ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนเทศบาลวัดหนองผา

รหัสโครงการ ศรร.1123-026 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.26 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

นำวัสดุเหลือใช้มาใช้ใหม่แทนกระถางต้นไม้การทำสวนครัวแนวตั้งเนื่องจากมีพื้นที่น้อยและเน้นการจัดการเกษตรเพื่อศึกษา

มีการรณรงค์ให้มีการปลูกพืชสวนครัว ในภาชนะที่หาได้ง่ายโดยไม่ต้องซื้อเพื่อบริโภคในครัวเรือน

ส่งเสริมให้นักเรียนมีการทำเกษตรมากขึ้นอย่างน้อยทุกครัวเรือนต้องมีเพื่อการบริโภค

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

นักเรียนมีส่วนร่วมในการกำหนดเมนูอาหารเองมีการดูแลซึ่งกันและกันพี่สอนและดูแลน้องตรวจสอบคุณภาพอาหารกลางวัน

นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดเมนูอาหารในแต่ละสัปดาห์ ทำให้เกิดประสบการณ์ตรงมีทักษะด้านโภชนาการโดยใช้โปรแกรมThaiSchool Lunch

ปลูกฝังการรู้จักการเลือกบริโภคอาหารให้ถูกสุขลักษณะรู้จักการนำความรู้ไปแนะนำผู้อื่นได้

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

มีการจัดตั้งกลุ่มเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการในโรงเรียน โดยใช้ชื่อว่า“หนูอิ่ม” หน้าที่สอดส่องดูแลการบริโภคอาหารและกลุ่มเสี่ยงภาวะโภชนาการ

มีการชี้แจงกลุ่ม "หนูอิ่ม"ตามความสมัครใจและหน้าที่การปฏิบัติงานภายในโรงเรียนและมีการติดตามผลสรุปทุกสัปดาห์

ขยายความรู้ไปยังชุมชนและทำอย่างต่อเนื่อง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

มีการร่วมมือกับหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เช่นโรงพยาบาลสาธารณสุข การท่องเที่ยวและกีฬา เป็นต้นส่งเสริมการออกกำลังกายที่ตนชอบ

มีการประสานงานระหว่างหน่วยงานในกรณีที่โรงเรียนไม่สามารถแก้ปัญหาเองได้ เช่นภาวะอ้วนได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่ง คือโรงพยาบาลสาธารณสุขเทศบาล มหาวิทยาลัยราชภัฎเป็นต้น

ขยายความรู้ไปยังชุมชนและทำอย่างต่อเนื่อง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

การผลิตสเปรย์ไล่ยุงจากธรรมชาติ การทำผลิตภัณฑ์ปลอดสารพิษใช้ในครัวเรือน

เกิดจากมีการระบาดของไข้เลือดออกในชุมชน นักเรียนจึงรวมกลุ่มกันทำสเปรย์ไล่ยุงจากพืชที่มีอยู่ในชุมชนมีการขยายผลจนเป็นที่ยอมรับและยังได้สนใจผลิตภัณฑ์ปลอดสารที่นำมาใช้ในโรงเรียนเพื่อลดค่าใช้จ่าย เช่น น้ำยาล้างจาน น้ำหมักเป็นต้น

นำผลิตภัณฑ์ออกจำหน่ายในชุมชน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

ประสานและขอความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นๆในการดูแลสุขภาพของนักเรียนและมีบริการสุขภาพตลอดปี

การได้รับความร่วมมือจากหลายหน่วยงานมาดูแลสุขภาพในหลายๆด้าน เช่น การฉีดวัคซีน การเฝ้าระวังโรคติดต่อ ทันตกรรม

ขยายผลไปยังชุมชนใกล้เคียง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

การดำเนินงานสำเร็จได้ด้วยความร่วมมือจากหน่วยงานภาคีเครือข่ายเช่น โรงพยาบาลสาธารณสุข การท่องเที่ยวและกีฬา เทศบาล มหาวิทยาลัยราชภัฎ ชุมชนที่ให้ความอนุเคราะห์ในด้านความรู้และนำบริการสุขภาพต่างๆมาให้บริการอย่างสม่ำเสมอและให้คำแนะนำอย่างต่อเนื่อง

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

เนื่องจากโรงเรียนตั้งอยู่ใกล้ชุมชนและหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องการขอความช่วยเหลือและการให้บริการจึงสะดวก

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

ทีมงานมีความมุ่งมั่นที่จะแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในโรงเรียนได้รับการสนับสนุนจากฝ่ายบริหารอย่างจริงจังและเห็นความสำคัญได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองและชุมชนเป็นอย่างดีและสามารถเห็นผลเป็นรูปธรรม

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

มีการเรียนรู้ไปพร้อมๆกันเพื่อเป็นการพัฒนาการด้านการแสดงออกการเป็นผู้นำมีการฟังความคิดเห็นรอบด้านจากผู้เกี่ยวข้องเพื่อแก้ไขปัญหาที่มีฝึกการรู้จักยอมรับฟังความคิดเห็นที่แตกต่างและสามารถนำมาวิเคราะห์สังเคราะห์ให้ใช้ได้ดีที่สุดเหมาะสมกับบริบทของตนเองมากที่สุด

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองให้ความร่วมมือดีมากใส่ใจกับสุขภาพของบุตรหลานและนำความรู้ที่ได้ไปใช้จริงในชีวิตประจำวันมีการให้คำปรึกษาแนะนำตลอดเวลา

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

เพราะโรงเรียนมีพื้นที่น้อยมากจึงปลูกได้ในแนวตั้งซึ่งเหมาะกับพืชผักผลไม้บางชนิดเท่านั้นจึงเป็นไปเพื่อการศึกษาแล้วให้นักเรียนไปต่อยอดที่บ้าน

รูปภาพ

หาเครือข่ายเพื่อส่งผลผลิตให้โรงเรียนอย่างเพียงพอ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

บริบทของโรงเรียนไม่เหมาะสมกับการเลี้ยงสัตว์เพราะตั้งอยู่ในชุมชนและติดที่พักอาศัยตามคำแนะนำของปศุสัตว์จังหวัด

รูปภาพ

นำวิทยากรมาให้ความรู้ในด้านที่นักเรียนสนใจและพาไปศึกษาดูงานในชุมชนใกล้เคียง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

มีการเลี้ยงกบ ในปริมาณไม่มากเพื่อเป็นการเรียนรู้เพราะสถานที่ไม่เหมาะสม

รูปภาพ

นักเรียนสนใจเลี้ยงปลาดุกและจิ้งหรีดโดยการไปศึกษาดูงานในแหล่งอื่นๆ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

มีร้านค้าที่อยู่ในการดูแลของอย.น้อย

รูปภาพ

โรงเรียนจัดบริการอาหารเช้าให้กับนักเรียนในราคาที่ถูกกว่า

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

โรงเรียนเป็นผู้ดำเนินการอาหารกลางวันเองจึงสามารถควบคุมได้โดยการจัดให้มีผักในปริมาณที่เหมาะสมทุกวันและมีผลไม้สามวันต่อสัปดาห์

รูปภาพ

โรงเรียนจัดเมนูหมุนเวียนตามความต้องการของนักเรียนโดยให้นักเรียนมีส่วนร่วมครูได้แนะนำว่าอาหารที่นักเรียนเลือกนั้นเหมาะสมกับวัยของนักเรียนหรือไม่ เพื่อเป็นการเรียนรู้โดยตรง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

โรงเรียนเป็นผู้ดำเนินการอาหารกลางวันเองจึงสามารถควบคุมได้โดยการจัดให้มีผักในปริมาณที่เหมาะสมทุกวันและมีผลไม้สามวันต่อสัปดาห์

รูปภาพ

โรงเรียนจัดเมนูหมุนเวียนตามความต้องการของนักเรียนโดยให้นักเรียนมีส่วนร่วมครูได้แนะนำว่าอาหารที่นักเรียนเลือกนั้นเหมาะสมกับวัยของนักเรียนหรือไม่ เพื่อเป็นการเรียนรู้โดยตรง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

โรงเรียนเป็นผู้ดำเนินการอาหารกลางวันเองจึงสามารถควบคุมได้โดยการจัดให้มีผักในปริมาณที่เหมาะสมทุกวันและมีผลไม้สามวันต่อสัปดาห์

รูปภาพ

โรงเรียนจัดเมนูหมุนเวียนตามความต้องการของนักเรียนโดยให้นักเรียนมีส่วนร่วมครูได้แนะนำว่าอาหารที่นักเรียนเลือกนั้นเหมาะสมกับวัยของนักเรียนหรือไม่ เพื่อเป็นการเรียนรู้โดยตรง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

มีเครือข่ายที่ผลิตอาหารและผักปลอดสารพิษอยู่ 2 แห่งคือ เกษตรกรรม และผักบ้านครูที่ส่งผักปลอดสารมาให้อย่างสม่ำเสมอ

รูปภาพ

ขยายแหล่งรับซื้อมากขึ้นโดยสนับสนุนให้นักเรียนผู้ปกครองและชุมชนใกล้เคียงปลูกผักปลอดสารส่งโรงอาหารของโรงเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

เนื่องจากมีการติดต่อเครือข่ายและหน่วยงานอื่นๆ รวมทั้งผู้ปกครอง อย่างสม่ำเสมอจึงเกิดความร่วมมือและสัมพันธ์อันดีระหว่างกันทำให้เกิดความร่วมมือการเฝ้าระวังในทุกด้านจะมีการแจ้งเตือนและให้คำแนะนำ

รูปภาพผลงาน

คงความสัมพันธ์อันดีและขยายผลไปยังหน่วยงานอื่นให้เห็นความสำคัญทางด้านโภชนาการ

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

ใช้โปรแกรม ThaiSchool Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์ มีการปรับเปลี่ยนเมนูอาหารบ้างตามฤดูกาลผักแต่คุณค่ายังคงเดิมหรือใกล้เคียงในโปรแกรมมากที่สุด

เมนูอาหาร

ปรับเปลี่ยนอาหารใหม่ๆแต่คงคุณค่าตามโปรแกรม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการติดตามต้นเทอม 1 ครั้งและปลายเทอมก่อนปิดภาคเรียนอีก 1 ครั้งเพื่อดูพัฒนาการของนักเรียนในระหว่างเปิดเรียนกับปิดภาคเรียน

 

ให้ความรู้นักเรียนและมีกิจกรรมการประกวดสุขภาพ

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/2
เตี้ย 3.46 3.46% 2.19 2.19% 2.19 2.19% 1.53 1.53% 1.52 1.52% 3.87 3.87% 5.48 5.48% 7.30 7.30% 5.08 5.08%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 9.43 9.43% 5.94 5.94% 5.94 5.94% 7.34 7.34% 8.23 8.23% 7.74 7.74% 10.65 10.65% 14.29 14.29% 11.75 11.75%
ผอม 4.09 4.09% 2.81 2.81% 2.81 2.81% 2.75 2.75% 1.83 1.83% 8.39 8.39% 8.39 8.39% 6.67 6.67% 5.71 5.71%
ผอม+ค่อนข้างผอม 8.81 8.81% 5.31 5.31% 5.31 5.31% 9.48 9.48% 8.54 8.54% 16.13 16.13% 16.13 16.13% 13.33 13.33% 13.02 13.02%
อ้วน 8.49 8.49% 6.25 6.25% 5.63 5.63% 6.12 6.12% 6.10 6.10% 9.03 9.03% 9.03 9.03% 10.48 10.48% 10.16 10.16%
เริ่มอ้วน+อ้วน 15.41% 15.41% 13.13% 13.13% 12.50% 12.50% 15.29% 15.29% 13.41% 13.41% 17.10% 17.10% 17.10% 17.10% 18.10% 18.10% 17.78% 17.78%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

เนื่องจากโรงเรียนอยู่ในสังคมเมือง การบริโภคอาหารของนักเรียนจึงเป็นปัญหามากถ้าโรงเรียนเปิดนักเรียนจะสามารถควบคุมน้ำหนักได้แต่เมื่อปิดเทอมการบริโภคยังตามใจตัวเองและการควบคุมของผู้ปกครองมีน้อยภาวะอ้วนจึงปรากฎเมื่อเปิดเทอมแรกแต่เมื่อเข้าสู่กระบวนการของโรงเรียนภาวะอ้วนจึงลดลง

บันทึกสุขภาพ

เน้นให้การปลูกฝังสุขนิสัยที่ยั่งยืนกับนักเรียนและผู้ปกครองมากขึ้น (โดยรวมผู้ปกครองมีรายได้น้อยและนักเรียนไม่ได้อยู่กับพ่อแม่เป็นส่วนใหญ่)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

เนื่องจากโรงเรียนอยู่ในสังคมเมือง การบริโภคอาหารของนักเรียนจึงเป็นปัญหามากถ้าโรงเรียนเปิดนักเรียนจะสามารถควบคุมการบริโภคได้แต่เมื่อปิดเทอมการบริโภคยังไม่สมบูรณ์เนื่องจากผู้ปกครองมีรายได้น้อยเป็นส่วนใหญ่นักเรียนต้องออกทำงานหารายได้ การรับประทานอาหารไม่เป็นเวลาประกอบกับส่วนใหญ๋มีครอบครัวที่ไม่พร้อม ภาวะผอมจึงปรากฎเมื่อเปิดเทอมแรก โรงเรียนจะเน้นอาหารเสริม(เน้นอาหารให้ครบมื้อ นม)ให้กับนักเรียนกลุ่มนี้พร้อมการออกกำลังกายมากขึ้น แต่เมื่อเข้าสู่กระบวนการของโรงเรียนจึงลดลง

บันทึกสุขภาพ

เน้นให้การปลูกฝังสุขนิสัยที่ยั่งยืนกับนักเรียนและผู้ปกครองมากขึ้น (โดยรวมผู้ปกครองมีรายได้น้อยและนักเรียนไม่ได้อยู่กับพ่อแม่เป็นส่วนใหญ่)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

เนื่องจากโรงเรียนอยู่ในสังคมเมือง สภาพครอบครัวส่วนใหญ่จะหาเช้ากินค่ำ ไม่ได้อยู่กับพ่อแม่หรือผู้ปกครองมีรายได้น้อยไม่แน่นอนการบำรุงอาหารที่ถูกสุขลักษณะตั้งแต่ตอนตั้งครรภ์มีน้อยประกอบกับในวัยทารกได้รับอาหารที่ไม่ครบจึงมีภาวะร่างกายที่ไม่สมบูรณ์โรงเรียนจึงเน้นการดื่มนมและการออกกำลังกายให้นักเรียนอย่างสม่ำเสมอ

บันทึกสุขภาพ

เน้นให้การปลูกฝังสุขนิสัยที่ยั่งยืนกับนักเรียนและผู้ปกครองมากขึ้น (โดยรวมผู้ปกครองมีรายได้น้อยและนักเรียนไม่ได้อยู่กับพ่อแม่เป็นส่วนใหญ่)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

จะแบ่งกลุ่มนักเรียนตามภาวะที่ปรากฎและเน้นให้ความรู้เน้นอาหารที่เหมาะกับกลุ่มนักเรียนควบคุมการออกกำลังกายที่ถูกต้องและพบแพทย์ให้ความรู้ผู้ปกครอง

รูปภาพบันทึกสุขภาพ

เน้นให้ความรู้ผู้ปกครองมากขึ้นและบ่อยครั้งขึ้นจัดให้มีการประกวดแข่งขันสุขภาพเพื่อจูงใจและปฏิบัติได้เป็นนิสัย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

ให้ความรู้ประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เชิญร่วมกิจกรรมที่โรงเรียนจัดขึ้นในกลุ่มที่มีภาวะโภชนาการ

รูปภาพ

ดำเนินการอย่างต่อเนื่องเพื่อความยั่งยืน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

การดำเนินงานสำเร็จได้ด้วยความร่วมมือจากหน่วยงานภาคีเครือข่ายเช่น โรงพยาบาลสาธารณสุข การท่องเที่ยวและกีฬา เทศบาล มหาวิทยาลัยราชภัฎ ชุมชนที่ให้ความอนุเคราะห์ในด้านความรู้และนำบริการสุขภาพต่างๆมาให้บริการอย่างสม่ำเสมอและให้คำแนะนำอย่างต่อเนื่อง

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh