ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านแม่ระเมิง


“ โรงเรียนบ้านแม่ระเมิง ”

377หมู่ 8 ตำบลแม่สอง อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก

หัวหน้าโครงการ
นายสมศักดิ์วุฒิสัตย์

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านแม่ระเมิง

ที่อยู่ 377หมู่ 8 ตำบลแม่สอง อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก จังหวัด ตาก

รหัสโครงการ ศรร.1113-023 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.23

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2016 ถึง 30 เมษายน 2017


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านแม่ระเมิง จังหวัดตาก" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 377หมู่ 8 ตำบลแม่สอง อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านแม่ระเมิง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านแม่ระเมิง



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านแม่ระเมิง " ดำเนินการในพื้นที่ 377หมู่ 8 ตำบลแม่สอง อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก รหัสโครงการ ศรร.1113-023 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 117,850.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านแม่ระเมิง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 1067 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงเรียนบ้านแม่ระเมิงตั้งอยู่เลขที่ 377 หมู่ที่ 8 ตำบลแม่สอง อำเภอท่าสองยางจังหวัดตากเป็นโรงเรียนในโครงการพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในถิ่นทุรกันดาร ห่างไกลการคมนาคม จัดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับอนุบาล ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สภาพความเป็นอยู่ของชาวบ้านที่ บ้านแม่ระเมิงมีฐานะยากจน ส่วนใหญ่ มีอาชีพทำไร่เลื่อนลอย ในครอบครัวมีลูกหลายคน ทำให้ไม่มีเวลาเอาใจใส่เรื่องความเป็นอยู่ อาหาร เครื่องแต่งกายเด็กๆ จึงไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่เมื่อเด็กๆ นักเรียนมาเข้าโรงเรียน จึงเป็นปัญหาที่ทางโรงเรียนจะต้องแก้ไขและต้องดูแล เอาใจใส่ในเรื่องสุขภาพ และเรื่องอนามัยส่วนบุคคลของนักเรียนเพราะถ้าหากปล่อยให้เด็กนักเรียน มีปัญหาในเรื่องสุขภาพอนามัยก็จะส่งผลกระทบต่อการเรียนหนังสือทำให้นักเรียนไม่สนใจในการเรียนบางครั้งต้องขาดเรียนหลายๆ วันทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ ทางโรงเรียนบ้านแม่ระเมิงจึงได้โรงเรียนได้มีการจัดกิจกรรมเพื่อการพัฒนาเด็กและเยาวชนใน พื้นที่บริการ ของโรงเรียน ตามแผนพัฒนาเด็กแลเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2554-พ.ศ.2559) มีการดำเนินกิจกรรมเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนในด้านพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและจริยศึกษาเพื่อให้เด็กและเยาวชน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรงไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะและคุณภาพชีวิตที่ดีซึ่งเป็นการพัฒนาที่ มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing)เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ ซึ่งใน ปีพ.ศ.2558 โรงเรียนได้มีการดำเนินการจัดกิจกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียน เพื่อหาแนวทางแก้ไขและส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพดีร่างกายแข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บสามารถดำรงชีวิตร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขทั้งทางร่างกายและจิตใจ โดยได้รับความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และกระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ซึ่งผลการดำเนินงานที่ผ่านมาทำให้เด็กและเยาวชนของโรงเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดี จากการดำเนินงานที่โรงเรียนๆได้มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง และประสบผลสำเร็จด้านการดำเนินงานของโรงเรียน ด้านการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยของนักเรียนทำให้โรงเรียนบ้านแม่ระเมิงได้รับการคัดเลือกจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ให้โรงเรียนในโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการของ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ซึ่งโรงเรียนบ้านแม่ระเมิง จะมีการดำเนินงานโครงการส่งเสริมด้านสุ่ขภาพอนามัยของนักเรียนและขยายผลการเรียนรู้สู่ชุมชน คือ โครงการเด็กดอยสุขภาพดี เพื่อหาแนวทางแก้ไขและส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพดี ร่างกายแข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บสามารถดำรงชีวิตร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขได้ทั้งร่างกายและจิตใจ และเพื่อให้เด้กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารได้รับโอกาสในการพัฒนา และมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามเป้าหมายสูงสุด อันจะเป็นแนวทางให้คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ตามวัตถุประสงค์ที่ 1 การส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพอนามัยของเด้กและเยาวชนเริ่มตั้งแต่ ในครรภ์มารดา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมกิจกรรมงานด้านคุณภาพอนามัยนักเรียนของโรงเรียนได้อย่างมีมาตรฐาน
  2. เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
  3. เพื่อเพิ่มผลผลิตของโครงการเกษตร เน้นให้นักเรียนปลูกผักและเลี้ยงสัตว์ และนำผลผลิตสนับสนุนโครงการอาหารกลางวัน
  4. เพื่อส่งเสริมงานด้านสุขภาพอนามัยให้กับนักเรียนและขยายผลสู่ชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. โรงเรียนสามารถจัดกิจกรรมด้านสุขภาพอนามัยและด้านโภชนาการนักเรียนได้อย่างมีมาตรฐาน
    2. โรงเรียนสามารถปรับปรุงสถานที่ด้านงานอนามัยของโรงเรียนที่เอื้อต่อการจัดกิจกรรมด้านการส่งเสริมงานอนามัยของโรงเรียน
    3. โรงเรียนสามารถส่งเสริมและจัดการเรียนรู้งานด้านอนามัย ด้านโภชนาการของนักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    4. นักเรียนสามารถนำความรู้ ความเข้าใจไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
    5. โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ของนักเรียน ผู้ปกครองและชุมชนได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. การเยี่ยมบ้านนักเรียน

    วันที่ 15 มิถุนายน 2016 เวลา 15:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมคณะครูและบุคลากรทางการศึกษาในเรื่องการเยี่ยมบ้านนักเรียน
    2. แจ้งกิจกรรมการเยี่ยมบ้านและแจกเอกสารในการดำเนินงาน โดยมอบหมายให้กับครูที่ปรึกษาและครูที่ได้รับมอบหมายการเยี่ยมบ้านนักเรียน
    3. จัดกิจกรรมการเยี่ยมบ้านโดยให้ครูที่ปรึกษาของแต่ละห้องเรียนเยี่ยมบ้านนักเรียน 920 คน ตั้งแต่วันที่ 15 มิถุนายน - 31 สิงหาคม 2559
    4. สรุปและรายงานผลการเยี่ยมบ้านนักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      1. ทราบข้อมูลพื้นฐานนักเรียนรายบุคคล 2. เป็นข้อมูลในการดำเนินการช่วยเหลือนักเรียนได้ครอบคลุมและทั่วถึง 3. นักเรียนที่มีปัญหาทุกๆ ด้าน ได้การดูแลและช่วยเหลือ 4. นักเรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี 5. โรงเรียนสามารถดำเนินกิจกรรมของโรงเรียนได้บรรลุตามวัตถุประสงค์

     

    1,886 1,886

    2. กิจกรรมการเลี้ยงสัตว์(หมู)

    วันที่ 10 สิงหาคม 2016 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมคณะครููและผู้รับผิดชอบโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน (คณะครู 46 คน) 2. ร่วมกันกำหนดกิจกรรมการดำเนินงาน ตามงบประมาณที่ได้รับ 3. ดำเนินการจัดซื้อพันธ์หมู และอาหารสำหรับการเลี้ยงหมุู 4. จัดกิจกรรมการเรียนการสอน นักเรียน 920 คน และมอบหมายให้นักเรียนร่วมดูแล ตั้งแต่วันที่ 10 สิงหาคม 2559 - 28 มีนาคม 2560 5. ประชาสัมพันธ์กิจกรรมให้กับหน่วยงานและชุมชน เข้ามาศึกษาได้เพิ่มเติม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้รับความรู้ กระบวนการทำงาน เรือ่งการเลี้ยงสัตว์
    2. โรงเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ ตามโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน
    3. โรงเรียนเป็นต้นแบบการจัดการเรียนรู้โครงการกเษตรเพื่ออาหารกลางวัน
    4. ผลผลิตที่ได้สามารถนำมาสนับสนุนงานโครงการอาหารกลางวันของนักเรียน

     

    920 966

    3. จัดห้องการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

    วันที่ 15 สิงหาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมคณะครูและผู้รับผิดชอบงานกิจกรรมจัดห้องการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน 2.กำหนดกิจกรรมการดำเนินงานโดยมอบหมายให้กับผู้รับผิดชอบ 3.ผู้รับผิดชอบดำเนินกิจกรรมตามที่กำหนด โดยจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์เพื่อนำมาจัดห้องการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน ระหว่างวันที่ 15 - 25 สิงหาคม 2559 4.สรุปและประเมินผลการจัดห้องการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.โรงเรียนสามารถจัดกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน 2.นักเรียนได้รับความรู้และสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 3. โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ของนักเรียน ผู้ปกครองและชุมชนได้

     

    986 971

    4. การจัดการเรียนรู้เสริมสร้างความรู้สู่ชุมชน

    วันที่ 15 สิงหาคม 2016 เวลา 15:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ครูผู้รับผิดสอบกิจกรรม จัดทำเอกสารใบความรู้เกี่ยวกับกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและนำไปสู่การปฏิบัติในชีวิตประจำวัน จำนวน 650 ชุด
    2. นักเรียนแกนนำจำนวน 50 คน และนักเรียนมัธยมศึกษา 500 คน ผู้ปกครอง 100 คน ศึกษาใบความรู้ กิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและนำไปสู่การปฏิบัติในชีวิตประจำวัน เช่น การล้างมือให้ถูกสุขลักณะ ฯลฯ เริ่มตั้งแต่วันที่ 15 สิงหาคม 2559 ถึง 25 มีนาคม 2560
    3. สรุปและประเมินผลการจัดการเรียนรู้เสริมสร้างความรู้สู่ชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนและผู้ปกครองได้รับความรู้จากการศึกษาใบความรู้
    2. ชุมชนได้ศึกษาความรู้จากเอกสารที่นำไปเผยแพร่
    3. นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้
    4. นักเรียนนำความรู้ไปถ่ายทอดให้กับบุคคลในครอบครัวได้

     

    696 696

    5. การอบรมผู้นำอนามัยนักเรียน

    วันที่ 20 สิงหาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมคณะครูและผู้รับผิดชอบโครงการการอบรมผู้นำอนามัยนักเรียน 2.กำหนดกิจกรรมการอบรมผู้นำอนามัยนักเรียน มอบหมายและแต่งตั้งคณะทำงาน 3.มอบหมายให้ผู้รับผิดชอบประสานงานกับวิทยากร 4.ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะครู จัดเตรียมเอกสารการอบรมผู้นำอนามัยนักเรียน และจัดเตรียมสถานที่ในการบรม 5.ดำเนินการจัดการอบรมผู้นำอนามัยนักเรียน ระหว่างวันที่ 20 - 21 สิงหาคม 2559 6.ประเมินผลการจัดกิจกรรมการอบรมผู้นำอนามัยนักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.นักเรียนเข้ารับการอบรม จำนวน 120 คน ตั้งแต่วันที่ 20 - 21 สิงหาคม 2559 2.นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถนำความรู้ไปสู่การปฏิบัติ 3.นักเรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 4.นักเรียนที่ได้รับการอบรมเป็นแกนนำในการปฏิบัติกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพอนามัยของโรงเรียน

     

    150 175

    6. การพัฒนาศักยภาพบุคลากร

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมคณะครูและบุคลากรทางการศึกษา
    2. แจ้งกิจกรรมการดำเนินการ
    3. จัดกิจกรรมตามโครงการที่กำหนดไว้
    4. สรุปและรายงานผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ครูได้รับความรู้กระบวนการทำงาน
    2. โรงเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมตามโครงการ
    3. โรงเรียนเป็นต้นแบบการจัดการเรียนรู้โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน
    4. ผลผลิตที่ได้สามารถนำมาสนับสนุนงานได้

     

    2 2

    7. การเลี้ยงปลา

    วันที่ 17 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมคณะครูและบุคลากรทางการศึกษา
    2. แจ้งกิจกรรมการดำเนินการ
    3. ดำเนินการจัดซื้อวัสดุตามโครงการ
    4. จัดกิจกรรมตามโครงการที่กำหนดไว้
    5. สรุปและรายงานผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้รับความรู้กระบวนการทำงาน เรื่องการเลี้ยงปลา
    2. โรงเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมการเลี้ยงปลา(การเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน)
    3. โรงเรียนเป็นต้นแบบการจัดการเรียนรู้โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน
    4. ผลผลิตที่ได้สามารถนำมาสนับสนุนงานโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียนได้

     

    0 546

    8. กิจกรรมการปลูกผัก

    วันที่ 21 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมคณะครูและบุคลากรทางการศึกษา
    2. แจ้งกิจกรรมการดำเนินการ
    3. ดำเนินการจัดซื้อวัสดุตามโครงการ
    4. จัดกิจกรรมตามโครงการที่กำหนดไว้
    5. สรุปและรายงานผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้รับความรู้กระบวนการทำงาน เรื่องการปลูกผัก
    2. โรงเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมการปลูกผัก(การเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน)
    3. โรงเรียนเป็นต้นแบบการจัดการเรียนรู้โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน
    4. ผลผลิตที่ได้สามารถนำมาสนับสนุนงานโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียนได้

     

    966 966

    9. การสร้างเสริมสุขภาพอนามัยของนักเรียน

    วันที่ 24 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมคณะครูและบุคลากรทางการศึกษา
    2. แจ้งกิจกรรมการดำเนินการ
    3. ดำเนินการจัดซื้อวัสดุตามโครงการ
    4. จัดกิจกรรมตามโครงการที่กำหนดไว้
    5. สรุปและรายงานผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้รับความรู้ ทักษะกระบวนการส่งเสริมสุขภาพอนามัย
    2. นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพตามโครงการ

     

    971 971

    10. การประชุม ผู้ปกครอง นักเรียนแกนนำ

    วันที่ 2 ธันวาคม 2016 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมคณะครูและบุคลากรทางการศึกษา
    2. แจ้งกิจกรรมการดำเนินการ
    3. ดำเนินการจัดซื้อวัสดุตามโครงการ
    4. จัดกิจกรรมตามโครงการที่กำหนดไว้
    5. สรุปและรายงานผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผู้ปกครองมีความรู้ควาเข้าใจ ในเรื่องการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพอนามัย
    2. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
    3. เกิดความร่วมมือกันระหว่างโรงเรียนและชุมชน

     

    266 251

    11. กิจกรรมเลี้ยงไก่

    วันที่ 8 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมคณะครูและบุคลากรทางการศึกษา
    2. แจ้งกิจกรรมการดำเนินการ
    3. ดำเนินการจัดซื้อวัสดุตามโครงการ
    4. จัดกิจกรรมตามโครงการที่กำหนดไว้
    5. สรุปและรายงานผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้รับความรู้กระบวนการทำงาน เรื่องการเลี้ยงไก่
    2. โรงเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมการเลี้ยงไก่(การเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน)
    3. โรงเรียนเป็นต้นแบบการจัดการเรียนรู้โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน
    4. ผลผลิตที่ได้สามารถนำมาสนับสนุนงานโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียนได้

     

    966 1,012

    12. จัดนิทรรศการ การเรียนรู้เด็กไทยสุขภาพดี

    วันที่ 20 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมคณะครูและบุคลากรทางการศึกษา
    2. แจ้งกิจกรรมการดำเนินการ
    3. ดำเนินการจัดซื้อวัสดุตามโครงการ
    4. จัดกิจกรรมตามโครงการที่กำหนดไว้
    5. สรุปและรายงานผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. จัดนิทรรศการการเรียนรู้เด็กไทยสุขภาพดี
    2. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

     

    986 971

    13. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ

    วันที่ 20 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ

     

    3 3

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมกิจกรรมงานด้านคุณภาพอนามัยนักเรียนของโรงเรียนได้อย่างมีมาตรฐาน
    ตัวชี้วัด : มีการจัดกิจกรรมงานด้านการส่งเสริมสุขภาพอนามัยของโรงเรียนได้อย่างมีมาตรฐาน
    1. มีแผนการดำเนินงาน
    2. มีการประชุม
    3. มีการดำเนินตามแผน
    4. มีการติดตามการดำเนินงาน
    5. รายงานผลการดำเนินงาน
    2 เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
    ตัวชี้วัด : นักเรียนเจริญเติบโตสมวัยโดยมี ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ไม่เกิน ร้อยละ 20.72 ภาวะค่อนข้างผอมและผอม ไม่เกิน ร้อยละ 9.77 ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ย ไม่เกิน ร้อยละ 1.33 ดูส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ(กรณีท่ภาวะโภชนการไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดให้ลดลงจากเดิมไม่น้อยกว่า 0.5 ต่อปี)
    1. บันทึกน้ำหนังกส่วนสูงต้นเทอม และปลายเทอม
    2. สังเคราะห์ข้อมูล
    3 เพื่อเพิ่มผลผลิตของโครงการเกษตร เน้นให้นักเรียนปลูกผักและเลี้ยงสัตว์ และนำผลผลิตสนับสนุนโครงการอาหารกลางวัน
    ตัวชี้วัด : นักเรียนได้กินผัก - ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้นในมื้อกลางวัน เฉลี่ย ผักวันละประมาณ 20 กรัม อนุบาล 1 ช้อน (20 กรัม) ประถม 2 ช้อน (40 กรัม) ผลไม้ (อนุบาล 2 ส่วน ประถม 2 ส่วน) ต่อมื้อต่อคน
    1. บันทึกข้อมูลรายการอาหารโดยโปรแกรม Thai School Lunch
    4 เพื่อส่งเสริมงานด้านสุขภาพอนามัยให้กับนักเรียนและขยายผลสู่ชุมชน
    ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองและคนในชุมชนให้ความร่วมมือในการดำเนินงาน
    1. จัดการประชุมผู้ปกครอง นักเรียน
    2. ให้ความรู้กับผู้ปกครองเรื่องภาวะทางโภชนาการและสุขภาพอนามัย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมกิจกรรมงานด้านคุณภาพอนามัยนักเรียนของโรงเรียนได้อย่างมีมาตรฐาน (2) เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ (3) เพื่อเพิ่มผลผลิตของโครงการเกษตร เน้นให้นักเรียนปลูกผักและเลี้ยงสัตว์ และนำผลผลิตสนับสนุนโครงการอาหารกลางวัน (4) เพื่อส่งเสริมงานด้านสุขภาพอนามัยให้กับนักเรียนและขยายผลสู่ชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

    ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านแม่ระเมิง

    รหัสโครงการ ศรร.1113-023 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.23 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

    วันที่เริ่มประเมิน

    1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    (ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    1. การเกษตรในโรงเรียน

    โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

    • เป็นแหล่งจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของโรงเรียนและชุมชน
    • เป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจกพอเพียง ของสำนักงานสภาการศึกษา
    • 1 โรงเรียน 1 อาชีพ
    1. จัดกิจกรรมตามโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน เช่น การเลี้ยงหมู การเลี้ยงปลา การเลี้ยงไก่ และการปลูกผัก(ผลผลิตนำมาสนับสนุนโครงการอาหารกลางวัน)
    2. เป็นแหล่งเรียนรู้ของนักเรียนและชุมชน
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    2. สหกรณ์นักเรียน

    โครงการสหกรณ์นักเรียน

    เป็นโครงการที่โรงเรียนดำเินนกิจกรรมสนองงานโรงเรียนในโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 1.เป็นโครงการที่กำหนดอยู่ในแผนปฏิบัติงานประจำปีของโรงเรียน 2.โรงเรียนดำเนินกิจกรรมตามอุดมการณ์และหลักการของสหกรณ์ ครบวงจร 3. ปี พ.ศ.2553เป็นโรงเรียนต้นแบบการจัดการเรียนรู้สหกรณ์ ระดับมัธยม ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ 4.ปี พ.ศ.2559 ได้รับรางวัล ชนะเลิศ ระดับประเทศการจัดการเรียนรู้การสหกรณ์ในโรงเรียน ประจำปีการศึกษา 2559 รางวัลพระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

    1. จัดกิจกรรมตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    2. เป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับนักเรียน ชุมชน และผู้สนใจ
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

    โครงการอาหารกลางวัน

    เป็นโรงเรียนที่จัดกิจกรรมโครงการอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน 100 เปอร์เซ็นต์ งบประมาณดำเินนงาน 1.จากงบประมาณสนับสนุน ผ่านองค์การบริหารส่วนตำบลแม่สอง 2. โรงเรียนได้รับการถอดบทเรียน งานโครงการอาหารกกลางวัน จากสำนักงานโครงการพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

    1. จัดกิจกรรมโครงการอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน
    2. ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาวะทางโภชนาการ สำหรับนักเรียนและชุมชน
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

    โครงการส่งเสริมอนามัยนักเรียน

    เป็นโรงเรียนที่จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพภาวะโภชนาการนักเรียน 1. ได้รับการคัดเลือกเป็นโรงเรียที่มีแนวปฏิบัติที่ดีจากสำนักงานเขตพื้นที่กาศึกษาประถมศึกษาตากเขต 2 และศูนย์อนามัยพิษณุโลกเขต 3

    1. จัดกิจกรรมการส่งเสริมการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชกนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียนในปีการศึกษา 2560
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

    โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

    เป็นโรงเรียนที่จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน - ได้รับการคัดเลือกเป็นโรงเรียนที่มีแนวปฏิบัติที่ดี ด้านสุขภาพอนามัยนักเรียน จากสำนักงานโครงการพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

    1. จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียนในปีการศึกษา 2560
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

    กิจกรรมโครงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม - จิตอาสา

    เป็นโรงเรียนที่จัดกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม มีการดำเนินการตามแผนฯ(จิตอาสา)
    -กิจกรรมแม่ปลูกลูกรักษา -กิจกรรมปลูกหญ้าแฝก -กิจกรรมฝายชะลอน้ำ -กิจกรรมการทำแนวกันไฟ

    1. จัดกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ในปีการศึกษา 2560
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

    โครงการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

    กิจกรรมการจัดการเรียนรู้สหกรณ์นักเรียน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้การเกษตร การจัดกิจกรรมการเรียนรู้อนามัยนักเรียน

    จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ปีการศึกษา 2560

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    9. อื่น ๆ

     

     

     

    2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

    1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

    1.สำนักงานโครงการพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 2.สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2 3.สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสภขภาพ (สสส.) 4. สำนักงานปศุสัตว์ จังหวัดตาก 5. สำนักงานประมง จังหวัดตาก 6. สำนักงานสหกรณ์และตรวจบัญชี จังหวัดตาก 7. องค์การบริหารส่วนตำบลแม่สอง

    2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

    1. มีแหล่งน้ำ
    2. มีสภาพอากาศที่เหมาะกับการดำเนินงนตามกิจกรรม

    3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

    1. ผู้บริหารโรงเรียน
    2. ครูผู้รับผิดชอบโครงการ
    3. นักเรียนและผู้ปกครอง
    4. งบประมาณดำเนินงาน

    4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

    1. มีแผนการดำเนินงาน
    2. ปฏิบัติกิจกรรมตามแผนการดำเนินงาน

    5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

    1. ประชาสัมพันธ์กิจกรรมการดำเนินงานของโรงเรียน 2.จัดการประชุมผู้ปกครอง 3.จัดแหล่งเรียนรู้ เพื่อให้ผู้ปกครองได้เข้ามาศึกษาหาความรู้
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

    1.มีกิจกรรมการที่กกำหนด 2.มีผลผลิตที่เกิดจากการดำเนินงานตามกิจกรรม 3.ผลผลตที่ได้นำมาขายให้กับโครงการสหกรณ์ของโรงเรียน 4.โครงการอาหารกลางวันซื้อผลผลิตที่ได้ไปใช้ในการจัดทำโครงการอาหารกลางวัน 5.มีการจัดทำระบบบัญชีที่ได้จากการดำเนินกิจกรรม

    1.ระบบบัญชีโครงการผลิตผัก 2.ระบบบัญชีของโครงการสหกรณ์โรงเรียน 3.รูปภาพกิจกรรม

    จัดกิจกรรมโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน (การปลูกผัก) ปีการศึกษา 2560

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

    จัด1.มีกิจกรรมการที่กกำหนด 2.มีผลผลิตที่เกิดจากการดำเนินงานตามกิจกรรม 3.ผลผลตที่ได้นำมาขายให้กับโครงการสหกรณ์ของโรงเรียน 4.โครงการอาหารกลางวันซื้อผลผลิตที่ได้ไปใช้ในการจัดทำโครงการอาหารกลางวัน 5.มีการจัดทำระบบบัญชีที่ได้จากการดำเนินกิจกรรมกิจกรรมโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน (การเลี้ยงสัตว์) ปีการศึกษา 2560

    1.ระบบบัญชีโครงการเลี้ยงสัตว์ 2.ระบบบัญชีของโครงการสหกรณ์โรงเรียน 3.รูปภาพกิจกรรม

    จัดกิจกรรมโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน (การเลี้ยงสัตว์) ปีการศึกษา 2560

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

    จัด1.มีกิจกรรมการที่กกำหนด 2.มีผลผลิตที่เกิดจากการดำเนินงานตามกิจกรรม 3.ผลผลตที่ได้นำมาขายให้กับโครงการสหกรณ์ของโรงเรียน 4.โครงการอาหารกลางวันซื้อผลผลิตที่ได้ไปใช้ในการจัดทำโครงการอาหารกลางวัน 5.มีการจัดทำระบบบัญชีที่ได้จากการดำเนินกิจกรรมกิจกรรมโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน (การเลี้ยงสัตว์) ปีการศึกษา 2560

    1.ระบบบัญชีโครงการเลี้ยงสัตว์ 2.ระบบบัญชีของโครงการสหกรณ์โรงเรียน 3.รูปภาพกิจกรรม

    จัดกิจกรรมโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน (การเลี้ยงสัตว์) ปีการศึกษา 2560

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

     

     

    จัดอาหารเสริมให้กับนักเรียนที่มีภาวะทางโภชนาการในตอนเช้า ในปีการศึกษา 2560

    5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

    รายการอาหารกลางวันของนักเรียน

    แบบรายการอาหารกลางวัน

    จัดกิจกรรมอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการนักเรียน ในปีการศึกษา 2560

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    รายการอาหารกลางวันของนักเรียน

    แบบรายการอาหารกลางวัน

    จัดกิจกรรมอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการนักเรียน ในปีการศึกษา 2560

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    รายการอาหารกลางวันของนักเรียน

    แบบรายการอาหารกลางวัน

    จัดกิจกรรมอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการนักเรียน ในปีการศึกษา 2560

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน
    1. ประชุมวางแผนในการดำเนินงาน
    2. จัดกิจกรรมตามที่กำหนด
    • รูปภาพกิจกรรม

    จัดกิจกรรมการเเลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

    1.เข้ารับการอบรม 2. นำความรู้ไปใช้ในการจัดกิจกรรม

    1.แบบรายงาน Thai School Lunch

    Thai School Lunchc,xcxcxc

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่
    1. กำหนดผู้รับผิดชอบโครงการ
    2. จัดทำแบบบันทึกภาวะโภชนาการนักเรียน
    3. ตรวจ ติดตามการบันทึก 4.สรุปและจัดทำรายงาน

    1.แบบบันทึกภาวะโภชาการนักเรียน 2.แบบรายงาน

    นำข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการดำเนินงานในปีการศึกษา 2560

    3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

    สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

    ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/22562 1/12562 1/22562 2/12562 2/2
    เตี้ย 12.61 12.61% 11.54 11.54% 11.61 11.61% 10.55 10.55% 3.90 3.90% 3.63 3.63% 3.65 3.65% 9.00 9.00% 15.30 15.30% 14.16 14.16% 14.39 14.39% 21.11 21.11% 15.55 15.55% 12.62 12.62% 10.74 10.74% 10.92 10.92% 10.45 10.45% 9.23 9.23% 10.84 10.84% 8.27 8.27%
    เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 28.56 28.56% 26.34 26.34% 26.41 26.41% 24.53 24.53% 18.25 18.25% 15.48 15.48% 15.57 15.57% 23.29 23.29% 32.03 32.03% 29.34 29.34% 30.52 30.52% 38.57 38.57% 31.79 31.79% 30.07 30.07% 21.92 21.92% 21.25 21.25% 22.03 22.03% 19.18 19.18% 21.11 21.11% 18.99 18.99%
    ผอม 9.59 9.59% 7.80 7.80% 7.60 7.60% 6.62 6.62% 4.32 4.32% 2.23 2.23% 2.23 2.23% 1.86 1.86% 1.30 1.30% 1.15 1.15% 2.47 2.47% 1.74 1.74% 1.68 1.68% 0.99 0.99% 1.16 1.16% 1.02 1.02% 4.38 4.38% 0.57 0.57% 1.00 1.00% 0.73 0.73%
    ผอม+ค่อนข้างผอม 24.39 24.39% 20.41 20.41% 19.71 19.71% 17.66 17.66% 20.47 20.47% 5.99 5.99% 6.01 6.01% 5.72 5.72% 6.09 6.09% 5.04 5.04% 6.70 6.70% 5.66 5.66% 6.72 6.72% 4.82 4.82% 3.34 3.34% 3.34 3.34% 7.06 7.06% 2.98 2.98% 3.14 3.14% 3.06 3.06%
    อ้วน 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.43 0.43% 0.29 0.29% 0.14 0.14% 0.15 0.15% 0.15 0.15% 0.56 0.56% 0.57 0.57% 0.58 0.58% 0.73 0.73% 0.71 0.71% 0.57 0.57% 0.71 0.71% 0.87 0.87%
    เริ่มอ้วน+อ้วน 0.00% 0.00% 0.16% 0.16% 0.16% 0.16% 0.16% 0.16% 0.00% 0.00% 0.14% 0.14% 0.14% 0.14% 1.86% 1.86% 2.03% 2.03% 1.44% 1.44% 0.87% 0.87% 1.45% 1.45% 2.10% 2.10% 2.55% 2.55% 2.03% 2.03% 2.47% 2.47% 2.82% 2.82% 2.70% 2.70% 3.00% 3.00% 2.91% 2.91%
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

    เนื่องจากต้นเทอมนักเรียนมีภาวะผอมและค่อนข้างผอม จึงได้จัดให้ทำอาหารให้กับเด็กที่มีภาวะผอมและค่อนข้างผอม ทำให้เด็กมีน้ำหนักเพิ่มขึ้น

    แบบบันทึกภาวะโภชการนักเรียน

    นำข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการดำเนินงานในปีการศึกษา 2560

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

    เนื่องจากต้นเทอมนักเรียนมีภาวะผอมและค่อนข้างผอม จึงได้จัดให้ทำอาหารให้กับเด็กที่มีภาวะผอมและค่อนข้างผอม ทำให้เด็กมีน้ำหนักเพิ่มขึ้น

    แบบบันทึกภาวะโภชการนักเรียน

    นำข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการดำเนินงานในปีการศึกษา 2560

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

    เนื่องจากต้นเทอมนักเรียนมีภาวะผอมและค่อนข้างผอม จึงได้จัดให้ทำอาหารให้กับเด็กที่มีภาวะผอมและค่อนข้างผอม แต่ด้วยสถานการณ์ดังกล่าวความสูงของเด็กยังคงเดิมแต่เด็กน้ำหนักเพิ่มขึ้นทำให้เด็กมีภาวะเตี้ยและค่อนข้างเตี้ยเพิ่มขึ้น

    แบบบันทึกภาวะโภชการนักเรียน

    นำข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการดำเนินงานในปีการศึกษา 2560

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

     

     

    นำข้อมูลนักเรีนรายบุคคลใน ปีการศึกษา 2559 ไปดำเนินการในปีการศึกษา 2560

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

     

     

    นำข้อมูลนักเรีนรายบุคคลใน ปีการศึกษา 2559 ไปดำเนินการในปีการศึกษา 2560

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

    1.สำนักงานโครงการพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 2.สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2 3.สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสภขภาพ (สสส.) 4. สำนักงานปศุสัตว์ จังหวัดตาก 5. สำนักงานประมง จังหวัดตาก 6. สำนักงานสหกรณ์และตรวจบัญชี จังหวัดตาก 7. องค์การบริหารส่วนตำบลแม่สอง

    หมายเหตุ *

    • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    โรงเรียนบ้านแม่ระเมิง จังหวัด ตาก

    รหัสโครงการ ศรร.1113-023

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสมศักดิ์วุฒิสัตย์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด