ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านทุ่งหลวง

รหัสโครงการ ศรร.1112-010 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.10 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

-กิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ได้แก่ ไก่พันธุ์พื้นเมือง ปลา
-การเพาะเห็ด นางฟ้า นำผลผลิตมาแปรรูปอาหาร จัดจำหน่าย ฯ
-การปลูกพืชผักสวนครัว ไม้ผลต่าง ๆ กิจกรรมต่างๆ นักเรียนดำเนินการเป็นกลุ่ม ฯ จัดจำหน่ายให้อาหารกลางวัน บุคคลภายนอก และนำเงินฝากออมทรัพย์

-ประชุมครูนักเรียน เจ้าหน้าที่ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพและภาคีเครือข่าย-จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการปลูกผักเลี้ยงปลาเลี้ยงไก่ เพาะเห็ด-ปลูกผัก เลี้ยงปลาเลี้ยงไก่และเพาะเห็ด-บันทึกการเจริญเติบโต

การดำเนินงานระยะต่อไป เน้นการดำเนินกิจกรรมที่ต่อเนื่อง โดยการประสานงานกับผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรภาครัฐและเอกชนในพื้นที่

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

1 นักเรียนมีบัญชีออมทรัพย์
2 นักเรียนเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือน
3 นักเรียนนำผลผลิตทางการเกษตรไปขายในตลาดนัดการเกษตรโรงเรียน

มีสหกรณ์นักเรียน มีสมาชิก สมาชิกมีหุ้น และดำเนินการโดยนักเรียนแกนนำ

รับสมัครสมาชิกใหม่ในปีการศึกษาหน้า ขายอาหาร ผลไม้ ที่หลากหลายโดยมาจากผลผลิตทางเกษตรในโรงเรียนให้มากขึ้น

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

-มีการจัดทำเมนูอาหารประจำวัน -ป้ายอาหารสุขภาพ -การบริโภคข้าวกล้อง -อาหารกลางวันนักเรียนที่ลดหวานมันเค็ม -มีการจัดรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามโปรแกรมThai school lunch ที่ได้มาตรฐานโภชนาการที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน
-มีการปรุงประกอบอาหารถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาล และอาหารปลอดภัย
-มีการจัดผลไม้ อาหารว่างให้นักเรียนสัปดาห์ละ 2 ครั้ง
-นักเรียนแกนนำ อ.ย. น้อย มีการตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร และตรวจยาเป็นประจำ

-จัดให้มีการปรุง ประกอบอาหารถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาลจัดโปรแกรมอาหารหมุนเวียนรายเดือนด้วยโปรแกรม Thai School Lunch โดยนักเรียนมีส่วนร่วมในการคิดรายการอาหาร -อาหารและอาหารปลอดภัยโดยมีการจัดซื้อวัตถุดิบจากสหกรณ์โรงเรียนโดยผ่านกิจกรรมสกรณ์โรงเรียนและภายในท้องถิ่นที่ปลอดภัยได้มาตรฐาน มีการตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร -จัดกิจกรรมรู้ประมาณ รับประทานพออิ่ม มีการบริการตักเสิร์ฟอาหารให้นักเรียนในเวลา 11.00 – 12.00 น. โดยมีการตักในสัดส่วนที่เหมาะสมกับความต้องการและช่วงวัยของนักเรียน -ผู้ปรุงมีสุขภาพดี ไม่เป็นโรคติดต่อ ไม่เป็นโรคผิวหนัง โดยผู้ปรุงมีการตรวจสุขภาพประจำปี

สร้างข้อตกลงกับแม่ครัวและนักเรียนในปีการศึกษาต่อไป นำผลผลิตทางเกษตรของโรงเรียนมาใช้เพิ่มชึ้น

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

-การตรวจสุขภาพประจำปีโดยเจ้าหน้าที่อนามัย -การอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพอนามัยที่ดี

ประสานงานกับเจ้าหน้าที่อนามัยเพื่อวาง แผนการทำงานและระยะเวลานการตรวจสุขภาพและฉีดวัคซีน

วางแผนการตรวจสุขภาพประจำปีและฉีดวัคซีนกับเจ้าหน้าที่ก่อนเปิดภาคเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

-จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอนามัยอย่างสม่ำเสมอ เช่น การออกกำลังกายกายบริหารการเล่นกีฬาเป็นต้น -การทดสอบสมรรถภาพด้านร่างกาย โดยเทียบกับเกณฑ์ -การให้ความรู้ ทักษะ ในการดูแลสุขภาพและสมรรถภาพร่างกาย โดยการจัดกิจกรรมบูรณาการกับการเรียนการสอนการอบรมการจัดค่ายส่งเสริมสุขภาพ

อบรมให้ความรู้แก่นักเรียนแกนนำอบรมแม่ครัวด้านโภชนาการจัดกิจกรรมหน้าเสาธงอบรมวันสุดสัปดาฆ์

จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอนามัย และเฝ้าระวังด้านสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ประสานกับผู้ปกครอง และ หน่วยงานอื่นๆ อย่างสม่ำเสมอ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

1.จัดแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มเวรสีออกเป็น 4 สี และมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบในการทำความสะอาดบริเวณโรงเรียน อาคารเรียน ห้องน้ำ โรงอาหารในช่วงเช้าก่อนเคารพธงชาติ
2.นักเรียนแกนนำ อ.ย. น้อยมีการสำรวจลูกน้ำยุงลายเดือนละ 1 ครั้ง
3.เดินรณรงค์ให้ความรู้การป้องกันโรคไข้เลือดออก , การต่อต้านยาเสพติด , โรคเอดส์ ในวันสำคัญต่างๆ 4.นักเรียนให้ความรู้แก่ชุมชนเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก แจกแผ่นพับ และทรายอะเบทให้แก่ชุมชน

เป็นกิจกรรมที่ดำเนินการโดยร่วมมือกันระหว่าง คณะครู / ครูอนามัยนักเรียนผู้นำอนามัย เจ้าหน้าที่จาก รพ.สต. / เทศบาลตำบล ได้ร่วมกันจัดกิจกรรมดูแลส่งเสริม พัฒนาสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อมอย่างสม่ำเสมอ การจัดกิจกรรมพัฒนาตามองค์ประกอบโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง เพื่อก้าวสู่ระดับเพชร

โรงเรียนมุ่งพัฒนาอนามัยและสิ่งแวดล้อมที่ถูกสุขลักษณะ โดยนำองค์ประกอบและตัวชี้วัดโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชรเป็นแนวทางดำเนินงาน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

-การพัฒนาศักยภาพครู แม่ครัว นักเรียนให้มีความรู้และทักษะในการจัดการอาหารและโภชนาการ -การอบรมวันศุกร์สุดสัปดาห์เพื่อส่งเสริมสุขภาพอาหารปลอดภัยในโรงเรียน -โรงเรียนได้ดำเนินการแบบมีส่วนร่วมกับทุกฝ่ายในการส่งเสริมสุขภาพ ทั้งบุคลากรภายในและภายนอก เช่น การบริการตรวจสุขภาพการเฝ้าระวังปัญหาที่เกิดกับสุขภาพการแก้ปัญหาด้านสุขภาพ และการส่งต่อเป็นต้น

  • อบรมเพื่อพัฒนาครูแม่ครัวและนักเรียนด้านโภชนาการ
  • การบริการตรวจสุขภาพ โดยผู้นำอนามัยนักเรียนครูประจำชั้น / ที่ปรึกษา เจ้าหน้าที่จาก รพ.สต./เทศบาลตำบลจนท.จาก รพ.ในพื้นที่ ได้มาบริการตรวจสุขภาพนักเรียน อย่างสม่ำเสมอ
  • การเฝ้าระวัง และแก้ปัญหาเช่น การรณรงค์ป้องกันสารเสพติดการรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลายการแก้ปัญหาเด็กนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์และต่ำกว่าเกณฑ์

การดำเนินงานระยะต่อไปโดยดำเนินการร่วมกับผู้ปกครอง และชุมชน ตลอดถึงองค์กรภาครัฐและเอกชน ที่มีหน้าที่ดูแลด้านสุขภาพอนามัย สร้างจิตสำนึกและเกิดการปฏิบัติที่สม่ำเสมอยั้งยืนเป็นกิจนิสัย เพื่อสร้า่งคุณลักษณะที่ดีในด้านการดำเนินการดูแลรักษา เฝ้าระวังรักษาสุขภาพอนามัยของนักเรียนและบุคลากร

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

การอบรมยุวทูตเกษตร-การเรียนการสอนบูรณาการงานศิลปะด้านการเกษตรโภชนาการและสุขภาพ

การเดินรณรงค์การประกวดแปลงผักการจัดกาเรียนรู้แบบบูรณาการ

ต่อยอดในปีการศึกษาต่อไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่ยาวเทศบาลตำบลแม่ยาวอสม.บ้านทุ่งหลวงและบ้านศิริราษฏร์สถานีตำรวจภูธรแม่ยาวผู้ปกครองนักเรียน และพระอธิการสมบัติกตปุญโญ

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

สภาพแวดล้อมของสถานศึกษาความร่วมมือของคณะทำงานและชุมชน

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

งบประมาณและความร่วมมือของคณะทำงานทุกฝ่าย

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

สร้างความตระหนักและลงมือปฏิบัติจริงตามกิจกรรม

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

ให้ชุมชนมามีส่วนร่วมในทุกกิจกรรมโดยสร้างข้อตกลงและบทบาทในการทำงาน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

มีการเลี้ยงไก่พันธ์พื้นเมืองการเลี้ยงปลานิลในบ่อดิน

ภาพถ่าย

จะดำเนินการต่อในปีการศึกษา 2560

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

การเลี้ยงปลานิลและปลาดุกในบ่อดินเพื่ออาหารกลางวัน

ภาพถ่าย

จะดำเนินการต่อในปีการศึกษา 2560

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

 

รูปภาพและเมนูอาหาร

โรงเรียนจัดกิจกรรมต่อยอดการเกษตรพอเพียงในปีการศึกษา 2560

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

นักเรียนในใรงเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารกลางวันประกอบด้วยผักที่ปลอดสารและผลไม้ตามฤดูกาล

รูปภาพและเมนูอาหาร

โรงเรียนจัดกิจกรรมต่อยอดการเกษตรพอเพียงในปีการศึกษา 2560

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

นักเรียนในโรงเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารกลางวันประกอบด้วยผักปลอดสารและผลไม้ตามฤดูกาล

รูปภาพและเมนูอาหาร

โรงเรียนจัดกิจกรรมต่อยอดการเกษตรพอเพียงในปีการศึกษา 2560

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

ชุมชนให้ความร่วมมือในการผลิตผักผลไม้ เลี้ยงปลา เลี้ยงไก่และจำหน่ายในโครงการสหกรณ์ของโรงเรียนเพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนได้บริโภคอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ

รูปภาพ แบบบันทึกกิจกรรม

โรงเรียนจัดกิจกรรมร่วมกับชุมชนต่อยอดการเกษตรพอเพียงในปีการศึกษา 2560

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

โรงเรียนและชุมชนตระหนักรู้ในการดูแลเอาใจใส่สุขภาพร่วมจัดกิจกรรมส่งเสริมการบริโภคอาหารถูกหลักโภชนาการในโรงเรียนเพื่อแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมสุขภาพนักเรียนบรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายต่อเนื่องและยั่งยืน

รูปภาพการจัดกิจกรรม

จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพครบวงจรในปีการศึกษา 2560

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

นักเรียนสามารถเลือกบริโภคอาหารที่ถูกหลักตามหลักโภชนาการ

เมนููอาหารรูปภาพแบบบันทึกภาวะโภชนาการ

ฝึกนักเรียนใช้โปรแกรมในปีการศึกษา 2560

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการดูแลส่งเสริมสุขภาพโดยชุมชน และ เจ้าหน้าที่อนามัยนักเรียนแกนนำในโรงเรียนจัดกิจกรรมดูแลส่งเสริมอย่างต่อเนื่อง

รูปภาพกิจกรรม แบบบันทึกการส่งเสริมสุขภาพ

จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพตลอดปีการศึกษา 2560

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/2
เตี้ย 3.70 3.70% 1.48 1.48% 4.44 4.44% 3.70 3.70% 3.13 3.13% 0.79 0.79% 0.76 0.76% 0.00 0.00% 16.42 16.42% 8.96 8.96% 12.78 12.78% 0.74 0.74% 2.90 2.90% 2.90 2.90% 3.62 3.62% 2.90 2.90%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 6.67 6.67% 5.93 5.93% 5.19 5.19% 6.67 6.67% 5.47 5.47% 3.94 3.94% 2.29 2.29% 3.08 3.08% 28.36 28.36% 23.88 23.88% 24.81 24.81% 9.56 9.56% 3.62 3.62% 2.90 2.90% 4.35 4.35% 2.90 2.90%
ผอม 2.22 2.22% 4.44 4.44% 3.70 3.70% 3.70 3.70% 3.88 3.88% 3.94 3.94% 0.76 0.76% 0.77 0.77% 2.99 2.99% 2.24 2.24% 7.52 7.52% 6.62 6.62% 3.62 3.62% 3.62 3.62% 3.65 3.65% 1.46 1.46%
ผอม+ค่อนข้างผอม 4.44 4.44% 11.11 11.11% 6.67 6.67% 14.07 14.07% 10.08 10.08% 6.30 6.30% 6.06 6.06% 7.69 7.69% 8.96 8.96% 8.21 8.21% 11.28 11.28% 13.24 13.24% 4.35 4.35% 4.35 4.35% 4.38 4.38% 4.38 4.38%
อ้วน 0.00 0.00% 0.74 0.74% 0.74 0.74% 1.48 1.48% 1.55 1.55% 0.00 0.00% 1.52 1.52% 0.00 0.00% 6.72 6.72% 2.99 2.99% 4.51 4.51% 1.47 1.47% 2.17 2.17% 5.80 5.80% 5.84 5.84% 0.00 0.00%
เริ่มอ้วน+อ้วน 2.22% 2.22% 2.96% 2.96% 2.22% 2.22% 2.22% 2.22% 2.33% 2.33% 2.36% 2.36% 3.03% 3.03% 0.77% 0.77% 11.94% 11.94% 8.96% 8.96% 11.28% 11.28% 3.68% 3.68% 5.80% 5.80% 7.97% 7.97% 6.57% 6.57% 2.92% 2.92%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

ผลที่เกิดขึ้นคือ ในปีการศึกษา 2559 เด็กที่อ้วนมีค่าร้อยละลดลง จาก ร้อยละ 2.33 เหลือร้อยละ 0.77

ข้อมูลการบันทึกจากโปรแกรมมหิดล

รณรงค์เรื่องการรับประมานอาหารให้ถูกหลักโภชนาการ และการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

การดำเนินการเด็กที่มีภาวะผอม 1. นักเรียนประเมินภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกาย และสุขภาพด้วยตนเอง โดยครูประจำชั้นและผู้นำนักเรียนคอยเป็นที่ปรึกษาและแนะนำ 2. ออกกำลังกาย 9 ด่านพิชิตโรค 3. เพิ่มเวลาดื่มนมอีก 1 ครั้งที่โรงเรียน 4. เพิ่มปริมาณอาหารให้แก่เด็กที่ผอม และค่อนข้างผอม 5. ประเมินภาวะโภชนาการ (ดูความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น)

ผลที่เกิดขึ้นคือ ในปีการศึกษา 2559 เด็กผอมมีค่าร้อยละ 3.88 ลดลงเหลือ ร้อยละ 0.77

ข้อมูลการบันทึกจากโปรแกรมมหิดล

รณรงค์เรื่องการรับประมานอาหารให้ถูกหลักโภชนาการ และการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

ผลที่เกิดขึ้นคือ ในปีการศึกษา 2559 เด็กที่เตี้ยมีค่าร้อยละลดลง จาก ร้อยละ 6.67 เหลือร้อยละ 3.08

ข้อมูลการบันทึกจากโปรแกรมมหิดล

รณรงค์เรื่องการรับประมานอาหารให้ถูกหลักโภชนาการ และการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

การดำเนินการเด็กที่มีภาวะอ้วน
1. นักเรียนประเมินภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกาย และสุขภาพด้วยตนเอง โดยครูประจำชั้นและผู้นำนักเรียนคอยเป็นที่ปรึกษาและแนะนำ
2. ให้ความรู้แก่นักเรียนเรื่องอันตรายจากโรคอ้วน และการแก้ไชปัญหาปัญหานักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์
3. ให้ความรู้แก่แม่ครัวในเรื่องการทำอาหารที่มีคุณภาพและการตักอาหารที่เหมาะสมกับวัย 4. นักเรียนวิเคราะห์ปริมาณอาหารเพื่อหาพลังงานอาหารที่รับประทานในแต่ละวัน ส่งครูผู้รับผิดชอบกิจกรรม 5. นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์ออกกำลังกาย (ครูผู้รับผิดชอบด้านการออกกำลังกายของโรงเรียน)

ข้อมูลการบันทึกจากโปรแกรมมหิดล

รณรงค์เรื่องการรับประมานอาหารให้ถูกหลักโภชนาการ และการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการแก้ปัญหาและสามารถเชื่อมโยงสู่ชีวิตจริงที่บ้านได้ด้วย บทบาทของผู้ปกครองในการแก้ไขปัญหา ก่อนอื่นผู้ปกครองต้องมีความรู้ในการแก้ปัญหานั้นๆ โดย รร.เป็นผู้จัดอบรมให้แก่ผู้ปกครอง / หรือให้ความรู้แก่ผู้ปกครองขณะไปเยี่ยมบ้าน ฯลฯ และให้ผู้ปกครองสร้างแรงจูงใจให้แก่ลูก รวมทั้งคอยส่งเสริมในเรื่องปลูกผัก / โภชนาการ / การตรวจสอบภาวะโภชนาการของลูก

ภาพถ่าย

ควรสานสัมพันธ์กับผู้ปกครองอย่างต่อเนื่อง....และยกย่องให้เป็นกรณีตัวอย่าง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่ยาวเทศบาลตำบลแม่ยาวอสม.บ้านทุ่งหลวงและบ้านศิริราษฏร์สถานีตำรวจภูธรแม่ยาวผู้ปกครองนักเรียน และพระอธิการสมบัติกตปุญโญ

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh