แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และทักษะฝึกปฏิบัติจริงในกิจกรรมของเกษตรและนำผลผลิตมาสนับสนุนอาหารกลางวันให้ นักเรียนได้รับประทานอาหารที่สะอาดปลอดสารพิษ
ตัวชี้วัด : นักเรียนเจริญเติบโตสมวัย โดยมี 1. ภาวะอ้วน 6.42% 2.ภาวะผอม ไม่เกิน 9 3. ภาวะเตี้ย ไม่เกิน 4 % 4. เด็กมีการปรับพฤติกรรมการกิน โดยกินผักและผลไม้ เฉลี่ยในมื้อกลางวันประมาณ 40-100 กรัม (อาจดูตามเกณฑ์ของแต่ละโรงเรียน ที่แยกเป็น ช่วงอนุบาล และ ช่วงปฐม) 5. มีการนำโปรแกรม Thai school lunch มาใช้ในการกำหนดเมนูอาหารกลางวัน 6. มีกระบวนการติดตาม ประเมินสุขภาวะของนักเรียน โดยเด็กและเยาวชน ครู และผู้ปกครอง ร่วมกัน

 

 

  1. มีการติดตามภาวะการเจริญเติบโตของนักเรียนเทอมละ 2 ครั้ง
  2. ประเมินพฤติกรรมการบริโภคจากแบบประเมินพฤติกรรมโดยตัวเอง
  3. ประเมินการบริโภคอาหารกลางวัน

ผลการประเมินตามตัวชี้วัด

  1. ภาวะอ้วน ร้อยละ 8.05
  2. ภาวะผอม ร้อยละ 3.36
  3. ภาวะเตี้ย ร้อยละ 5.37
  4. นักเรียนมีการปรับพฤติกรรมการกินผักและผลไม้ เฉลี่ยในมื้อกลางวันประมาณ 40-100 กรัม ร้อยละ 80
  5. มีการนำโปรแกรม Thai school lunch มาใช้ในการกำหนดเมนูอาหารกลางวันทุกวัน(แต่มีการปรับวัตุดิบ เช่น ผัด เนื้อสัตว์ ในบางวัน) ุุ6. มีกระบวนการติดตาม ประเมินสุขภาวะของนักเรียน โดยเด็กและเยาวชน ครู และผู้ปกครอง ร่วมกันโดยมีแบบบันทึกการติดตามสุขภาวะของนักเรียน
2 เพื่อให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงในการซื้อ ขาย ฝึกระเบียบวินัย การเลือกซื้อสิ่งบริโภคที่มีประโยชน์ และฝึกความซื่อสัตย์สุจริต
ตัวชี้วัด : 1. เด็กมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินผักและผลไม้เพิ่มขึ้น เฉลี่ยประมาณ 40-100 กรัม ในมื้ออาหารเย็น และอาหารว่าง (ติตตามผลโดยครูและผู้ปกครอง) 2. นักเรียนประมาณ 80% มีพฤติกรรมสุขภาวะที่ดี ได้แก่ การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร มีการแปรงฟันหลังทานอาหาร รวมทั้งแปรงฟันก่อนเข้านอน และมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถัง 3. ทางโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมออกกำลังกาย ก่อนเลิกเรียน (อาจจะเน้นที่เด็กมีภาวะอ้วนเป็นพิเศษ) 4. นักเรียนประมาณ 80 % ของจำนวนเด็กในโรงเรียน ให้ความร่วมมือทำกิจกรรมศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

 

 

  1. ประเมินพฤติกรรมการกินผักและผลไม้เพิ่มขึ้น เฉลี่ยประมาณ 40-100 กรัม ในมื้ออาหารเย็น และอาหารว่าง โดยใช้แบบติตตามพฤติกรรมประเมินผลโดยครูและผู้ปกครอง
  2. ประเมินพฤติกรรมสุขภาวะที่ดี ได้แก่ การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร มีการแปรงฟันหลังทานอาหาร รวมทั้งแปรงฟันก่อนเข้านอน และมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถัง
  3. ประเมินจัดกิจกรรมออกกำลังกาย ก่อนเลิกเรียน โดยประเมินความพึงพอใจต่อการมีส่วนร่วม
  4. ประเมินความร่วมมือทำกิจกรรมศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใสโดยใช้แบบประเมินการร่วมกิจกรรม

ผลการประเมินตามตัวชี้วัด

  1. เด็กมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินผักและผลไม้เพิ่มขึ้น เฉลี่ยประมาณ 40-100 กรัม ในมื้ออาหารเย็น และอาหารว่าง ติตตามผลโดยครูและผู้ปกครอง ร้อยละ 80
  2. นักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาวะที่ดี ได้แก่ การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร มีการแปรงฟันหลังทานอาหาร รวมทั้งแปรงฟันก่อนเข้านอน และมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถัง ร้อยละ 90
  3. นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกาย ก่อนเลิกเรียนมีความพึ่งพอใจร้อยละ 90
  4. นักเรียนให้ความร่วมมือทำกิจกรรมศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส ร้อยละ 100
3 เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตาม เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
ตัวชี้วัด : 1. โรงเรียนมีระดับความสำเร็จในด้านการเชื่อมโยงอาหารและสุขภาพ อยู่ในระดับ 4 2. จำนวนกิจกรรมที่มีส่วนร่วมของครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนเพิ่มขึ้น 40%

 

 

การประเมินผล

  1. โรงเรียนมีประเมินด้านการเชื่อมโยงอาหารและสุขภาพโดยประเมินผลการเชื่อมโยงการจัดการด้านอาหารที่ส่งผลต่อสุขภาพ,ประเมินผลการจัดอาหารและอาหารว่าง,ประเมินผลภาวะสุขภาพนักเรียน,
  2. จำนวนกิจกรรมที่มีส่วนร่วมของครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนเพิ่มขึ้น 40%โดยประเมินเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมก่อนและหลังการจัดทำโครงการ

ผลการประเมิน

  1. โรงเรียนมีระดับความสำเร็จในด้านการเชื่อมโยงอาหารและสุขภาพ อยู่ในระดับ 4
  2. จำนวนกิจกรรมที่มีส่วนร่วมของครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 60