ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านโชคชัยพัฒนา

รหัสโครงการ ศรร.1112-028 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.28 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

เกษตรอินทรีย์แบบผสมผสาน

ลักษณะ ใช้หลักการอยู่ร่วมกันระหว่างพืช สัตว์และสิ่งแวดล้อม ขั้นตอน ๑. ประชุมการวางแผนการดำเนินงานร่วมกับชุมชนร่วมกัน ๒. กำหนดพื้นที่ทำเหษตรเป็น ๘ ส่วน ๓. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ ๔. รับสมัครนักเรียนตามกลุ่มที่สนใจ เช่นเลี้ยงปลา ๕. อบรมองค์ความรู้การทำเกษตรผสมผสาน ๖. ดำเนินงานตามแผน ๗. ครูผู้รับผิดชอบประเมินผลความรู้ ทักษะนักเรียน ๘.จัดเวทีนำเสนอความก้าวหน้าต่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง

ใช้ระบบน้ำหยดแบบเปิดปิดอัตโนมัติ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

กิจกรรมสหกรณ์ร้านค้า กิจกรรมออมทรัพย์นักเรียน

จัดจำหน่ายของอุปโภคและบริโภค อีกทั้งมีการรับซื้อผลผลิตทางการเกษตรในโรงเรียน ขายต่อกับกิจกรรมอาหารกลางวัน หรือชุมชน จัดทำบัญชี รายรับ รายจ่าย ผลกำไร- ขาดทุน รายงานผลการดำเนินในรอบปีให้กับสมาชิกรับทราบ กิจกรรมออมทรัพย์ มีการรับฝากเพื่อเป็นเงินออมสำหรับสมาชิกอย่างสม่ำเสมอจัดทำสมุดออมเงินประจำตัว

ใช้ระบบโปรแกรมรับฝากเงิน โปรแกรมสหกรณ์

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

Thai School lunch

มาตรฐานอาหารกลางวันและอาหารว่างโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch มาจัดการอาหารให้กับนักเรียน มาตรฐานการสุขาภิบาลอาหารสำหรับโรงอาหารเน้นการจัดเก็บอาหารสด การปกปิดอาหารปรุงสำเร็จแล้วและการล้างภาชนะ

กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

การเฝ้าระวังภาวะทางทุพภาวะโภชนาการ

การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง แปลผล แจ้งให้ผู้ปกครองทราบ และมีการเฝ้าระวังโดยครอบครัวมีส่วนร่วม

การออกกำลังกาย และควบคุมการรับประทานอาหารสำหรับนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

การพัฒนาสุขนิสัยนักเรียน

ล้างมือก่อนรับประทานอาหาร การดูแลความสะอาดของร่างกายโดยการสร้างเสริมพฤติกรรมตามหลักสุขบัญญัติแห่งชาติ และมีการเฝ้าระวังติดตามประเมินผล สอดแทรกในการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระ

คู่หูสุขภาพ จัดประกวดสุขภาพ เข้าร่วม/หกเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพตามสุขบัญญัติแห่งชาติ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพนักเรียน

มีการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมและเพียงพอกับนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน - น้ำดื่มที่สะอาด - ที่ล้างมือก่อนรับประทานอาหาร - ห้องส้วมถูกสุขลักษณะ - การจัดการขยะ แมลง สัตว์นำโรค - จัดสนามเด็กเล่นให้เหมาะสมตามช่วงวัย - กิจกรรมออกกำลังกายตอนเช้าก่อนเข้าเรียน

ใช้กิจกรรม BBl ตามช่วงวัย

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

ตรวจสุขภาพประจำปี

การตรวจสุขภาพของนักเรียนโดยความร่วมมือของโรงพยาบาลคลองลานที่มาทำการตรวจฟัน รักษาฟัน และให้คำแนะนำในการรับประทานอาหารเพื่อไม่ให้ฟันผุ การฉีดวัคซีนประจำปีโดย รพ.สต.โชคชัย การอบรมให้ความรู้สำหรับนักเรียนที่มีทุพภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์

มีมุมสุขภาพโดยให้นักเรียนแกนนำสามารถตรวจสุขภาพ ให้คำแนะนำได้

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

โรงเรือนผักกางมุ้ง โรงเรือนปลูกผักไฮโดรโปรนิคส์ บ่อเลี้ยงปลา โรงเรือนเพาะเห็ด

ครูทุกคนนำเรื่องของเกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัยเข้าไปบูรณาการในการจัดการเรียนการสอน

โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ในการให้นักเรียนไปศึกษาในสภาพจริง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

  • เทศบาลตำบลคลองลานพัฒนา จัดสนับสนุนงบประมาณในกิจกรรมอาหารกลางวันและอาหารกเสริมนม
  • โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมาตรวจสุขภาพประจำปี การกำจัดยุงลาย และมาให้ความรู้กับนักเรียนในด้านสุขภาพ
  • โรงเรียนในกลุ่มโรงเรียนคลองลานพัฒนา ร่วมมือกันในการดูแลสุขภาพ ศึกษาดูงานตามแหล่งเรียนรู้นำมาพัฒนา ปรับปรุงและต่อยอด
  • บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ สนับสนุนการเลี้ยงไก่ไข่
  • กรมประมง ให้ความรู้ในการเลี้ยงปลาเพิ่มเติม
  • สหกรณ์จังหวัดอบรมให้ความรู้นักเรียนในเรื่องของสหกรณ์นักเรียน

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

ภายในบริเวณโรงเรียนมีพื้นที่การบริหารจัดการเพียงพอ มีแหล่งน้ำที่พอเพียง และบุคลากรในการจัดกิจกรรมได้รับการอบรมเพิ่มเติม

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

ผู้รับผิดชอบดำเนินงานตามแผนที่กำหนด
ทีมงานเพียงพอและมุ่งมั่น หน่วยงาน
ผู้ปกครองให้การสนับสนุน

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

การฝึกอบรม การศึกษาดูงานนำมาพัฒนาและปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น การนิเทศจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทำให้รู้ถึงข้อควรพัฒนา และนำมาปรัปบรุงแก้ไขไปในทางที่ดีขึ้น

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

  • การเข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผน ดำเนินงานและแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น
  • มีการจัดทำ และจัดหาทรัพยากรจากหน่วยงานภายนอกมาพัฒนาสภาพแวดล้อมทั้งในโรงเรียนและชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

ปลูกผักกางมุ้ง พืชน้ำหยด ปลูกกล้วย

มีโรงผักกางมุ้งจำนวน 2 หลังเพื่อปลูกผักหมุนเวียน

เพื่อโรงปลูกพืชไฮโดรโปรนิคส์ เพาะเห็ด ปลูกกล้วย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

เลี้ยงไก่ไข่

มีไข่ไก่จากโรงเลี้ยงไข่ไก่ของโรงเรียนมาสู่โครงการอาหารกลางวัน

การเลี้ยงหมูหลุม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

เลี้ยงปลาในบ่อซีเมนต์

มีโรงเลี้ยงปลา และบ่อเลี้ยงปลา

มีการเลี้ยงกบ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

นำผลผลิตที่โรงเรียนมีมาจัดบริหารอาหารเช้า

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

ใช้โปรแกรม Thai School Lunch มาช่วยในการจัดการ

จัดบริการในอาหารกลางวัน

ให้ผู้ปกครอง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

ใช้โปรแกรม Thai School Lunch มาช่วยในการจัดการ

จัดบริการในอาหารกลางวัน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

ใช้โปรแกรม Thai School Lunch มาช่วยในการจัดการ

จัดบริการในอาหารกลางวัน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

เฝ้าระวังการระบาดของอาหารเป็นพิษในโรงเรียน ทำอาหารที่ปรุงสุกใหม่ ๆ ให้นักเรียนรับประทาน

เอกสารที่ไม่มีการแพร่ระบาดของอาหารเป็นพิษในโรงเรียน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

มีการใช้โปรแกรมทุก ๆ เดือน

เอกสารการจัดการอาหารตามโปรแกรม

นักเรียน ผู้ปกครองครู เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการอาหารกลางวันเพิ่มมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

ทำการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงพร้อมทั้งแปลผล

เอกสารการแปลผล และการบันทึกน้ำหนัก ส่วนสูงของนักเรียน

ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วม

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/1
เตี้ย 23.67 23.67% 1.00 1.00% 9.22 9.22% 3.33 3.33% 2.40 2.40% 1.92 1.92% 6.19 6.19% 5.71 5.71% 1.44 1.44% 1.45 1.45% 6.34 6.34% 2.91 2.91% 2.48 2.48%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 26.57 26.57% 6.50 6.50% 20.39 20.39% 9.52 9.52% 8.65 8.65% 4.33 4.33% 6.19 6.19% 5.71 5.71% 4.31 4.31% 4.35 4.35% 13.66 13.66% 9.22 9.22% 7.92 7.92%
ผอม 19.32 19.32% 10.00 10.00% 8.25 8.25% 8.10 8.10% 6.25 6.25% 2.02 2.02% 10.00 10.00% 8.57 8.57% 5.29 5.29% 4.35 4.35% 7.35 7.35% 4.88 4.88% 2.99 2.99%
ผอม+ค่อนข้างผอม 23.19 23.19% 19.00 19.00% 13.11 13.11% 14.29 14.29% 13.94 13.94% 4.55 4.55% 10.00 10.00% 8.57 8.57% 14.42 14.42% 13.53 13.53% 18.14 18.14% 12.68 12.68% 13.43 13.43%
อ้วน 6.28 6.28% 3.50 3.50% 6.80 6.80% 3.81 3.81% 0.96 0.96% 4.04 4.04% 15.24 15.24% 11.90 11.90% 5.77 5.77% 5.31 5.31% 3.43 3.43% 4.39 4.39% 4.48 4.48%
เริ่มอ้วน+อ้วน 6.28% 6.28% 7.50% 7.50% 11.65% 11.65% 8.10% 8.10% 4.81% 4.81% 6.57% 6.57% 17.14% 17.14% 11.90% 11.90% 10.58% 10.58% 10.14% 10.14% 9.31% 9.31% 10.24% 10.24% 9.95% 9.95%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

มีการใช้โปรแกรม Thai School Lunch มาบริการจัดการทำให้ได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์เพิ่มมากขึ้น

เอกสารบันทึกภาวะโภชนาการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

มีการใช้โปรแกรม Thai School Lunch มาบริการจัดการทำให้ได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์เพิ่มมากขึ้น

เอกสารบันทึกภาวะโภชนาการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

มีการจัดการออกกำลังกาย และรับประทานอาหารเสริม นม พร้อมกัน

อาหารเสริมนม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

อบรมให้ความรู้ถึงโรคที่จะเกิดขึ้น การออกกำลังกาย

ภาวะโภชนาการดีขึ้นตามลำดับ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

ไม่ส่งเสริมการรับประทานอาหารที่ไม่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย

ภาวะโภชนาการดีขึ้นตามลำดับ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

บ่อหมักแก๊สชีวภาพ นำเศษผักที่ไม่ได้ใช้ ขี้ไก่ มาใส่ในบ่อหมักแก๊ส และสามารถนำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงทำกิจกรรมอาหารกลางวันช่วยลดต้นทุนเชื้อเพลิง

บ่อหมักแก๊สชีวภาพ

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

  • เทศบาลตำบลคลองลานพัฒนา จัดสนับสนุนงบประมาณในกิจกรรมอาหารกลางวันและอาหารกเสริมนม
  • โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมาตรวจสุขภาพประจำปี การกำจัดยุงลาย และมาให้ความรู้กับนักเรียนในด้านสุขภาพ
  • โรงเรียนในกลุ่มโรงเรียนคลองลานพัฒนา ร่วมมือกันในการดูแลสุขภาพ ศึกษาดูงานตามแหล่งเรียนรู้นำมาพัฒนา ปรับปรุงและต่อยอด
  • บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ สนับสนุนการเลี้ยงไก่ไข่
  • กรมประมง ให้ความรู้ในการเลี้ยงปลาเพิ่มเติม
  • สหกรณ์จังหวัดอบรมให้ความรู้นักเรียนในเรื่องของสหกรณ์นักเรียน

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh