้รับความรู้ และสามารถปฏิบัติการประกอบอาหารได้จริงตามสำรับที่ทางโรงเรียนจัดกิจกรรมการประกอบอาหาร คิดเป็นร้อยละ 100 ผู้ปกครองเห็นความสำคัญของการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ และครบถ้วนตามคุณค่าทางโภชนาการ และนำกลับไปปฏิบัติจริงในชีวิตประจำวัน

     

    7 7

    6. ผู้ปกครอง ครู นักเรียนแกนนำเยี่ยมบ้าน ครั้งที่ 1 ก่อนทำโครงการ

    วันที่ 12 กันยายน 2016 เวลา 16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมการดำเนินงาน
    2. แบ่งเขตพื้นที่ครูรับผิดชอบในการออกเยี่ยมบ้าน จำนวน 4 หมู่บ้าน
    3. ออกเยี่ยมบ้าน(ตอนเลิกเรียน) นำน้ำข้าวกล้องให้ผู้สูงอายุดื่ม และให้ความรู้เกี่ยวกับ โครงการเด็กไทยแก้มใส ภาวะโภชนาการ การรับประทานอาหารที่ถูกหลัก 5 หมู่
    4. สรุปผลการเยี่ยมบ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      ผู้ปกครองได้รับความรู้เกี่ยวกับ โครงการเด็กไทยแก้มใส ภาวะโภชนาการ การรับประทานอาหารที่ถูกหลัก 5 หมู่ และสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม

     

    220 220

    7. ผลิตน้ำข้าวกล้องเสริมสร้างสุขภาพ

    วันที่ 14 กันยายน 2016 เวลา 12:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กิจกรรมน้ำข้าวกล้อง มีขั้นตอนในการจัดกิจกรรมดังนี้ มีการวางแผนการดำเนินงาน ประชุมนักเรียน และให้นักเรียนจัดเตรียมวัสดุ-อุปกรณ์ในการทำน้ำข้าวกล้อง และผลิตน้ำข้าวกล้องซึ่งครูที่ปรึกษาจะคอยให้คำแนะนำในการทำกิจกรรมจากนั้นจะผลิตน้ำข้าวกล้องสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ประมาน 20 ครั้ง/ภาคเรียนให้กับนักเรียนโรงเรียนรวมไทยพัฒนา 6 รับประทานพร้อมกับอาหารกลางวัน และ นำน้ำข้าวกล้องไปแจกจ่ายให้กับชุมชน เดือนละ 1 ครั้ง ประมาน 4 ครั้ง/ภาคเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในการจัดกิจกรรมน้ำข้าวกล้องเป็นกิจกกรมเพิ่มเติมจากโครงการยุวพอเพียงเพื่อชีวิตที่เพียงพอ ซึ่งทางโรงเรียนงได้จัดกิจกรรมน้ำข้าวกล้อง เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักการช่วยเหลือผู้อื่น มีจิตอาสา เละเพื่อเป็นการเรียนรู้การทำงาน เมื่อนักเรียนพ้นวัยศึกษาเล่าเรียน จะได้รู้จักการใช้ชีวิตแบบพอเพียงได้เป็นอย่างดี โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้
    ๑.เพื่อนักเรียนได้เรียนรู้การใช้ชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๒.เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะในการประกอบอาชีพ ๓.เพื่อให้นักเรียนรู้จักคุณค่าของชีวิตและการหาเลี้ยงชีพด้วยอาชีพสุจริต ๔.เพื่อให้นักเรียนรู้จักการทำงานเป็นกลุ่ม มีความอดทนและคิดแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง และผลที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมน้ำข้าวกล้องคือ ๑. นักเรียนได้รับประทานน้ำข้าวกล้องที่มีประโยชน์โดยนักเรียนได้รับประทานพร้อมกับอาหารกลางวัน สัปดาห์ละ ๑ ครั้ง๒.มีทักษะในการทำผลิตภัณฑ์ขาย ๓.ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ๔.สานสัมพันธ์กับครอบครัวและบุคคลรอบข้างโดยจะนำน้ำข้าวกล้องไปแจกจ่ายให้กับชุมชน เดือนละ ๑ ครั้ง

     

    276 298

    8. ประชุมจัดทำรายงานความก้าวหน้า

    วันที่ 17 ตุลาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ครู 2 ท่าน คือ นางสาวสุปราณี พนะสันต์และนางสาวกฤษณา ยศธิวงค์  เข้าร่วมประชุมจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1 ณ โรงแรมเดอะปาร์ค  จังหวัดเชียงใหม่
    ระหว่างวันที่ 17 ตุลาคม 2559

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รับความรู้เกี่ยวกับการจัดทำรายงานการเงิน งวดที่ 1 การบันทึกรายงานการเงิน การจัดเก็บเอกสารประกอบการใช้จ่ายเงินในโครงการที่ถูกต้องตามระเบียบของ สสส. และการรายงานต่างๆผ่านระบบติดตามฯ

     

    2 2

    9. ผู้ปกครองเรียนรู้การจัดอาหารให้เด็กวัยเรียน ครั้งที่ 2

    วันที่ 14 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เชิญผู้ปกครองปฏิบัติการประกอบอาหารสำหรับเด็กวัยเรียน ตามโปรแกรม Thai School lunch โดยมีผู้ปกครองมาเรียนรู้การประกอบอาหาร วันละ 6 คน
    จัดกิจกรรมในวัน จันทร์พุธและ ศุกร์ ของแต่ละสัปดาห์ โดยใช้โปรแกรมจัดอาหาร ในระดับอนุบาล3 - 5 ปี ประชุมจำนวน 6 ครั้ง ดังรายละเอียด โดยคณะครูผู้รับผิดชอบโครงการแนะนำเรื่องสารอาหารที่เด็กควรได้รับตามวัย ตลอดจนแนะนำในการใช้เครื่องปรุงรสที่ถูกสุขลักษณะ
    - ครั้งที่ 1 วันที่ 23 มกราคม 2560 สำรับอาหารวันที่ 1 ราดหน้า - ครั้งที่ 2 วันที่ 25 มกราคม 2560 สำรับอาหารวันที่ 2 แกงจืดไข่น้ำ - ครั้งที่ 3 วันที่ 27 มกราคม 2560 สำรับอาหารวันที่ 3 ต้มข่าไก่ใส่เลือด - ครั้งที่ 4 วันที่ 30 มกราคม 2560 สำรับอาหารวันที่ 4 ไก่ทอดกระเทียม - ครั้งที่ 5 วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 สำรับอาหารวันที่ 5 ข้าวผัดไข่ สาคูข้าวโพด - ครั้งที่ 6 วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2560 สำรับอาหารวันที่ 6 ผัดเปรี้ยวหวาน เพื่อให้ความรู้เรื่องคุณค่าทางโภชนาการ และสามารถทำอาหารได้เองที่บ้าน อย่างถูกต้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผู้ปกครองได้เรียนรู้เมนูอาหารแต่ละอย่างว่ามีคุณค่าทางโภชนาการ ดังนี้ 1ราดหน้า 2แกงจืดไข่น้ำ  3 ต้มข่าไก่ใส่เลือด 4ไก่ทอดกระเทียม  5ข้าวผักไข่ 6ผัดเปรี้ยวหวาน ผู้ปกครองที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้รับความรู้ และสามารถปฏิบัติการประกอบอาหารได้จริงตามสำรับที่ทางโรงเรียนจัดกิจกรรมการประกอบอาหาร คิดเป็นร้อยละ 100 ผู้ปกครองเห็นความสำคัญของการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ และครบถ้วนตามคุณค่าทางโภชนาการ และนำกลับไปปฏิบัติจริงในชีวิตประจำวัน

     

    7 0

    10. น้ำนมข้าวโพด บำรุงกำลัง ครั้งที่ 1

    วันที่ 4 มกราคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.มีการวางแผนการดำเนินงาน ประชุมนักเรียน
    2. ครูและนักเรียนจัดหาวัสดุ-อุปกรณ์ในการทำน้ำข้าวโพด 3.เตรียมวัสดุ-อุปกรณ์ในการทำน้ำข้าวโพด 4. ผลิตน้ำข้าวโพดซึ่งครูที่ปรึกษาจะคอยให้คำแนะนำในการทำกิจกรรม 5. จากนั้นจะผลิตน้ำข้าวโพดสัปดาห์ละ 2 ครั้ง ให้กับนักเรียนโรงเรียนรวมไทยพัฒนา 6 รับประทานพร้อมกับอาหารกลางวัน
    6. นำน้ำข้าวโพดไปแจกจ่ายให้กับชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในการจัดกิจกรรมน้ำข้าวโพดโรงเรียนได้จัดทำ เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักการช่วยเหลือผู้อื่น มีจิตอาสา เละเพื่อเป็นการเรียนรู้การทำงาน เมื่อนักเรียนพ้นวัยศึกษาเล่าเรียน จะได้รู้จักการใช้ชีวิตแบบพอเพียงได้เป็นอย่างดี โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1.เพื่อนักเรียนได้เรียนรู้การใช้ชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2.เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะในการประกอบอาชีพ 3.เพื่อให้นักเรียนรู้จักคุณค่าของชีวิตและการหาเลี้ยงชีพด้วยอาชีพสุจริต 4.เพื่อให้นักเรียนรู้จักการทำงานเป็นกลุ่ม มีความอดทนและคิดแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง และผลที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมน้ำข้าวโพดคือ 1. นักเรียนได้รับประทานน้ำข้าวโพดที่มีประโยชน์โดยนักเรียนได้รับประทานพร้อมกับอาหารกลางวัน สัปดาห์ละ 2 ครั้ง 2.มีทักษะในการทำผลิตภัณฑ์ขาย 3.ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 4.สานสัมพันธ์กับครอบครัวและบุคคลรอบข้างโดยจะนำน้ำข้าวโพดไปแจกจ่ายให้กับชุมชน

     

    276 310

    11. จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้

    วันที่ 10 มกราคม 2017 เวลา 07:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. วางแผนการดำเนินงาน
    2. จัดทำคำสั่งครูผู้รับผิดชอบ
    3. ออกแบบห้องศูนย์การเรียนรู้
    4. จัดหาสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ ในการจัดห้องศูนย์การเรียนรู้
    5. จัดหาสื่อเพิ่มเติมจากหน่วยงานอื่นๆ
    6. ประชาสัมพันธ์ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และเครือข่ายสถานศึกษาเข้ามาใช้ห้องศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส
    7. สรุปผลการดำเนินงานและนำมาปรับปรุง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนให้ความสนใจและเข้ามาใช้เป็นแหล่งความรู้ในเรื่องเกี่ยวกับโภชนาบัญญัติ ทำให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการกินอย่างไรให้มีประโยชน์และกินอย่างไรให้โทษแก่ร่างกาย
    2. ครูใช้เป็นห้องเรียนในการจัดการเรียนรรู้รายวิชาต่าง ๆ เช่น การจัดการเรียนรู้ในระดับปฐมวัย หน่วย ผัก และผลไม้ การจัดการเรียนรู้อาหาร 5 หมู่ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 2 หรือวัยรุ่นกับโภชนาการเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นต้น
    3. ผู้ปกครอง ชุมชน ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับโภชนบัญญัติ สามารถนำความรู้ไปจัดอาหารที่มีประโยชน์ครบถ้วนให้กับนักเรียนและสมาชิกในครอบครัว

     

    373 272

    12. น้ำนมข้าวโพด บำรุงกำลัง ครั้งที่ 2

    วันที่ 17 มกราคม 2017 เวลา 12:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.มีการวางแผนการดำเนินงาน ประชุมนักเรียน 2.ครูและนักเรียนจัดหาวัสดุในการทำน้ำนมข้าวโพด 3.เตรียมวัสดุ-อุปกรณ์ในการทำน้ำนมข้าวโพด 4. ผลิตน้ำนมข้าวโพดซึ่งครูที่ปรึกษาจะคอยให้คำแนะนำในการทำกิจกรรม 5. ผลิตน้ำนมข้าวโพดสัปดาห์ละ 2 ครั้ง ให้กับนักเรียนโรงเรียนรวมไทยพัฒนา 6 รับประทานพร้อมกับอาหารกลางวัน 6.นำน้ำข้าวโพดไปแจกจ่ายให้กับชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในการจัดกิจกรรมน้ำนมข้าวโพดโรงเรียนได้จัดทำ เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักการช่วยเหลือผู้อื่น มีจิตอาสา เละเพื่อเป็นการเรียนรู้การทำงาน เมื่อนักเรียนพ้นวัยศึกษาเล่าเรียน จะได้รู้จักการใช้ชีวิตแบบพอเพียงได้เป็นอย่างดี โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1.เพื่อนักเรียนได้เรียนรู้การใช้ชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2.เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะในการประกอบอาชีพ 3.เพื่อให้นักเรียนรู้จักคุณค่าของชีวิตและการหาเลี้ยงชีพด้วยอาชีพสุจริต 4.เพื่อให้นักเรียนรู้จักการทำงานเป็นกลุ่ม มีความอดทนและคิดแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง และผลที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมน้ำนมข้าวโพดคือ 1. นักเรียนได้รับประทานน้ำนมข้าวโพดที่มีประโยชน์โดยนักเรียนได้รับประทานพร้อมกับอาหารกลางวัน สัปดาห์ละ 2 ครั้ง 2.มีทักษะในการทำผลิตภัณฑ์ขาย 3.ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 4.สานสัมพันธ์กับครอบครัวและบุคคลรอบข้างโดยจะนำน้ำนมข้าวโพดไปแจกจ่ายให้กับชุมชน

     

    276 230

    13. ผู้ปกครอง ครู นักเรียนแกนนำเยี่ยมบ้าน ครั้งที่ 2 ระหว่างทำโครงการ

    วันที่ 19 มกราคม 2017 เวลา 16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมการดำเนินงาน
    2. แบ่งเขตพื้นที่ ที่ครูรับผิดชอบในการออกเยี่ยมบ้าน จำนวน 4 หมู่บ้าน
    3. ออกเยี่ยมบ้าน(ตอนเลิกเรียน) นำน้ำข้าวกล้อง /น้ำข้าวโพดให้ผู้สูงอายุดื่ม และให้ความรู้เกี่ยวกับโครงการศูนย์การเรียนรู้้เด็กไทยแก้มใส ภาวะโภชนาการ การรับประทานอาหารที่ถูกหลัก 5 หมู่
    4. สรุปผลการเยี่ยมบ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้ปกครองได้รับความรู้เกี่ยวกับ โครงการศูนย์การเรียนรู้้เด็กไทยแก้มใส ภาวะโภชนาการ การรับประทานอาหารที่ถูกหลัก 5 หมู่ และสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างดี ถูกต้อง และอย่างเหมาะสม

     

    220 232

    14. เบิก-ถอน เงินเปิดบัญชี

    วันที่ 19 มกราคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เบิกเงินค่าเปิดบัญชี 500 บาท คืนโรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้เบิกเงินค่าเปิดบัญชี จำนวนเงิน 500 บาท คืนโรงเรียนในวันที่ 19 มกราคม 2560

     

    1 1

    15. น้ำนมข้าวโพด บำรุงกำลัง ครั้งที่ 3

    วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.มีการวางแผนการดำเนินงาน ประชุมนักเรียน 2.ครูและนักเรียนจัดหาวัสดุในการทำน้ำนมข้าวโพด 3.เตรียมวัสดุ-อุปกรณ์ในการทำน้ำนมข้าวโพด 4. ผลิตน้ำนมข้าวโพดซึ่งครูที่ปรึกษาจะคอยให้คำแนะนำในการทำกิจกรรม 5. จากนั้นจะผลิตน้ำนมข้าวโพดสัปดาห์ละ 2 ครั้ง ให้กับนักเรียนโรงเรียนรวมไทยพัฒนา 6 รับประทานพร้อมกับอาหารกลางวัน 6. นำน้ำนมข้าวโพดไปแจกจ่ายให้กับชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในการจัดกิจกรรมน้ำนมข้าวโพดโรงเรียนได้จัดทำ เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักการช่วยเหลือผู้อื่น มีจิตอาสา เละเพื่อเป็นการเรียนรู้การทำงาน เมื่อนักเรียนพ้นวัยศึกษาเล่าเรียน จะได้รู้จักการใช้ชีวิตแบบพอเพียงได้เป็นอย่างดี โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1.เพื่อนักเรียนได้เรียนรู้การใช้ชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2.เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะในการประกอบอาชีพ 3.เพื่อให้นักเรียนรู้จักคุณค่าของชีวิตและการหาเลี้ยงชีพด้วยอาชีพสุจริต 4.เพื่อให้นักเรียนรู้จักการทำงานเป็นกลุ่ม มีความอดทนและคิดแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง และผลที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมน้ำข้าวโพดคือ 1. นักเรียนได้รับประทานน้ำข้าวโพดที่มีประโยชน์โดยนักเรียนได้รับประทานพร้อมกับอาหารกลางวัน สัปดาห์ละ 2 ครั้ง 2.มีทักษะในการทำผลิตภัณฑ์ขาย 3.ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 4.สานสัมพันธ์กับครอบครัวและบุคคลรอบข้างโดยจะนำน้ำข้าวโพดไปแจกจ่ายให้กับชุมชน

     

    276 230

    16. จัดนิทรรศการ

    วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. วางแผนการดำเนินงาน
    2. ออกแบบสื่อนิทรรศการ จัดบอร์ดนิทรรศการเกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใส แผ่นพับความรู้และเอกสารเกี่ยวกับโภชนบัญญัติ
    3. นำนิทรรศการเผยแพร่เพื่อให้ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน ได้รับชมกิจกรรมในโครงการเด็กไทยแก้มใส
    4. สรุปผลการดำเนินงานและนำมาปรับปรุง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ครูมีความรู้และทักษะเกี่ยวกับการจัดอาหารตามหลักโภชนาการ ทอดถ่ายความรู้ไปยังผู้ปกครองและชุมชนได้
    2. ผู้ปกครอง ชุมชน มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมโครงการเด็กไทยแก้มใส และนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน

     

    218 0

    17. ผู้ปกครอง ครู นักเรียนแกนนำเยี่ยมบ้าน ครั้งที่ 3 หลังทำโครงการ

    วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมการดำเนินงาน 2.แบ่งเขตพื้นที่ ที่คุณครูรับผิดชอบในการออกเยี่ยมบ้าน จำนวน 4 หมู่บ้าน 3.ออกเยี่ยมบ้าน (ตอนหลังเลิกเรียน) และน้ำข้าวข้าวโพด น้ำข้าวกล้องแจกให้กับผู้สูงอายุดื่ม และให้ความรู้กับผู้ปกครองเกี่ยวกับ โครงการศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส ภาวะโภชนาการ และการรับประทานอาหารที่ถูกหลัก 5หมู่
    2. สรุปผลการเยี่ยมบ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้ปกครองได้รับความรู้เกี่ยวกับโครงการศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส ภาวะโภชนาการ และการรับประทานอาหารที่ถูกหลัก 5หมู่ และสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้เป็นอย่างดี และอย่างเหมาะสมที่สูง 

     

    220 227

    18. กิจกรรมยืดกายขยายกล้ามเนื้อ

    วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชาสัมพันธ์ตอนเช้า(กิจกรรมหน้าเสาธง) 2.ครูผู้ดูแลไปสาธิตท่าพื้นฐานในการโหนบาร์คู่ในกับนักเรียนแต่ละชั้นในชั่วโมงพละศึกษา

    * วันอื่นๆ ครูผู้ดูแล และนักเรียนแกนนำพานักเรียนทั้งหมดไปโหนบาร์คู่เพื่อยืดกายขยายกล้ามเนื้อทุกวันก่อนเข้าห้องเรียน ใช้เวลาประมาณ 15-20 นาที

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เด็กได้ทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และมีพัฒนาการทางด้านร่างกายที่ดีขึ้น

     

    202 207

    19. ศึกษาดูงานนอกพื้นที่

    วันที่ 2 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ได้ศึกษาดูงานพื้นที่จริง โครงการเด็กไทยแก้ม ณ โรงเรียนแม่ระเมิง ซึ่งเป็นโรงเรียนที่ประสบความสำเร็จในกิจกรรมนี้ 2.ได้รับความรู้ และการแก้ปัญหา จากโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะครู ได้ศึกษาวิธีการปฏิบัติ รวมถึง การดำเนินงานในขั้นตอนต่างๆ ตลอดจนการความร่วมมือในการทำงานจากบุคลากรและหน่วยงานอื่นๆ

     

    16 16

    20. ล้างมือก่อนรับประทาน

    วันที่ 16 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. วางแแผนออกแบบ
    2. จ้างเหมาช่างทำการติดตั้งอ่างล้างมือพร้อมอุปกรณ์ประกอบการติดตั้ง
    3. ให้ความรู้และสร้างความตระหนักถึงความสำคัญของการล้างมือก่อนรับประทานอาหารทุกครั้ง
    4. สรุปและประเมินผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.นักเรียนมีที่ล้างมือที่สะดวกและถูกสุขลักษณะ 2.นักเรียนมีความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการล้างมือ 3.เกิดเป็นลักษณะนิสัยที่ดีแก่นักเรียน 4.นักเรียนมีสุขอนามัยที่ดีขึ้น

     

    20 222

    21. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ

    วันที่ 20 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ

     

    3 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย รวมทั้งมีทักษะในการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริง
    ตัวชี้วัด : นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย สามารถนำทักษะความรู้ในโรงเรียนไปใช้ได้กับชีวิตจริง

    มีการชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูง อย่างต่อเนื่องเป็นปัจจุบัน ทุกเดือน

    2 เพื่อให้ครู บุคลากรในโรงเรียนมีทักษะความรู้เกี่ยวกับการจัดอาหารตามหลักโภชนาการได้อย่างถูกต้อง สามารถถ่ายทอดความรู้สู่ผู้ปกครองและชุมชนได้
    ตัวชี้วัด : ครู บุคลากรในโรงเรียนมีทักษะความรู้เกี่ยวกับการจัดอาหารตามหลักโภชนาการได้อย่างถูกต้อง สามารถถ่ายทอดความรู้สู่ผู้ปกครองและชุมชนได้

    มีการอบรมให้ความรู้ครูก่อน จากนั้นครูทุกคนอบรมขยายผลให้ความรู้ผู้ปกครอง พร้อมทั้งออกเยี่ยมบ้านเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับสุขนิสัยการกิน และการจัดอาหารตามหลักโภชนา อย่างต่อเนื่อง

    3 เพื่อขยายผลให้ผู้ปกครองและคนในชุมชนเกิดการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานเด็กไทยแก้มใส
    ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองและคนในชุมชนให้ความร่วมมือในการดำเนินงานเด็กไทยแก้มใส

    ผู้ปกครองให้ความร่วมมือดีเยี่ยม เมื่อมีการประชุมหรือมีกิจกรรมผู้ปกครองก็เข้ามามีส่วนร่วมอย่างต่อเนื่อง

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย รวมทั้งมีทักษะในการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริง (2) เพื่อให้ครู บุคลากรในโรงเรียนมีทักษะความรู้เกี่ยวกับการจัดอาหารตามหลักโภชนาการได้อย่างถูกต้อง สามารถถ่ายทอดความรู้สู่ผู้ปกครองและชุมชนได้ (3) เพื่อขยายผลให้ผู้ปกครองและคนในชุมชนเกิดการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานเด็กไทยแก้มใส

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

    ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนรวมไทยพัฒนา 6

    รหัสโครงการ ศรร.1112-022 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.22 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 มีนาคม 2017

    วันที่เริ่มประเมิน

    1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    (ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    1. การเกษตรในโรงเรียน

    1) กิจกรรมเพาะถั่วงอก

    2) กิจกรรมข้าวกล้องดอย

    1) กิจกรรมเพาะถั่วงอก

    1.1 ล้างเมล็ดถั่วเขียวและแช่น้ำไว้ 1 คืน 1.2 นำถั่วเขียวที่่แช่น้ำขึ้นมาวางบนตระแกรงเพื่อเตรียมนำเข้าสู่กระบะเพาะถั่วงอก ที่มีระบบการเปิด-ปิดน้ำโดยอัตโนมัติ 1.3 นักเรียนติดตามการเจริญเติบโตของถั่วงอก 1.4 นักเรียนเก็บถั่วงอกที่ได้และนำส่งขายสหกรณ์

    2) กิจกรรมการปลูกและสีข้าวกล้องดอย กิจกรรมข้าวกล้องดอยเป็นกิจกรรมที่เริ่มตั้งแต่กระบวนการปลูกตลอดจนถึงการสีข้าว เพื่อนำมาจำหน่ายให้โครงการอาหารกลางวัน นอกจากนี้ยังนำไปจัดจำหน่ายให้กับชุมชน และหน่วยงานต่าง ๆ นำไปแปรรูปเป็นน้ำข้าวกล้องดอย ใช้เป็นอาหารว่างและของที่ระลึกสำหรับรับรองคณะผู้มาตรวจเยี่ยมโรงเรียนแทนการจัดซื้อจากร้านค้าข้างนอก และยังนำแจกจ่ายผู้ปกครอง

    1) กิจกรรมเพาะถั่วงอก

    นักเรียนและครูคิดค้นการประดิษฐ์เครื่องเพาะถั่วงอกจากอุปกรณ์ในท้องถิ่นเพื่อเพิ่มผลผลิตให้สามารถจำหน่ายในชุมชนได้

    2) กิจกรรมข้าวกล้องดอย ทำจำหน่ายให้ผ่านสหกรณ์สูโครงการอาหารกลางวันเพื่อให้นักเรียนได้รับสารอาหารที่มีประโยชน์อย่างต่อเนื่อง และจำหน่ายสู่ชุมชนเพื่อให้เกิดรายได้ระหว่างเรียนให้กับนักเรียน

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    2. สหกรณ์นักเรียน

    การดำเนินงานตามตัวชี้วัด

    ได้รับรางวัล โรงเรียนต้นแบบสหกรณ์โรงเรียน สพฐ รุ่นที่ 1 ประจำปี 2559

    พัฒนาระบบสหกรณ์นักเรียนอย่างต่อเนื่อง

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

    การจัดอาหารตามระบบ Thai school Lunch

    โรงเรียนมีการจัดส่งผลผลิตทางการเกษตรทุกอย่าง ผ่านสหกรณ์ และสหกรณ์ส่งต่อให้อาหารกลางวัน โดย

    ใช้โปรแกรม Thai school Lunch เพื่อคำนวนคุณค่าทางอาหาร โดยการจัดทำเป็นรายสัปดาห์ รายเดือนและรายเทอม เพื่อให้สามารถจัดอาหารได้อย่างต่อเนื่อง

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

    กิจกรรมยืดกายขยายกล้ามเนื้อ

    1. วิเคราะห์ผลการบันทึกภาวะโภชนาการ พบว่านักเรียนมีเด็กนักเรียนเตี้ยมากกว่าร้อยละ 10 ของจำนวนนักเรียนทั้งหมด
    2. วางแผนดำเนินการสร้างและการใช้งานเครื่องยืดกายขยายกล้ามเนื้อ
    3. บันทึกผลหลังดำเนินกิจกรรม
    4. สรุปผลและประเมินผล
    5. แก้ไขปรับปรุงการดำเนินงานกิจกรรม

    นำผลการบันทึกภาวะโภชนาการมาวิเคราะห์อย่างต่อเนื่อง และหาแนวทางแก้ไขต่อไปโดยใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์ที่สร้างขึ้นอย่างต่อเนื่อง

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

    1) กิจกรรมศึกษาแหล่งเรียนรู้สหกรณ์ชุมชน

    2) กิจกรรมค่ายเรียนรู้สหกรณ์

    1) กิจกรรมศึกษาแหล่งเรียนสหกรณ์ชุมชน
    ทางโรงเรียนรวมไทยพัฒนา 6 จะจัดให้มีการศึกษาแหล่งเรียนสหกรณ์ในชุมชน ในปีการศึกษา 2559 ทางโรงเรียนได้จัดให้คณะกรรมการสหกรณ์นักเรียนและนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาได้ศึกษาแหล่งเรียนรู้ที่สหกรณ์การเกษตร แม่ระมาด จำกัด เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และนำมาประยุกต์ใช้กับกิจกรรมสหกรณ์ในโรงเรียน

    2) กิจกรรมค่ายเรียนรู้สหกรณ์ ทางโรงเรียนรวมไทยพัฒนา 6 ได้จัดการเรียนรู้ค่ายสหกรณ์ โดยจัดให้เป็นฐานต่าง ๆ แต่ละจะมีกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับความหมายและการดำเนินการ ตลอดจนการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ

    1) กิจกรรมศึกษาแหล่งเรียนรู้สหกรณ์ในชุมชน ทางโรงเรียนมีแนวทางการพัฒนาต่อคือ ให้นักเรียนคณะกรรมการสหกรณ์รุ่นต่อไปได้ทำการทำศึกษาหาความรู้จากสหกรณ์ชุมชนต่อไป และนำมาอภิปรายร่วมกับครูผู้รับผิดชอบ เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินการตลอดไป และนำความรู้สู่ชุมชนเพื่อให้ชุมชนตระหนักและร่วมเป็นสมาชิกสหกรณ์ที่มีอยู่ในชุมชน และสหกรณ์โรงเรียน

    2) กิจกรรมค่ายเรียนรู้สหกรณ์ ทางโรงเรียนรวมไทยพัฒนา 6 จะนำผลสรุปกิจกรรมค่ายเรียนรู้สหกรณ์ มาจัดเตรียมการดำเนินการจัดกิจกรรมค่ายเรียนรู้สหกรณ์ในปีถัดไป เพราะสร้างความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานสหกรณ์โรงเรียน

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    9. อื่น ๆ

     

     

     

    2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

    1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

    1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลช่องแคบ
    2. โรงพยาบาลอำเภอพบพระ
    3. สหกรณ์การเกษตรพบพระ
    4. สหกรณ์การเกษตรแม่ระมาด
    5. สำนักงานสหกรณ์จังหวัดตาก

    2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

    1. ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ความร่วมมืออย่างดี
    2. สพฐ ให้การสนับสนุนกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน

    3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

    1.ผู้บริหาร 2.คุณครู 3.ผู้ปกครอง นักเรียน

    4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

    1.วางแผน 2.ประชุมดำเนินการ 3.ดำเนินการตามแผน 4.ติดตาม
    5.รายงาน ประเมินผล

    5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

    1. การจัดทำอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

    1.ผักบุ้ง 2.ผักกาดขาว 3.มะเขือเปราะ 4.มะละกอ

    1.ภาพถ่าย 2.บัญชีรับจ่าย

    พัฒนาอย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

    1.เลี้ยงไก่เนื้อ

    1.ภาพถ่าย 2.บัญชีรับจ่าย

    พัฒนาอย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

    ได้รับการจัดสรรงบประมาณจาก สพฐ. โดยจัดอาหารให้เด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำ ให้ได้รับอาหาร ในตอนเช้า

    1.ภาพถ่าย 2.หนังสือการจัดสรรงบประมาณ 3.เอกสารการจ่ายเงิน (ใบสำคัญรับเงิน)

    พัฒนาอย่างต่อเนื่อง

    5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

     

     

     

    3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

    สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

    ภาวะ2558 1/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/2
    เตี้ย 18.59 18.59% 15.00 15.00% 13.15 13.15% 9.91 9.91% 11.00 11.00% 7.88 7.88%
    เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 30.65 30.65% 26.00 26.00% 27.70 27.70% 21.23 21.23% 25.36 25.36% 10.84 10.84%
    ผอม 5.00 5.00% 5.97 5.97% 8.92 8.92% 4.69 4.69% 6.70 6.70% 7.77 7.77%
    ผอม+ค่อนข้างผอม 9.50 9.50% 13.43 13.43% 15.49 15.49% 9.86 9.86% 14.35 14.35% 10.68 10.68%
    อ้วน 2.50 2.50% 2.99 2.99% 1.41 1.41% 1.88 1.88% 1.44 1.44% 2.91 2.91%
    เริ่มอ้วน+อ้วน 8.50% 8.50% 6.97% 6.97% 4.23% 4.23% 5.16% 5.16% 4.78% 4.78% 6.80% 6.80%
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

    1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลช่องแคบ
    2. โรงพยาบาลอำเภอพบพระ
    3. สหกรณ์การเกษตรพบพระ
    4. สหกรณ์การเกษตรแม่ระมาด
    5. สำนักงานสหกรณ์จังหวัดตาก

    หมายเหตุ *

    • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    โรงเรียนรวมไทยพัฒนา 6 จังหวัด ตาก

    รหัสโครงการ ศรร.1112-022

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายวิชิต ศรีจันทร์ตรา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด