ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนทองทิพย์วิทยา

รหัสโครงการ ศรร.1112-017 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.17 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

ศูนย์การเรียนรู้ในโรงเรียน

เป็นศูนย์การเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆที่มีในโรงเรียนได้แก่ -โรงเพาะเห็ด -โรงเลี้ยงไก่ไข่ -บ่อเลี้ยงกบ -บ่อเลี้ยงปลาดุก -การปลูกผักไร้ดิน(Hydroponics)-ธนาคารโรงเรียน - สหกรณ์โรงเรียน ซึ่งทำให้เด็กได้เกิดการจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

นักเรียนสามารถนำสื่งที่เรียนรู้จากศูนย์การเรียนรู้ในโรงเรียนนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน และสามารถนำไปขยายผลไปยังครอบครัวของนักเรียนเพื่อสร้างเป็นอาชีพ หรือรายได้เสริมต่อไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

โรงเรียนมีเครือข่ายความร่วมมือด้านองค์ความรู้ และวัสดุอุปกรณ์ เช่น 1. สนง.พัฒนาที่ดิน จ.ลำปาง ให้ความรู้เรื่องการทำปุ๋ย การปรับปรุงคุณภาพดิน โดยเข้ามาให้ความรู้กับนักเรียนภาคเรียนละ 2 ครั้ง 2. สนง.เกษตร อ.แม่ทะ เข้ามาให้ความรู้กับนักเรียนเรื่องการปลูกผัก และแจกพันธุ์ผักให้กับโรงเรียนและนักเรียนไปปลูกที่บ้าน 3. เทศบาลตำบลน้ำโจ้ สนับสนุนงบประมาณในการจัดทำกิจกรรมเกษตรและโครงการอาหารกลางวัน 4. กรมชลประทาน เข้ามาให้ความรู้การจัดการแหล่งน้ำในชุมชน

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

โรงเรียนมีโรงอาหารที่ถูสุขลักษณะ แม่ครัวมีการตรวจสุขภาพประจำปี และมีการตรวจสอบหาเชื้อโรคในภาชนะเป็นประจำ
โรงเรียนมีพื้นที่การเกษตรจำนวน 2 ไร่ เป็นพื้นที่ปลูกผัก/เลี้ยงไก่/ปลา/กบ/เพาะเห็ด มีนักเรียนตั้งแต่ อบ.1 - ม.3 มีอาคารสถานที่สะอาด ปลอดภัย

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

ผู้บริหารสถานศึกษา คณะครู นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้นำชุมชน โรงเรียนในเครือข่ายให้ความสนับสนุนและร่วมมือในการจัดทำกิจกรรม

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

ได้จัดการสร้างองค์ความรู้ด้วยการศึกษาและดูงานโรงเรียนต้นแบบ และนำมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินโครงการ พร้อมทั้งมีการบันทึกข้อมูลและหาวิธีการแก้ปัญหารอุปสรรคในการพัฒนาต่อไป

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

ตามโครงการของโรงเรียนเป็นกระบวนการที่มีส่วนร่วมของบุคลากร ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งภายใน คือครู และภายนอกโรงเรียน คือผู้ปกครอง ให้ร่วมรับผิดชอบภารกิจตามความจำเป็นและเหมาะสม มีการประชุมหารือ สรุปผลเพื่อเป็นการรายงานและตรวจสอบงานตามปฎิทินการปฎิบัติงาน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

โรงเรียนมีความสามารถในการผลิตผัก เช่น
กระกล่ำปลี ผักบุ้ง และชนิดอื่นๆ ได้ปริมาณต่อวันมากกว่า 10 กิโลกรัม และโรงเรียนมีการซื้อวัตถุดิบเพิ่มจากท้องตลาด (ซึ่งมีการใช้สารเคมีในการผลิต) ซึ่งเมื่อเป็นวัตถุดิบจากท้องตลาดก็จะมีการทำการล้างโดยใช้เกลือแกง หรือสารส้ม เพื่อล้างสารเคมี ทำให้ความปลอดภัยเพิ่มมากขึ้นก่อนนำมาปรุงอาหาร

  • ภาพถ่ายกิจกรรม
  • โครงการอาหารกลางวัน

โรงเรียนมีการผลิตในปริมาณที่เพิ่มมากขึ้น เพื่อให้เพียงพอต่อการประกอบอาหารในโรงเรียน และให้มีการจัดตั้งกลุ่มเครื่อข่ายชุมชนในการผลิตผักที่ปลอดภัย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

โรงเรียนเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ จำนวน 100 ตัว จะได้ไข่ไก่ประมาณวันละ 85 ฟอง สามารถนำมาทำอาหารกลางวันให้กับนักเรียนและมีการขายให้แก่ชุมชนผ่านร้านค้าสหกรณ์โรงเรียน

  • ภาพถ่าย
  • แบบบันทึก
  • แบบรายงาน

ปรับเปลี่ยนการเลี้ยงไก่จากเลี้ยงในกรง เป็นการเลี้ยงปล่อยในพื้นที่จำกัด เลี้ยงแบบอินทรีย์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

โรงเรียนเลี้ยงกบ 500 ตัว/รอบ และปลา 500 ตัว/รอบ(ในบ่อซีเมนต์)

  • ภาพถ่าย
  • แบบบันทึก
  • แบบรายงาน

นำระบบน้ำจากการเลี้ยงกบเลี้ยงปลาไปหมุนเวียนใช้ในการเกษตร

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

โรงเรียนไม่มีการบริหารอาหารเช้า โดยเน้นย้ำทางผู้ปกครองนักเรียนให้นักเรียนรับประทานอาหารเช้าก่อนมาเรียน

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

มีการจัดเมนูThai school lunch ให้แม่ครัวเป็นรายสัปดาห์ จึงสามารถจัดเมนูอาหารที่เหมาะสมให้แก่เด็กและจัดผลไม้เป็นอาหารว่างให้เด็กทุกวัน มีครูประจำชั้นที่คอยกำกับ ติดตาม ในการรับประทานผักของเด็ก เพื่อให้เด็กรับประทานอาหารกลางวันหมดก่อนนำภาชนะไปล้าง

  1. แบบบันทึกเมนูอาหารกลางวัน
  2. ภาพถ่าย

ให้ความรู้เรื่องการจัดเมนูอาหารที่เหมาะสมกับผู้ปกครอง เพื่อนำไปจัดให้กับบุตรหลานของตนเองได้อย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

มีการจัดเมนูThai school lunch ให้แม่ครัวเป็นรายสัปดาห์ จึงสามารถจัดเมนูอาหารที่เหมาะสมให้แก่เด็กและจัดผลไม้เป็นอาหารว่างให้เด็กทุกวัน มีครูประจำชั้นที่คอยกำกับ ติดตาม ในการรับประทานผักของเด็ก เพื่อให้เด็กรับประทานอาหารกลางวันหมดก่อนนำภาชนะไปล้าง

  1. แบบบันทึกเมนูอาหารกลางวัน
  2. ภาพถ่าย

ให้ความรู้เรื่องการจัดเมนูอาหารที่เหมาะสมกับผู้ปกครอง เพื่อนำไปจัดให้กับบุตรหลานของตนเองได้อย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

มีการจัดเมนูThai school lunch ให้แม่ครัวเป็นรายสัปดาห์ จึงสามารถจัดเมนูอาหารที่เหมาะสมให้แก่เด็กและจัดผลไม้เป็นอาหารว่างให้เด็กทุกวันครูผู้สอนให้ความรู้ด้านโภชนาการอาหารปลอดภัยและการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์เน้นการทานผักและผลไม้แก่นักเรียน

  1. แบบบันทึกเมนูอาหารกลางวัน
  2. ภาพถ่าย

ให้ความรู้เรื่องการจัดเมนูอาหารที่เหมาะสมกับผู้ปกครอง เพื่อนำไปจัดให้กับบุตรหลานของตนเองได้อย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

ชุมชนยังมีวิธีการผลิตโดยการใช้สารเคมี โรงเรียนจึงลดปริมาณการซื้อจากแหล่งภายนอกและมีการวางแผนที่จะเพิ่มปริมาณการผลิตเพื่อให้เพียงพอกับความต้องการในโครงการอาหารกลางวัน

 

ให้ความรู้กับผู้ปกครอง ชุมชนและกลุ่มเครือข่ายเรื่องการผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษสำหรับรับประทานและจำหน่าย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

มีการจัดทำเมนู Thai School Lunch เป็นรายสัปดาห์และรายเดือน ให้แม่ครัวจัดทำตามเมนูแต่บางครั้งก็ไม่เป็นไปตามเมนูเนื่องจากปัญหาด้านวัตถุดิบที่ใช้จัดทำ

  1. แบบบันทึกเมนู Thai School Lunch
  2. ภาพถ่าย

ให้ความรู้ผู้ปกครองเรื่องการจัดทำเมนูอาหารที่เหมาะสมกับนักเรียนในแต่ละช่วงอายุ เพื่อนำไปใช้ในการจัดเมนูอาหารให้กับบุตรหลาน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการประเมินภาวะโภชนาการนักเรียนโดยการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงอย่างต่อเนื่องเดือนละ 1 ครั้ง

  1. แบบบันทึกน้ำหนักส่วนสูง
  2. ภาพถ่าย

นำผลการประเมินมาดำเนินการ

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/2
เตี้ย 3.23 3.23% 0.83 0.83% 3.10 3.10% 0.78 0.78% 3.91 3.91% 2.34 2.34%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 10.48 10.48% 4.96 4.96% 6.98 6.98% 2.33 2.33% 10.16 10.16% 8.59 8.59%
ผอม 7.26 7.26% 6.61 6.61% 6.98 6.98% 3.88 3.88% 3.13 3.13% 1.56 1.56%
ผอม+ค่อนข้างผอม 15.32 15.32% 14.88 14.88% 14.73 14.73% 10.08 10.08% 10.16 10.16% 6.25 6.25%
อ้วน 4.84 4.84% 4.13 4.13% 8.53 8.53% 6.20 6.20% 7.81 7.81% 5.47 5.47%
เริ่มอ้วน+อ้วน 12.10% 12.10% 14.05% 14.05% 15.50% 15.50% 12.40% 12.40% 13.28% 13.28% 8.59% 8.59%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

-จัดกิจกรรมให้นักเรียนออกกำลังกายในตอนเช้าก่อนเข้าเรียน - จัดระบบข้อมูลพัฒนาการนักเรียน - ประเมินภาวะโภชนาการ(น้ำหนัก,ส่วนสูง) - ติดตามเด็กเริ่มอ้วน (บันทึก) กินอาหารแต่ละมื้อให้น้อยลง ค่อยๆลดจำกัดอาหารแป้ง หวาน และไขมัน เพิ่ม ผักและผลไม้ปรับพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่ไม่เคลื่อนไหวใช้พลังงาน ออกกำลังกายให้ได้อย่างน้อยวันละ 30 นาที ขอความร่วมมือจากคนในครอบครัวในเรื่องอาหารที่บ้าน เช่น ไม่ซื้อขนม น้ำอัดลม งดของทอด ของมัน
-จัดอบรมแก้ปัญหาทุพโภชนการของนักเรียน โดยจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลรักษาสุขภาพ การรับประทานให้กับนักเรียนและผู้ปกครองของนักเรียนที่มีปัญหาทุพโภชนการ โดยมีวิทยากรจากโรงพยาบาลแม่ทะ

1.บันทึกนำ้หนัก-ส่วนสูง 2.ภาพถ่ายกิจกรรม

ติดตามการดูแลสุขภาพของนักเรียนโดยการออกเยี่ยมบ้านและให้คำแนะนำผู้ปกครอง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

-จัดอบรมแก้ปัญหาทุพโภชนการของนักเรียน โดยจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลรักษาสุขภาพ การรับประทานให้กับนักเรียนและผู้ปกครองของนักเรียนที่มีปัญหาทุพโภชนการ โดยมีวิทยากรจากโรงพยาบาลแม่ทะ

1.บันทึกน้ำหนัก-ส่วนสูง 2.ภาพถ่ายกิจกรรม

ติดตามการดูแลสุขภาพของนักเรียนโดยการออกเยี่ยมบ้านและให้คำแนะนำผู้ปกครอง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

-ให้นักเรียนออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ เช่นกระโดดเชือด โหนบาร์
-ดื่มนำเป็นประจำ -จัดอบรมแก้ปัญหาทุพโภชนการของนักเรียน โดยจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลรักษาสุขภาพ การรับประทานให้กับนักเรียนและผู้ปกครองของนักเรียนที่มีปัญหาทุพโภชนการ โดยมีวิทยากรจากโรงพยาบาลแม่ทะ

1.บันทึกน้ำหนัก-ส่วนสูง
2.ภาพถ่ายกิจกรรม

ติดตามการดูแลสุขภาพของนักเรียนโดยการออกเยี่ยมบ้านและให้คำแนะนำผู้ปกครอง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

1.ให้ความรู้ด้านโภชนาการ และการรับประทานอาหาร ให้ครบ 5 หมู่ ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน วิตามิน เกลือแร่ และไขมัน ดื่มนมจืดวันละ 2-3 แก้ว ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ 2-3 ครั้ง/สัปดาห์ ครั้งละ 20-30 นาที 2.ให้นักเรียนนำผักไปปลูกที่บ้าน เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานผักที่ปลูกเอง 3.ให้นักเรียนลดขนมหวาน ขนมกรุบกรอบ อาหารประเภทหวานมัน และน้ำอัดลม เพื่อป้องกันโรคอ้วน

1.บันทึกน้ำหนัก-ส่วนสูง
2.ภาพถ่ายกิจกรรม

ติดตามการดูแลสุขภาพของนักเรียนโดยการออกเยี่ยมบ้านและให้คำแนะนำผู้ปกครอง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

1.จัดอบรมแก้ปัญหาทุพโภชนการของนักเรียน โดยจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลรักษาสุขภาพ การรับประทานให้กับนักเรียนและผู้ปกครองของนักเรียนที่มีปัญหาทุพโภชนการ โดยมีวิทยากรจากโรงพยาบาลแม่ทะ 2.ให้ผู้ปกครอง ดูและสุขภาพของนักเรียนที่บ้าน - ปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ ในครัวเรือนตามความเหมาะสม

1.บันทึกน้ำหนัก-ส่วนสูง
2.ภาพถ่ายกิจกรรม

ติดตามการดูแลสุขภาพของนักเรียนโดยการออกเยี่ยมบ้านและให้คำแนะนำผู้ปกครอง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

-นักเรียนมีความสุขในการมาเรียน สุขภาพกายแข็งแรง สุขภาพจิตดี มีกิจนิสัยที่ดี เช่น ความรับผิดชอบ ความสามัคคี มีคุณธรรม มีความซื่อสัตย์ -ชุมชนมีความพึงพอใจในการบริหารจัดการศึกษา

แบบประเมินความพึงพอใจ การสัมภาษณ์ การสอบถาม

ดำเนินการตามโครงการเพื่อให้นักเรียนมีสขภาวดีที่ดีต่อไป

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

โรงเรียนมีเครือข่ายความร่วมมือด้านองค์ความรู้ และวัสดุอุปกรณ์ เช่น 1. สนง.พัฒนาที่ดิน จ.ลำปาง ให้ความรู้เรื่องการทำปุ๋ย การปรับปรุงคุณภาพดิน โดยเข้ามาให้ความรู้กับนักเรียนภาคเรียนละ 2 ครั้ง 2. สนง.เกษตร อ.แม่ทะ เข้ามาให้ความรู้กับนักเรียนเรื่องการปลูกผัก และแจกพันธุ์ผักให้กับโรงเรียนและนักเรียนไปปลูกที่บ้าน 3. เทศบาลตำบลน้ำโจ้ สนับสนุนงบประมาณในการจัดทำกิจกรรมเกษตรและโครงการอาหารกลางวัน 4. กรมชลประทาน เข้ามาให้ความรู้การจัดการแหล่งน้ำในชุมชน

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh