ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์พัฒนาคาร)

รหัสโครงการ ศรร.1113-008 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.08 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน
  • กิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ได้แก่ ไก่ไข่ กบ ปลา หมู ฯ
  • การเพาะเห็ด (นางฟ้าแปลงกาย) นำผลผลิตมาแปรรูปอาหาร จัดจำหน่าย ฯ
  • การทำนาข้าวการปลูกพืชผักสวนครัว ไม้ผลต่าง ๆ

กิจกรรมต่างๆ นักเรียนดำเนินการเป็นกลุ่ม ฯ จัดจำหน่ายให้อาหารกลางวัน บุคคลภายนอก และนำเงินฝากออมทรัพย์

เป็นกิจกรรมที่โรงเรียนดำเนินการบูรณาการกับการเรียนการสอนในทะระดับชั้นโดยเน้นการทำงานเป็นกลุ่มกิจกรรมนำผลผลิตจำหน่ายสหกรณ์นักเรียนตลาดภายนอกและนำเงินออมทรัพย์ เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนต่อไป - ผลผลิตจากการเกษตร เช่น เห็นนางฟ้า นำมาแปรรูปเป็นอาหารที่หลากหลาย ทำให้มีมูลค่าสูงขึ้น เกิดองค์ความรู้ใหม่แก่นักเรียนได้

การดำเนินงานระยะต่อไป เน้นการดำเนินกิจกรรมที่ต่อเนื่อง โดยการประสานงานกับผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรภาครัฐและเอกชนในพื้นที่

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน
  • กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน จัด ๓ รูปแบบ คือ สหกรณ์ร้านค้าสหกรณ์การผลิต และสหกรณ์ออมทรัพย์
  • การดำเนินงานสหกรณ์โดยกรรมการนักเรียนแต่ละกลุ่ม มีครูเป็นที่ปรึกษา
  • กิจกรรมที่นำผลผลิตทั้งด้านการเกษตร และงานอาชีพนักเรียน มาจำหน่ายสหกรณ์ เช่น ไข่ไก่พืชสวนครัว ขนมไทย น้ำสมุนไพร เป็นต้น
  • นักเรียนทุกคนออมทรัพย์ ผ่านกรรมการห้องเรียน กับธนาคารออมสิน
  • การดำเนินงานระะยะต่อไป ทางโรงเรียนเน้นการขยายเครือข่ายร่วมกับผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรภายนอก
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

อาหารกลางวันครบวงจร

  • เป็นกิจกรรมที่นำผลผลิตด้านการเกษตรส่วนหนึ่งมาประกอบเป็นวัตถุดิบป้อนโครงการอาหารกลางวัน เช่น ผลผลิตจากเห็ดนางฟ้าไข่ไก่ผักสวนครัว เป็นต้น
  • นักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารกลางวัน และมีส่วนช่วยในการประกอบอาหาร จัดล้าง/เก็บวัสดุอุปกรณ์ เป็นต้น
  • จัดกิจกรรมด้านการเกษตรที่หลากหลาย เพื่อนำผลผลิตมาสนับสนุนโครงการอาหารกลางวันต่อ โดยร่วมมือกับผู้ปกครอง องค์กรภาครัฐ/เอกชน
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน
  • จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอนามัยอย่างสม่ำเสมอ เช่น การออกกำลังกายกายบริหารการเล่นกีฬาเป็นต้น
  • การทดสอบสมรรถภาพด้านร่างกาย โดยเทียบกับเกณฑ์
  • การให้ความรู้ ทักษะ ในการดูแลสุขภาพและสมรรถภาพร่างกาย โดยการจัดกิจกรรมบูรณาการกับการเรียนการสอนการอบรมการจัดค่ายส่งเสริมสุขภาพ เป็นต้น
  • โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาพลศึกษา โดยนำหลักการ FIFA 11 For Health มาจัดกิจกรรมให้นักเรียน
  • การจัดกิจกรรมการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการและสมรรถภาพทางกาย นั้น ได้ดำเนินการโดยปลูกฝังสร้างความตระหนัก ให้นักเรียนเห็นความสำคัญด้านสุขภาพโดยจัดกิจกรรมการปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม เช่น การเล่นกีฬา กายบริหารการจัดค่ายสุขภาพ การทดสอบสมรรถภาพทางกายการควบคุมน้ำหนัก-ส่วนสูง ให้สมส่วน/สมวัยโดยควบคุู่ไปกับการจัดบริการอาหารกลางวันที่ถูกหลักโภชนาการการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ การแปรงฟันหลังอาหารเป็นต้น
  • เน้นการดำเนินการที่เกิดจากการเห็นคุณค่า และลงมือปฏิบัติจริง
  • ประสานกับผู้ปกครองหน่วยงาน / องค์กร ภายนอก ร่วมมือกันเพื่อเฝ้าระวัง ฯ
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน
  • จัดกิจกรรมเน้นการส่งเสริมสุขภาพอนามัย โดยบูรณาการกับทุกกลุ่มสาระและ กิจกรรมเสริมหลักสูตรในโรงเรียน
  • สร้างความตระหนักด้านการดูแลรักษาสุขภาพให้นักเรียน โดยจัดกิจกรรมการปฏิบัติที่ถูกต้อง เช่น การรับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ หลีกเลี่ยงอาหารที่เผ็ด หวาน มัน และเค็มจัด ไม่มีสารปรุงแต่งแปรงฟันหลัง อาหารเป็นต้น
  • จัดบริการอาหารกลางวันที่ สะอาดปลอดภัยถูกหลักโภชนาการ
  • เน้นการแปรงฟันที่ถูกต้องหลังอาหารทุกครั้ง
  • เฝ้าระวัง ทดสอบสมรรถภาพร่างกาย อยู่เสมอ
  • จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอนามัย และเฝ้าระวังด้านสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ประสานกับผู้ปกครอง และ หน่วยงานอื่นๆ อย่างสม่ำเสมอ
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ
  • โรงเรียนได้จัดกิจกรรมการดูแล รักษาสิ่งแวดล้อม โดยแบ่งเขตรับผิดชอบให้บุคลากรในโรงเรียน ทั้งครู / นักเรียน เพื่อดูแลรักษาร่วมกัน -เน้นความสะอาด ร่มรื่น สวยงาม และปลอดภัย ที่เอื้อต่อการเรียนการสอนและการเรียนรู้นักเรียน -จัดให้มีน้ำดื่มที่สะอาด ปลอดภัย ไว้บริการนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน อย่างเพียงพอ
  • จัดห้องน้ำห้องส้วมที่เพียงพอ ถูกสุขลักษณะ
  • มีเรือนพยาบาลที่เป็นเอกเทศ มีเวชภัณฑ์ยา และมีเจ้าหน้าที่ รพ.สต.มาช่วยเหลือโรงเรียนอยู่สม่ำเสมอ
  • เป็นกิจกรรมที่ดำเนินการโดยร่วมมือกันระหว่าง คณะครู / ครูอนามัยนักเรียนผู้นำอนามัย เจ้าหน้าที่จาก รพ.สต. / เทศบาลตำบล ได้ร่วมกันจัดกิจกรรมดูแลส่งเสริม พัฒนาสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อมอย่างสม่ำเสมอ
  • การจัดกิจกรรมพัฒนาตามองค์ประกอบโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง เพื่อก้าวสู่ระดับเพชร
  • โรงเรียนมุ่งพัฒนาอนามัยและสิ่งแวดล้อมที่ถูกสุขลักษณะ โดยนำองค์ประกอบและตัวชี้วัดโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชรเป็นแนวทางดำเนินงาน
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน
  • โรงเรียนได้ดำเนินการแบบมีส่วนร่วมกับทุกฝ่ายในการส่งเสริมสุขภาพ ทั้งบุคลากรภายในและภายนอก เช่น การบริการตรวจสุขภาพการเฝ้าระวังปัญหาที่เกิดกับสุขภาพการแก้ปัญหาด้านสุขภาพ และการส่งต่อเป็นต้น
  • การบริการตรวจสุขภาพ โดยผู้นำอนามัยนักเรียนครูประจำชั้น / ที่ปรึกษา เจ้าหน้าที่จาก รพ.สต./เทศบาลตำบลจนท.จาก รพ.ในพื้นที่ ได้มาบริการตรวจสุขภาพนักเรียน อย่างสม่ำเสมอ -การเฝ้าระวัง และแก้ปัญหาเช่น การรณรงค์ป้องกันสารเสพติดการรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลายการแก้ปัญหาเด็กนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์และต่ำกว่าเกณฑ์
  • การดำเนินงานระยะต่อไปโดยดำเนินการร่วมกับผู้ปกครอง และชุมชน ตลอดถึงองค์กรภาครัฐและเอกชน ที่มีหน้าที่ดูแลด้านสุขภาพอนามัย
  • สร้างจิตสำนึกและเกิดการปฏิบัติที่สม่ำเสมอยั้งยืนเป็นกิจนิสัย เพื่อสร้า่งคุณลักษณะที่ดีในด้านการดำเนินการดูแลรักษา เฝ้าระวังรักษาสุขภาพอนามัยของนักเรียนและบุคลากร
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย
  • จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยบูรณาการกับการเรียนการสอน ทุกกลุ่มสาระ
  • จัดค่ายอบรมส่งเสริมสุขภาพอนามัย
  • จัดกิจกรรมให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง
  • กิจกรรมการเรียนรู้ด้านการเกษตร : ศึกษาแหล่งเรียนรู้ศึกษาดูงานการจัดนิทรรศการด้านการเกษตรการเรียนรู้จากวิทยากรภายนอกเป็นต้น
  • กิจกรรมสหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย : จัดกิจกรรมเข้าค่ายส่งเสริมสุขภาพลงมือปฏิบัติกิจกรรมจริง รับบริการและฝึกปฏิบัติ ด้านการตรวจสุขภาพอนามัย เป็นต้น
  • โรงเรียนเน้นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ต้นแบบ
  • ประสานกับผู้ปกครองและชุมชน ตลอดถึงองค์กรภาครัฐและเอกชน เพื่อสร้างเครือข่ายด้านการดูแล รักษาสุขภาพร่วมกัน
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

ปัจจัยที่ส่งผลถึงความสำเร็จ

  1. การสนับสนุนจากผู้ประสานงานโครงการ : ได้กำกับ ดูแล ช่วยเหลือ เป็นที่ปรึกษา และให้กำลังใจ คณะครู/นักเรียน อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
  2. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะครู ผู้ปกครองนักเรียน และนักเรียนทุกฝ่ายได้เห็นความสำคัญ และมีความมุ่งมั่นตั้งใจที่ดำเนินการจัดกิจกรรมให้บรรลุตามเป้าหมาย
  3. องค์กรภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชน ได้แก่ เทศบาลตำบลบ้านดุ่ รพ.สต. สสจ. เกษตรตำบล/จังหวัด สพป.เชียงราย เขต ๑ โรงเรียนในเครือข่าย และชุมชน ได้มีส่วนช่วยเหลือ สนับสนุน มีส่วนร่วมในการดำเนินงานของโรงเรียนมาโดยตลอด
  4. การทำงานเป็นทีมของบุคลากรในโรงเรียนและเครื่อข่าย: ด้วยโรงเรียนบ้านดู่(สหราษฎร์พัฒนาคาร) เปิดสอน ๓ ระดับ คือมีจำนวนนักเรียน และ บุคลากรครู ค่อนข้างจะมาก และกิจกรรมของโรงเรียน ต้องอาศัยความร่วมมือของทุกฝ่าย ด้วยความมุ่งมั่น ตั้งใจ รับผิดชอบ และเห็นความสำคัญของการดูแลรักษาสุขภาพอนามัยร่วมกัน จึงทำให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างต่อเนื่อง บรรลุตามเป้าหมาย

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

  1. โรงเรียนบ้านดู่(สหราษฎร์พัฒนาคาร)มีพื้นที่ค่อนข้างจะกว้าง ๕๒ ไร่ ู๖๔ ตารางวา ซึ่งเป็นพื้นที่ราบอยู่กลางชุมชนการคมนาคมสะดวกมีพื้นที่ทำการเกษตร เช่น ที่นา (๘ ไร่)บ่อเลี้ยงปลา (๒ บ่อ) แปลงเกษตรโรงเรีอนเพาะเห็ดเรือนเพาะชำฯลฯ เหมาะสำหรับทำการเกษตรและจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของโครงการได้ค่อนข้างดี
  2. โรงเรียนบ้านดู่(สหราษฎร์พัฒนาคาร) มีเครือข่ายในพื้นที่ทำการเกษตรอยู่รอบ ๆ โรงเรียนค่อนข้างจะมาก เช่น การทำไร่นาสวนผสมของชุมชนการปลูกผักสวนครัวของชุมชน/ผู้ปกครอง การทำสวนสับปะรดตลาดชุมชนเป็นต้นทำให้โรงเรียนมีเครื่อข่ายในการดำเนินงานค่อนข้างจะเข้มแข็ง

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

โรงเรียนมีเครือข่ายทำงานที่เข้มแข็ง ทำงานเป็นทีม ทั้งองค์กรภายนอกและภายในโดยเฉพาะทีมงานโดยรวม ค่อนข้างจะเป็นไปในทิศทางเดียวกันมีเป้าหมายร่วมกันและเนื่องจากโรงเรียนบ้านดู่ ฯ เป็นโรงเรียนดีประจำตำบล(รุ่นแรก)ซึ่งทางโรงเรียนใช้กระบวนการขับเคลื่อนตามแนวทางการดำเนินงาน โรงเรียนดีประจำตำบลโรงเรียนเศรษฐกิจพอเพียงโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง และโรงเรียนแกนนำหลาย ๆ โครงการที่โรงเรียนดำเนินการอยู่ โดยการนำหลักการมาขับเคลื่อน พัฒนา อย่างสม่ำเสมอจึงเกิดการทำงานที่เข้มแข็งและยั่งยืนมาโดยตลอด

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

บุคลากรทุกฝ่าย ได้รับประสบการณ์ มีความรู้ มีทักษะการทำงาน โดยมีเป้าหมายร่วมกันจึงทำให้ทุกคนเกิดการเรียนรู้ร่วมกันโดยเฉพาะการดูแลรักษาสุขภาพอนามัย โดยการนำหลักการ แนวทางการดำเนินงานไปใช้ในชีวิตประจำวัน และขยายผลถึงครอบครัว ชุมชน ได้เป็นอย่างดี

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

โ่รงเรียนบ้านดู่(สหราษฎร์พัฒนาคาร) เป็นโ่รงเรียนดีประจำตำบล การดำเนินงานที่ผ่านมา ได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองและชุมชน เป็นอย่างดีอยู่แล้วดังนั้น การจัดกิจกรรมของโครงการ ฯ ทางโรงเรียนได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองและชุมชนค่อนข้างจะมาก ทั้งในด้านการสนับสนุน ให้ความร่วมมือช่วยเหลือ เช่น การเป็นวิทยากรภายนอก การประชาสัมพันธ์ การอำนวยความสะดวกด้านแหล่งเรียนรู้สถานประกอบการต่าง ๆเป็นต้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

นักเรียนได้รับประทานผักและผลไม้จากการดำเนินกิจกรรม

เมนูอาหาร โดยโปรแกรม Thai Schoollunch

มีการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

นักเรียนได้รับประทานไข่ไก่จากการดำเนินกิจกรรม

เมนูอาหารที่นำไข่ ปลา มาเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหาร

มีการหมุนเวียนในโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

นักเรียนได้รับประทานปลาดุก ทั้งในกระชัง และ บ่อดิน จากการดำเนินกิจกรรม

เมนูอาหารที่นำ ปลากบ มาเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหาร

มีการหมุนเวียนในโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

ได้นำโปรแกรมจัดทำโครงการแนวทางการจัดอาหารกลางวันที่มีคุณภาพสำหรับโรงเรียนโดยใช้โปรแกรม Thai Schoollunch

เมนูอาหาร โดยโปรแกรม Thai Schoollunch

ใช้โปรแกรม Thai Schoollunch อย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

ได้นำโปรแกรมจัดทำโครงการแนวทางการจัดอาหารกลางวันที่มีคุณภาพสำหรับโรงเรียนโดยใช้โปรแกรม Thai Schoollunch

เมนูอาหาร โดยโปรแกรม Thai Schoollunch

ใช้โปรแกรม Thai Schoollunch อย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

ได้นำโปรแกรมจัดทำโครงการแนวทางการจัดอาหารกลางวันที่มีคุณภาพสำหรับโรงเรียนโดยใช้โปรแกรม Thai Schoollunch

เมนูอาหาร โดยโปรแกรม Thai Schoollunch

ใช้โปรแกรม Thai Schoollunch อย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

มีการร่วมภาคีเครือข่าย โครงการอาหารปลอดภัย สุขภาพอนามัยดี โดยผ่านการนำผลผลิตจัดจำหน่ายในวันอาหารโลก

การจัดนิทรรศการวันอาหารโลก ร่วมกับ โครงการอาหารปลอดภัย สุขภาพอนามัยดี

สร้างภาคีเครือข่ายให้ครอบคลุมทุกองค์ประกอบ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

ได้นำโปรแกรมจัดทำโครงการแนวทางการจัดอาหารกลางวันที่มีคุณภาพสำหรับโรงเรียนโดยใช้โปรแกรม Thai Schoollunchอย่างต่อเนื่อง และมีการรายการสถานการณ์ทุกเดือน

ข้อมูลเมนูอาหาร ประจำเดือน ทุกเดือน

มีการใช้โปรแกรมThaiSchoollunchอย่างต่อเนื่องและขยายเครือข่ายเพิ่มเติม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการวัดส่วนสูงและช่างน้ำหนักทุกปลายภาคเรียน แล้วนำข้อมูลมาสรุป

แบบบันทึกภาวะโภชนาการของนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2559

มีการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และ ยั่งยืน

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/2
เตี้ย 6.53 6.53% 6.83 6.83% 5.02 5.02% 4.41 4.41% 3.50 3.50% 2.43 2.43% 1.62 1.62% 0.88 0.88% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 12.29 12.29% 11.08 11.08% 7.45 7.45% 7.29 7.29% 7.14 7.14% 4.41 4.41% 3.68 3.68% 3.38 3.38% 1.92 1.92% 0.89 0.89% 0.56 0.56% 0.14 0.14% 0.14 0.14% 0.14 0.14%
ผอม 5.61 5.61% 4.86 4.86% 3.50 3.50% 2.28 2.28% 2.13 2.13% 0.76 0.76% 2.06 2.06% 0.88 0.88% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00%
ผอม+ค่อนข้างผอม 11.38 11.38% 9.41 9.41% 7.75 7.75% 6.38 6.38% 5.93 5.93% 3.50 3.50% 2.94 2.94% 2.51 2.51% 1.04 1.04% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00%
อ้วน 8.80 8.80% 8.04 8.04% 7.90 7.90% 5.78 5.78% 5.17 5.17% 3.65 3.65% 5.00 5.00% 5.16 5.16% 3.11 3.11% 2.08 2.08% 3.23 3.23% 2.24 2.24% 2.24 2.24% 1.83 1.83%
เริ่มอ้วน+อ้วน 15.93% 15.93% 14.11% 14.11% 13.68% 13.68% 12.16% 12.16% 11.70% 11.70% 8.81% 8.81% 8.24% 8.24% 8.55% 8.55% 5.78% 5.78% 4.75% 4.75% 5.33% 5.33% 4.07% 4.07% 3.93% 3.93% 3.51% 3.51%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

มีการวัดส่วนสูงชั่งน้ำหนักเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ ร้อยละ 80

แบบบันทุกภาวะโภชนาการ

จัดทำโครงการ ลดภาวะอ้วนในเด็ก ในปีการศึกษา 2560

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

มีการจัดทำโครงการเพือเอื้อต่อภาวะทุพโภชนาการ

แบบบันทุกภาวะโภชนาการ

ดำเนินกิจกรรมให้เกิดความยั่งยืน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

มีการจัดทำโครงการเพือเอื้อต่อภาวะทุพโภชนาการ

แบบบันทุกภาวะโภชนาการ

ดำเนินกิจกรรมให้เกิดความยั่งยืน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

มีการจัดทำโครงการเพือเอื้อต่อภาวะทุพโภชนาการ

แบบบันทุกภาวะโภชนาการ

ดำเนินกิจกรรมให้เกิดความยั่งยืน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

ผู้ปกครองมีส่วนร่วม และสร้างความตระหนักให้เกิดกับนักเรียน

แบบรายงานการจัดกิจกรรม สารสัมพันธ์ บ้าน โรงเรียน

มีการสร้างภาคี และ สร้างความร่วมมือกับผู้ปกครอง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

ปัจจัยที่ส่งผลถึงความสำเร็จ

  1. การสนับสนุนจากผู้ประสานงานโครงการ : ได้กำกับ ดูแล ช่วยเหลือ เป็นที่ปรึกษา และให้กำลังใจ คณะครู/นักเรียน อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
  2. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะครู ผู้ปกครองนักเรียน และนักเรียนทุกฝ่ายได้เห็นความสำคัญ และมีความมุ่งมั่นตั้งใจที่ดำเนินการจัดกิจกรรมให้บรรลุตามเป้าหมาย
  3. องค์กรภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชน ได้แก่ เทศบาลตำบลบ้านดุ่ รพ.สต. สสจ. เกษตรตำบล/จังหวัด สพป.เชียงราย เขต ๑ โรงเรียนในเครือข่าย และชุมชน ได้มีส่วนช่วยเหลือ สนับสนุน มีส่วนร่วมในการดำเนินงานของโรงเรียนมาโดยตลอด
  4. การทำงานเป็นทีมของบุคลากรในโรงเรียนและเครื่อข่าย: ด้วยโรงเรียนบ้านดู่(สหราษฎร์พัฒนาคาร) เปิดสอน ๓ ระดับ คือมีจำนวนนักเรียน และ บุคลากรครู ค่อนข้างจะมาก และกิจกรรมของโรงเรียน ต้องอาศัยความร่วมมือของทุกฝ่าย ด้วยความมุ่งมั่น ตั้งใจ รับผิดชอบ และเห็นความสำคัญของการดูแลรักษาสุขภาพอนามัยร่วมกัน จึงทำให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างต่อเนื่อง บรรลุตามเป้าหมาย

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh