แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านห้วยสิงห์

ชุมชน 136/1 หมู่ 4 ตำบลแม่ยวม อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน

รหัสโครงการ ศรร.1113-012 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.12

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน พฤษภาคม 2559 ถึงเดือน กันยายน 2559

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงาน

วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 15.00 น น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ครูและนักเรียนได้รับมอบหมายในการดำเนินงานตามกิจกรรมโครงการศูนย์เรียนรู้ต้อนแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ประชุม ชี้แจงวางแผนการดำเนินงานตามกิจกรรมต่างๆ

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ประชุมวางแผนงานการดำเนินกิจกรรมต่างๆทั้ง 6 กิจกรรม
  2. สร้างความเข้าใจร่วมกันในการดำเนินกิจกรรม
  3. มอบหมายหน้าที่ให้กับครูผู้รับผิดชอบและมอบหมายให้นักเรียนดำเนินงานโดยมีครูเป็นที่ปรึกษา

 

15 24

2. ประชุมครูและบุคลากรทางการศึกษา

วันที่ 23 พฤษภาคม 2559 เวลา 15:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. นักเรียนโรงเรียนบ้านห้วยสิงห์  จำนวน  364  คน ร่วมเรียนรู้ตามกิจกรรมโครงการ
  2. คณะครู และบุคลากรในโรงเรียน จำนวน  27  คนให้ความสนใจและเข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการ
  3. นักเรียนได้เรียนรู้จากการปฎิบัติจริง

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบได้ชัดเจน ผู้เข้าร่วมประชุมตามกลุ่มเป้าหมายมาครบทุกคน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ชี้แจง อธิบาย ทำความเข้าใจ และสร้างแรงบันดาลใจในการดำเนินกิจกรรมศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ประชุมวางแผนงานการดำเนินกิจกรรมต่างๆทั้ง 6 กิจกรรม
  2. สร้างความเข้าใจร่วมกันในการดำเนินกิจกรรม
  3. มอบหมายหน้าที่ให้กับครูผู้รับผิดชอบและมอบหมายให้นักเรียนดำเนินงานโดยมีครูเป็นที่ปรึกษา

 

27 27

3. กิจกรรมเลี้ยงไก่พันธ์ไข่บนบ่อปลา

วันที่ 30 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. นักเรียนโรงเรียนบ้านห้วยสิงห์  จำนวน  364  คน ร่วมเรียนรู้ตามกิจกรรมโครงการ
  2. คณะครู และบุคลากรในโรงเรียน จำนวน  27  คนให้ความสนใจและเข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการ
  3. นักเรียนได้เรียนรู้จากการปฎิบัติจริง

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต

  1. นักเรียนแกนนำโครงการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่บนบ่อปลาจำนวน 20คนครูผู้รับผิดชอบโครงการ จำนวน 3 คน ร่วมกิจกรรมตางโครงการได้เป็นอย่างดีและต่อเนื่อง
  2. นักเรียนโรงเรียนบ้านห้วยสิงห์จำนวน374คน ร่วมเรียนรู้ตามกิจกรรมโครงการ
  3. คณะครู และบุคลากรในโรงเรียน จำนวน27คนให้ความสนใจและเข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการ
  4. ชุมชน องค์กรและหน่วยงานในชุมชน ให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการ

ผลลัพธ์

  1. สนับสนุนโครงการอาหารของนักเรียนโรงเรียนบ้านห้วยสิงห์ เพิ่มแหล่งอาหารโปรตีนให้กับนักเรียน
  2. ส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านการเกษตรให้กับนักเรียน โดยเฉพาะการเลี้ยงไก่ไข่ เพื่อเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคต
  3. ผสานความร่วมมือจากทุกๆฝ่าย ไม่ว่าจะเป็น นักเรียนชุมชน องค์กรและหน่วยงานในชุมชน ในการส่งเสริมการเรียนรู้ระหว่างกัน
  4. ส่งเสริมให้นักเรียนเรียนรู้จากสภาพจริงสามารถบูรณาการการเรียนรู้ได้หลายหลาย และเรียนรู้ได้รอบด้าน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

โครงการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่บนบ่อปลา เป็นโครงการหนึ่งที่โรงเรียนบ้านห้วยสิงห์ มุ่งจัดทำขึ้นเพื่อสนองตอบกับ กระแสพระราชดำรัสของ องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ที่พระองค์ทรงให้ไว้กับประชาชนชาวไทยได้น้อมนำไปปฏิบัติเพื่อการดำรงชีวิตอยู่อย่างพออยู่พอกิน โดยเล็งเห็นว่า การจัดทำโครงการดังกล่าวนี้ นอกจากจะได้รับประโยชน์โดยตรงจากการบริโภคไข่ไก่ เป็นแหล่งโปรตีนให้กับนักเรียนแล้ว ยังเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียน ที่ไม่ใช่เฉพาะการเรียนในห้องเรียน แต่สามารถเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ทุกที่ ทุกโอกาส อีกทั้งยังเป็นการผสานความร่วมมือระหว่างโรงเรียน ชุมชน ในการศึกษาหาความรู้ร่วมกัน เป็นแหล่งการเรียนรู้ทางด้านการเกษตรให้กับผู้สนใจทั้งนักเรียน ชุมชน ได้เป็นอย่างดีอีกด้วยโครงการดังกล่าวนี้จะเน้นการจัดการอย่างครบวงจรโดยมีกลุ่มแกนนำที่เลี้ยงไก่ทั้งหมด20คน ที่เป็นแกนนำในการทำกิจกรรมและเผยแพร่ความรู้ให้กับนักเรียนและผู้ที่สนใจ เน้นให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ โดยมีวิธีและขั้นตอนการทำกิจกรรม ดังนี้

  1. เตรียมการโดยการ ประชุมวางแผนร่วมกันระหว่าง ครูผู้รับผิดชอบโครงการ จำนวน 3 คน และนักเรียนแกนนำโครงการจำนวน20คนถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการ กิจกรรมตามโครงการเพื่อเตรียมจัดทำแผนปฏิบัติการ
  2. จัดทำแผนปฏิบัติการโครงการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่บนบ่อปลา
  3. ดำเนินงานตามโครงการ
  4. รวบรวมข้อมูลและประเมินผลการดำเนินงานตามโครงการ
  5. ปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
  6. สรุปและรายงานผลการดำเนินงานโครงการ
  7. ประเมินผลและเผยแพร่ผลการดำเนินงานสู่สาธารณชน ในลักษณะกิจกรรมต่างๆ

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. เตรียมการโดยการ ประชุมวางแผนร่วมกันระหว่าง ครูผู้รับผิดชอบโครงการ จำนวน 3 คน และนักเรียนแกนนำโครงการจำนวน20คนถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการ กิจกรรมตามโครงการเพื่อเตรียมจัดทำแผนปฏิบัติการ
  2. จัดทำแผนปฏิบัติการโครงการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่บนบ่อปลา
  3. ดำเนินงานตามโครงการ
  4. รวบรวมข้อมูลและประเมินผลการดำเนินงานตามโครงการ
  5. ปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
  6. สรุปและรายงานผลการดำเนินงานโครงการ
  7. ประเมินผลและเผยแพร่ผลการดำเนินงานสู่สาธารณชน ในลักษณะกิจกรรมต่างๆ

 

23 28

4. กิจกรรมเลี้ยงปลาน้ำจืด

วันที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. นักเรียนโรงเรียนบ้านห้วยสิงห์  จำนวน  364  คน ร่วมเรียนรู้ตามกิจกรรมโครงการ
  2. คณะครู และบุคลากรในโรงเรียน จำนวน  27  คนให้ความสนใจและเข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการ
  3. นักเรียนได้เรียนรู้จากการปฎิบัติจริง

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คณะครู โรงเรียน และชุมชน ร้อยละ80 ได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงร่วมกับผู้อื่นสามารถนำความรู้ที่ได้จากโครงการมาประยุกต์และปรับปรุงให้เหมาะกับสภาพพื้นที่ที่แตกต่างกันสามารถแปรรูปอาหารจากปลา เป็นการสร้างรายได้เสริมเกิดกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นระบบร่วมกันทั้งโรงเรียนและชุมชนและสามารถเลี้ยงปลาเพื่อเสริมสร้างรายได้และรู้จักอนุรักษ์พันธ์ปลาจากการลงมือปฏิบัติ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

คณะครู โรงเรียน นักเรียน และชุมชนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงร่วมกับผู้อื่นสามารถนำความรู้ที่ได้จากโครงการมาประยุกต์และปรับปรุงให้เหมาะกับสภาพพื้นที่ที่แตกต่างกันสามารถแปรรูปอาหารจากปลา เป็นการสร้างรายได้เสริมเกิดกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นระบบร่วมกันทั้งโรงเรียนและชุมชน

กิจกรรมที่ทำจริง

คณะครู โรงเรียน นักเรียน และชุมชนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงร่วมกับผู้อื่นสามารถนำความรู้ที่ได้จากโครงการมาประยุกต์และปรับปรุงให้เหมาะกับสภาพพื้นที่ที่แตกต่างกันสามารถแปรรูปอาหารจากปลา เป็นการสร้างรายได้เสริมเกิดกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นระบบร่วมกันทั้งโรงเรียนและชุมชน โดยโรงเรียนได้จัดซื้อพันธ์ปลา จำนวน 6000 ตัว เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาและเรียนรู้จากประสบการณ์จริงเรื่องการเลี้ยงปลาน้ำจืด เป็นการใช้พื้นที่ในโรงเรียนให้ได้ประโยชน์ทางการเกษตรอย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุดและเป็นอาหารเสริมโครงการอาหารกลางวัน

 

391 404

5. กิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษ

วันที่ 13 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. นักเรียนโรงเรียนบ้านห้วยสิงห์  จำนวน  364  คน ร่วมเรียนรู้ตามกิจกรรมโครงการ
  2. คณะครู และบุคลากรในโรงเรียน จำนวน  27  คนให้ความสนใจและเข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการ
  3. นักเรียนได้เรียนรู้จากการปฎิบัติจริง

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต (Output) โรงเรียนบ้านห้วยสิงห์มีผักไว้ประกอบอาหารและพืชผักมีจำหน่ายตลอดทั้งปี
ผลลัพธ์ (Outcome) นักเรียนได้ทำการเกษตรและนำความรู้ที่ได้ไปประกอบเป็นอาชีพเสริมระหว่างเรียนและช่วง ปิดภาคเรียนได้ และไม่ใช้ปุ๋ยเคมี

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

จัดการเรียนรู้ด้านการเกษตรในโรงเรียนโดยการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ เช่น ผักบุ้ง ผักกาด มะเขือและถั่วฝักยาว โดยใช้วิธีตามธรรมชาติในการเพาะปลูกและใช้ปุ๋ยคอกในการบำรุงพืชผักให้สมบูรณ์และไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ทำให้ได้พืชผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภคมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นเนื่องจากไม่มีการฉีดพ่นสารเคมี

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดการเรียนรู้ด้านการเกษตรในโรงเรียนโดยการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ เช่น ผักบุ้ง ผักกาด มะเขือและถั่วฝักยาว โดยใช้วิธีตามธรรมชาติในการเพาะปลูกและใช้ปุ๋ยคอกในการบำรุงพืชผักให้สมบูรณ์และไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ทำให้ได้พืชผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค มีสุขภาพอนามัยดีขึ้นเนื่องจากไม่มีการฉีดพ่นสารเคมี ส่งเสริมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน และนำผลผลิตขายต่อให้สหกรณ์โรงเรียนและสหกรณ์โรงเรียนก็จะนำผลผลิตของโรงเรียนนำเข้าสู่โครงการอาหารกลางวันซึ่งกิจกรรมการปลูกผักปลอดสารพิษของโรงเรียนบ้านห้วยสิงห์นั้นมีผักไว้ประกอบอาหารและพืชผักมีจำหน่ายตลอดทั้งปี

 

165 170

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 11 5                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 120,000.00 76,500.00                  
คุณภาพกิจกรรม 20 17                  

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. นัดตรวจโครงการฯ ทำรายงานการเงินและรายงานกิจกรรม งวดที่ 1 ( 18 ต.ค. 2559 )
  2. กิจกรรมเลี้ยงหมูหลุมคู่ภูมิปัญญาท้องถิ่น ( 15 พ.ย. 2559 )
  3. กิจกรรมเพาะเห็ดนางฟ้าให้ผลคุ้มค่า ส่งผลคุ้มทุน ( 23 พ.ย. 2559 )
  4. กิจกรรมอบรมส่งเสริมโภชนาการด้านอาหารและสุขภาพครู นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน ( 27 พ.ย. 2559 )
  5. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ ( 20 มี.ค. 2560 )
  6. นัดตรวจโครงการฯ ทำรายงานการเงินและรายงานกิจกรรม งวดที่ 2 ( 23 มี.ค. 2560 )

(................................)
นายอินสอน อินตาวงษ์
ผู้รับผิดชอบโครงการ