ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนเทศบาล 8 บ้านใหม่


“ โรงเรียนเทศบาล 8 บ้านใหม่ ”

444/1 ม.4 ตำบลริมกก อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย

หัวหน้าโครงการ
นางสาวพรพิศ เทพปัญญา

ชื่อโครงการ โรงเรียนเทศบาล 8 บ้านใหม่

ที่อยู่ 444/1 ม.4 ตำบลริมกก อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย จังหวัด เชียงราย

รหัสโครงการ ศรร.1123-007 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.07

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2016 ถึง 30 เมษายน 2017


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนเทศบาล 8 บ้านใหม่ จังหวัดเชียงราย" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 444/1 ม.4 ตำบลริมกก อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนเทศบาล 8 บ้านใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนเทศบาล 8 บ้านใหม่



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนเทศบาล 8 บ้านใหม่ " ดำเนินการในพื้นที่ 444/1 ม.4 ตำบลริมกก อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย รหัสโครงการ ศรร.1123-007 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนเทศบาล 8 บ้านใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 612 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น โรงเรียนเทศบาล ๘ บ้านใหม่ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ ความจำเป็นของสภาวะโภชนากาการ ทั้งภาวะขาดและเกินของนักเรียนจึงจัดทำโครงการเด็กไทยแก้มใสขึ้นมา เพื่อลดภาวะปัญหาโภชนาการและสุขภาพนักเรียน และเพื่อให้ครูและนักเรียนมีความรู้และแนวทางในการจัดการส่งเสริมสุขภาพ และพัฒนาการของนักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการมีส่วนร่วมกับชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการสนับสนุนพัฒนาโรงเรียน สร้างกระบวนการประเมิน ติดตาม และเฝ้าระวัง แก้ปัญหา การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการระยะยาว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๘ บ้านใหม่ ร้อยละ 80 มีภาวะโภชนาการทีดี และเจริญเติบโตตามวัย
  2. เพื่อให้โรงเรียนเทศบาล 8 บ้านใหม่ เป็นต้นแบบในการถ่ายทอดขยายผลสู่กลุ่มโรงเรียนเทศบาล จำนวน 5 โรงเรียนและชุมชนบ้านใหม่
  3. เพื่อให้ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงาน มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา และจัดการเรื่องอาหาร โภชนาการสุขภาพของนักเรียน อย่างน้อย 5 กิจกรรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 80
    2. โรงเรียนเป็นต้นแบบในการถ่ายทอดขยายผลสู่กลุ่มโรงเรียนเทศบาล จำนวน 5 โรงเรียนและชุมชนบ้านใหม่
    3. ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงาน มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา และจัดการเรื่องอาหาร โภชนาการสุขภาพของนักเรียน อย่างน้อย 5 กิจกรรม
    4. นักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวัน ที่มีคุณภาพทางโภชนการตามเมนู TSL หมุนเวียน 1 เดือน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมชี้แจงคณะครูโรงเรียนเทศบาล ๘ บ้านใหม่

    วันที่ 9 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. วางแผนการดำเนินงานระหว่างครูผู้รับผิดชอบโครงการกับฝ่ายบริหาร
    2. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งมอบหมายงานเด็กไทยแก้มใสตามองค์ประกอบ ตัวชี้วัด
    3. ประชุม อบรมสร้างความเข้าใจในการดำเนินการโครงการเด็กไทยแก้มใส
    4. วิเคราะห์ผังมโนทัศน์ในการบูรณาการจัดการเรียนการสอนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้
    5. คณะครูดำเนินการไปจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ การจัดเตรียมทำแฟ้มมาตรฐานต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครูทุกคน ได้ประชุม ชี้แจง ทำความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการดำเนินการตามโครงการเด็กไทยแก้มใส

     

    30 0

    2. การจัดบริการอาหาร

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุม วางแผน จัดทำโครงการอาหารกลางวัน
    2. กำหนดเมนูอาหารประจำแต่ละเดือน
    3. จัดเตรียมวัสดุอาหารตามเมนูอาหารที่ได้วางแผนไว้
    4. ประกอบอาหารตามหลักโภชนาการ
    5. นิเทศ กำกับ ติดตาม รายงานผลการปฏิบัติงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนและครูตามเป้าหมาย ร้อยละ 100 ได้รับประทานอาหารกลางวันที่ถูกหลักโภชนาการ

     

    323 323

    3. การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการให้กับนักเรียน

    วันที่ 1 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุม วางแผนการปฏิบัติงาน มอบหมายหน้าที่บุคลากรในโรงเรียน
    2. จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้
    3. จัดการเรียนการสอนตามหน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
    4. วัดผลและประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน
    5. สรุป รายงานผลให้ผู้บริหารทราบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนและครูร้อยละ 100 ได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการเกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใส ในปีการศึกษา 2559

     

    316 316

    4. ประชุมชี้แจงโครงการเด็กไทยแก้มใสร่วมกับนักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน

    วันที่ 4 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. วางแผน จัดทำโครงการประชุมผู้ปกครอง
    2. กำหนดวันประชุม จัดทำเอกสารที่เกี่ยวข้อง
    3. จัดประชุมผู้ปกครอง ชี้แจงทำความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใส ปีที่ 2
    4. จัดทำรายงานการประชุมผู้ปกครอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียน ผู้ปกครอง ร้อยละ 100 เข้าประชุมและได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใสต้นแบบ

     

    231 460

    5. ศึกษาดูงานเรื่องการจัดตั้งสหกรณ์นักเรียน

    วันที่ 3 กรกฎาคม 2016 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุม วางแผนงานการไปศึกษาดูงาน วางขอบเขตเนื้อหาที่จะไปศึกษาดูงาน
    2. ติดต่อสถานศึกษาต้นแบบที่จะไปดูงาน ได้แก่ โรงเรียนบ้านหนองบัวแดงและโรงเรียนบ้านดู่
    3. นำตัวแทนนักเรียน ผู้บริหารและคณะครูไปศึกษาดูงานตามวัน เวลาที่กำหนด
    4. รายงานสรุปกิจกรรมการไปศึกษาดูงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เจ้าหน้าที่สหกรณ์นักเรียน จำนวน 10 คน ผู้บริหารและครู จำนวน 10 คน ได้ไปศึกษาดูงานการจัดการสหกรณ์นักเรียนและการดำเนินการระบบเศรษฐกิจพอเพียงที่โรงเรียนต้นแบบ

     

    20 0

    6. การจัดตั้งสหกรณ์นักเรียน

    วันที่ 5 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ศึกษาดูงานโรงเรียนที่จัดสหกรณ์นักเรียนต้นแบบ
    2. ประชุม วางแผน มอบหมายงานบุคลากร ตัวแทนนักเรียนที่เป็นเจ้าหน้าที่สหกรณ์
    3. จัดทำระเบียบ ผังโครงสร้างสหกรณ์นักเรียน
    4. ระดมทุน สมัครสมาชิกสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน จากครูและนักเรียน
    5. จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการดำเนินการสหกรณ์นักเรียน
    6. ดำเนินการกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนและครูร้อยละ 100 ได้เข้าร่วมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน

     

    170 170

    7. การคัดกรองภาวะโภชนาการนักเรียน

    วันที่ 11 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุม วางแผน มอบหมายงาน
    2. จัดทำหรือจัดหาแบบบันทึกการตรวจสุขภาพ แบบบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพนักเรียน
    3. ครูทำการคัดกรองสุขภาพนักเรียนเบื้องต้น เช่น น้ำหนัก ส่วนสูง ตรวจร่างกายนักเรียน
    4. ประสานงานเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับงานสุขภาพ มาร่วมคัดกรองนักเรียนด้านสุขภาพ
    5. จัดทำสรุปข้อมูลเพื่อรายงานข้อมูลภาวะสุขภาพของนักเรียน สำหรับจัดทำการอบรมภาวะโภชนาการนักเรียนต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนตามกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 200 คน ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 ได้รับการคัดกรองสุขภาพ ภาวะโภชนาการนักเรียนทุกคน จากครูประจำชั้น เจ้าหน้าที่อนามัย เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทางด้านงานสุขภาพ/โรงเรียนได้ข้อมูลด้านสุขภาพ ภาวะโภชนาการ เพื่อนำไปอบรมนักเรียนและผู้ปกครองต่อไป

     

    200 206

    8. อบรมนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ

    วันที่ 30 กรกฎาคม 2016 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุม วางแผน มอบหมายงาน
    2. จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เชิญวิทยากร จัดเตรียมสถานที่ในการอบรม
    3. ทำหนังสือเชิญนักเรียนที่เป็นเป้าหมายในการอบรม
    4. จัดกิจกรรมอบรม
    5. นิเทศ กำกับ ติดตาม รายงานผลการจัดกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 100 ได้เข้าร่วมกิจกรรมอบรมตามแผนที่ได้กำหนดไว้

     

    80 164

    9. เกษตรไร่นาสวนผสม

    วันที่ 1 สิงหาคม 2016 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุม วางแผน มอบหมายงาน
    2. จัดหาวัสดุ อุปกรณ์เกี่ยวกับกิจกรรมเกษตรในโรงเรียน
    3. ประสานวิทยากรหรือภูมิปัญญาท้องถิ่น มาร่วมจัดกิจกรรมเกษตรในโรงเรียน
    4. ดำเนินการตามแผนงาน กิจกรรมที่ได้กำหนดไว้
    5. นิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล
    6. รายงานสรุปการดำเนินการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทางโรงเรียนจัดกิจกรรมปลูกผัก พืชสมุนไพร การปลูกมะนาวในบ่อซีเมนต์ การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ ซึ่งอยู่ในระหว่างดำเนินการ

     

    316 422

    10. จัดทำป้ายโครงการ ป้ายแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน

    วันที่ 22 สิงหาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุม วางแผน มอบหมายงาน
    2. ประมาณการงบประมาณในการจัดทำป้ายโครงการ ป้ายแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน
    3. จัดทำป้ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ
    4. นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โรงเรียนได้ดำเนินการจัดทำป้ายโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส จำนวน 1 ป้าย นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและมีผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้ทราบถึงการประชาสัมพันธ์ของโรงเรียนในการเข้าโครงการดังกล่าว (ส่วนป้ายอื่นๆ อยู่ในระหว่างการดำเนินการ)

     

    316 632

    11. ตรวจเยี่ยม นิเทศ กำกับ ติดตาม

    วันที่ 1 กันยายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุม ชี้แจง ทำความเข้าใจเกี่ยวกับการลงตรวจเยี่ยม นิเทศ กำกับ ติดตามโครงการต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ให้คณะครู บุคลากรภายในโรงเรียนทราบ
    2. แบ่งงาน มอบหมายหน้าที่ให้กับบุคลากรในการชี้แจงการตรวจเยี่ยม ทั้งด้านเอกสาร การลงพื้นที่จริง การให้ข้อมูลด้วยวาจา
    3. รับการตรวจเยี่ยมจากคณะ
    4. นำเอาข้อชี้แนะ ข้อเสนอแนะจากคณะตรวจเยี่ยมไปปรับปรุง แก้ไข เพื่อพัฒนาการดำเนินการของโครงการต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โรงเรียนได้รับการตรวจเยี่ยม นิเทศ กำกับติดตามจากคณะกรรมการของโครงการ จำนวนอย่างน้อย 1 ครั้งต่อปีการศึกษา

     

    38 54

    12. กิจกรรม อย. น้อย

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมวางแผนมอบหมายงาน
    2. คัดเลือกตัวแทนนักเรียนทำหน้าที่ อย. น้อย
    3. จัดหาวัสดุ
    4. จัดอบรม อย.น้อย
    5. ดำเนินกิจกรรม อย.น้อย
    6. รายงานสรุปผลการดำเนินกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนและครู ร้อยละ 100 ได้เข้าร่วมกิจกรรม

     

    203 203

    13. กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน

    วันที่ 7 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุม วางแผน มอบหมายงาน 2.ศึกษาดูงานโรงเรียนสหกรณ์ต้นแบบ 3.คัดเลือกนักเรียนที่ทำหน้าที่เจ้าหน้าที่สหกรณ์ของโรงเรียน ประชุม มอบหมายงาน 4.ดำเนินการรับสมัครสมาชิก หุ้นที่ถือไว้ในสหกรณ์นักเรียน 5.จัดหาสินค้าและผลิตภัณฑ์มาจำหน่ายในสหกรณ์ 6.ดำเนินการจำหน่ายสินค้าในสหกรณ์นักเรียนทุกวัน 7.สรุปผลกำไรประจำปี ปันผลให้กับสมาชิกและสรุปรายงานผลประจำปี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนและครูร้อยละ 100 ได้ดำเนินการร่วมกับกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนอย่างเป็นระบบ

     

    220 220

    14. จัดนิทรรศการวันอาหารโลก

    วันที่ 22 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุม วางแผน มอบหมายงาน วางผังการจัดนิทรรศการ
    2. จัดหางบประมาณในการดำเนินการจัดนิทรรศการ
    3. จัดหาวัสดุ อุปกรณ์สำหรับจัดนิทรรศการ
    4. ดำเนินการจัดนิทรรศการตามวัน เวลาที่กำหนด
    5. สรุปการจัดนิทรรศการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โรงเรียนเทศบาล 8 บ้านใหม่ ได้ดำเนินการจัดนิทรรศการวันอาหารโลก ระหว่างวันที่ 24 - 27 พฤศจิกายน 2559 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมตามเป้าหมายร้อยละ 100

     

    225 275

    15. ตรวจเลือดนักเรียนเพื่อคัดกรองสารพิษในเลือด

    วันที่ 8 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุม วางแผนการดำเนินงาน
    2. ประสานงานทางหน่วยงานสาธารณสุขของเทศบาลนครเชียงราย
    3. หน่วยงานสาธารณสุขของเทศบาลนครเชียงราย ดำเนินการตรวจเลือดเพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงสารพิษในเลือด
    4. จัดทำข้อมูลสารสนเทศและสรุปผลการดำเนินงานการคัดกรอง
    5. ประชุมนักเรียนที่มีภาวะเสี่ยงสารพิษในเลือด อบรม ให้ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 100 ได้รับการคัดกรองสารพิษในเลือด และมีการอบรม ให้ความรู้นักเรียนที่มีภาวะเสี่ยง

     

    218 218

    16. กิจกรรมการปลูกผัก

    วันที่ 20 มกราคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุม วางแผน มอบหมายงาน
    2. จัดหางบประมาณในการดำเนินการ
    3. จัดซื้อ จัดจ้างวัสดุในการจัดกิจกรรม
    4. ดำเนินการปลูกผักในโรงเรียน
    5. นิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล
    6. สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครูและนักเรียนทุกคนได้เข้าร่วมกิจกรรมปลูกผักในโรงเรียน

     

    313 313

    17. อบรมการทำเกษตรพื้นบ้าน

    วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุม วางแผน มอบหมายงาน 2.จัดทำกำหนดการ ติดต่อวิทยากร 3.จัดหาวัสดุครุภัณฑ์เพื่อใช้ในการอบรม 4.ดำเนินการอบรม ให้ความรู้นักเรียนเกี่ยวกับการเกษตรพื้นบ้าน 5.สรุปการจัดกิจกรรมอบรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนร้อยละ 100 ได้เข้าร่วมอบรมการเกษตรพื้นบ้านตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ นักเรียนได้ปลูกผักพื้นบ้าน ผักสวนครัวที่มีคุณค่าและประโยชน์ต่อร่างกาย

     

    170 195

    18. ถอนเงินจากบัญชี คืนดอกเบี้ยธนาคารและคืนยืมเปิดบัญชีครั้งแรก

    วันที่ 25 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนเงินเปิดบัญชีให้โรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คืนเงินเปิดบัญชีให้โรงเรียน ร้อยละ 100

     

    3 3

    19. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ

    วันที่ 25 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ ร้อยละ 100

     

    3 3

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๘ บ้านใหม่ ร้อยละ 80 มีภาวะโภชนาการทีดี และเจริญเติบโตตามวัย
    ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนได้บริโภคอาหารกลางวันตามที่โรงเรียนจัด โดยใช้โปรแกรม TSL เป็นเมนูหมุนเวียน อย่างน้อย 1 เดือน 2. โรงเรียนจัดอาหารเสริมให้นักเรียนทุกคนที่มีปัญหาเตี้ยและผอม (27 คน) สำหรับมื้อเช้าทุกวัน 3. นักเรียนที่มีปัญหาอ้วน เตี้ยและผอม มีการปรับพฤติกรรมการบริโภคอาหารทุกมื้อ ให้เหมาะสมตามหลักโภชนาการที่ดี

     

    2 เพื่อให้โรงเรียนเทศบาล 8 บ้านใหม่ เป็นต้นแบบในการถ่ายทอดขยายผลสู่กลุ่มโรงเรียนเทศบาล จำนวน 5 โรงเรียนและชุมชนบ้านใหม่
    ตัวชี้วัด : 1.โรงเรียนเป็นแกนนำถ่ายทอดความรู้ กิจกรรมที่ได้ดำเนินการตามโครงการให้แก่โรงเรียนในสังกัดเทศบาลนครเชียงราย จำนวน 5 โรงเรียนและเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับชุมชนบ้านใหม่

     

    3 เพื่อให้ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงาน มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา และจัดการเรื่องอาหาร โภชนาการสุขภาพของนักเรียน อย่างน้อย 5 กิจกรรม
    ตัวชี้วัด : 1.ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้มาเป็นวิทยากร ภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้ความรู้ การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการให้กับนักเรียน อย่างน้อย 5 กิจกรรม ทั้งในด้านการเกษตร การส่งเสริมภาวะโภชนาการ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๘ บ้านใหม่ ร้อยละ 80 มีภาวะโภชนาการทีดี และเจริญเติบโตตามวัย (2) เพื่อให้โรงเรียนเทศบาล 8 บ้านใหม่ เป็นต้นแบบในการถ่ายทอดขยายผลสู่กลุ่มโรงเรียนเทศบาล จำนวน 5 โรงเรียนและชุมชนบ้านใหม่ (3) เพื่อให้ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงาน มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา และจัดการเรื่องอาหาร โภชนาการสุขภาพของนักเรียน อย่างน้อย 5 กิจกรรม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

    ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนเทศบาล 8 บ้านใหม่

    รหัสโครงการ ศรร.1123-007 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.07 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

    วันที่เริ่มประเมิน

    1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    (ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    1. การเกษตรในโรงเรียน

    1.การปลูกเกษตร ไร่ นา สวนผสม แบบแปลงสาธิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง 2.กิจกรรมการตั้งชื่อผักสวนครัวที่ตนเองปลูก

    1. ประชุม วางแผนการทำการเกษตรร่วมกับครูอาหารกลางวัน เพื่อนำผลผลิตบางส่วนไปใช้ในเมนูอาหารกลางวัน
    2. เชิญปราชญ์ชาวบ้าน ภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชนซึ่งเป็นข้าราชการครูที่เกษียณมาอบรมเกี่ยวกับการปลูกผักและปลูกมะนาวในบ่อซีเมนต์
    3. จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ จัดทำกำหนดการอบรมให้กับนักเรียน
    4. จัดอบรมให้ความรู้นักเรียนโดยภูมิปัญญาท้องถิ่นและจัดกิจกรรมปลูกเกษตร ไร่ นา สวนผสม
    5. จัดกิจกรรมการปลูกข้าวของหนู โดยผู้ปกครองและนักเรียนร่วมกันดำนาในเดือนกรกฎาคมและเกี่ยวข้าวในเดือนธันวาคม
    6. จัดกิจกรรมการปลูกและตั้งชื่อผักสวนครัวเพื่ออาหารกลางวัน
      (กิจกรรมที่ 9 และ 17ในรายงานผู้รับผิดชอบ)

    เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืนทางโรงเรียนมีแผนจะจัดกิจกรรมการทำเกษตรไร่นาสวนผสมให้เป็นงานประเพณีประจำปีของโรงเรียนโดยผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วม 1. "วันนาข้าวของหนู" โดยกำหนดวันปลูกในเดือนกรกฎาคมและวันเก็บเกี่ยวในเดือนธันวาคม ซึ่งจะมีคณะกรรมการสถานศึกษาเป็นผู้กำหนดวันดังกล่าวและประกาศให้ทราบล่วงหน้าทุกปี 2. "วันผักของหนู" กำหนดให้มีขึ้นในเดือนธันวาคมหลังการเก็บข้าวเสร็จสิ้น เนื่องจากใช้พื้นที่การเกษตรร่วมกันแบบหมุนเวียน

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    2. สหกรณ์นักเรียน

    การจัดกิจกรรมสหกรณ์โดยมีนักเรียนเป็นผู้รับผิดชอบ

    1. จัดอบรม ดูงานสหกรณ์ต้นแบบ
    2. จัดกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน
    • การจัดกิจกรรมสหกรณ์อย่างเป็นระบบ มีการซื้อและจำหน่ายสินค้าที่หลากหลาย
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

    การจัดบริการอาหารให้กับนักเรียนที่มีภาวะผอมและอ้วนที่แตกต่างจากนักเรียนปกติ

    1. จัดรายชื่อนักเรียนที่มีภาวะผอมและอ้วน เพื่อจัดทำรายการอาหารให้เหมาะสม เช่น เด็กผอมจะเสริมโปรตีนจากไข่ต้มวันละ 1 ฟองในมื้อเช้าทุกวันก่อนเข้าแถว
    2. เด็กอ้วนมีการตักอาหารจำกัดอาหารจำพวกแป้งและไขมันให้ได้รับตามความจำเป็นตามวัยของเด็ก และจะเพิ่มอาหารจำนวนผักและผลไม้
    3. ใช้มาตรการงดเครื่องปรุงอาหาร เช่น น้ำปลา พริก น้ำตาล ไม่มีการจัดวางให้เด็ก (กิจกรรมที่ 2, 7 และ 8 ในรายงานผู้รับผิดชอบ )
    • ส่งเสริมการจัดบริการอาหารให้กับนักเรียนตามเกณฑ์ภาวะโภชนาการ โดยการมีส่วนร่วมกับเครือข่ายผู้ปกครองทุกระดับชั้น
    • ให้นักเรียนจัดทำสมุดบันทึกโภชนาการประจำวัน เพื่อวางผนการปรับพฤติกรรมบริโภคให้ถูกหลักโภชนาการ ป้องกันภาวะเสี่ยงในอนาคต และสามารถนำความรู้ไปสานต่อในครอบครัวได้
    • ขอการสนับสนุนให้กระทรวงสาธารณสุขและ สสส. ในการอบรมให้ความรู้แก่ครูและแกนนำโภชนาการ
    • เสนอให้องค์กรปกครองส่วนท้องและกระทรวงศึกษาธิการจัดทำเป็นนโยบายที่ต้องทำทุกโรงเรียน
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน
    1. กิจกรรมลดอ้วนลดพุง โดยส่งเสริมการออกกำลังกายเฉพาะเด็กที่มีภาวะอ้วน และมีการติดตามอย่างต่อเนื่อง
    1. ประชุม วางแผน ประสานงานกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือโรงพยาบาล
    2. ตรวจสุขภาพนักเรียน ภาวะโภชนาการโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือโรงพยาบาล
    3. สรุปผลการตรวจสุขภาพนักเรียน (กิจกรรมที่ 2, 7 และ 8 ในรายงานผู้รับผิดชอบ)
    • ส่งเสริมการตรวจสุขภาพนักเรียนครบทุกด้าน
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน
    1. กิจกรรมลดอ้วนลดพุง โดยส่งเสริมการออกกำลังกายเฉพาะเด็กที่มีภาวะอ้วน และมีการติดตามอย่างต่อเนื่อง
    1. ประชุม วางแผน ประสานงานกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
    2. จัดอบรม ให้ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนา ส่งเสริมสุขนิสัยให้กับนักเรียน ผู้ปกครอง โดยครู เจ้าหน้าที่สาธารณสุข (กิจกรรมที่ 2, 7 และ 8 ในรายงานผู้รับผิดชอบ)
    • การพัฒนาสุขนิสัยและส่งเสริมสุขภาพให้กับนักเรียน โดยมีการจดบันทึกสุขภาพ น้ำหนัก ส่วนสูง การบริโภคอาหารเป็นประจำทุกวัน
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ
    1. การปรับปรุงอาคารสถานที่ ภูมิทัศน์ ห้องพยาบาล
    1. ประชุม วางแผน มอบหมายงาน
    2. จัดหางบประมาณในการปรับปรุงอาคารสถานที่ ภูมิทัศน์ ห้องพยาบาล
    3. ดำเนินการปรับปรุง ซ่อมแซม พัฒนาอาคารสถานที่ ภูมิทัศน์
    • พัฒนาสิ่งแวดล้อม อาคารสถานที่ให้สวยงาม เป็นระบบ ถูกสุขลักษณะ ตามเกณฑ์มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน
    1. การตรวจสุขภาพนักเรียนตามมาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุขการตรวจโลหิต ภาวะปนเปื้อนสารพิษ
    1. ประชุม วางแผน ประสานงานกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือโรงพยาบาล
    2. ตรวจสุขภาพนักเรียน ภาวะโภชนาการโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือโรงพยาบาล
    3. สรุปผลการตรวจสุขภาพนักเรียน

    (กิจกรรมที่ 2, 7 และ 8 ในรายงานผู้รับผิดชอบ)

    • ส่งเสริมการตรวจสุขภาพนักเรียนภาวะเสี่ยงน้ำตาลในเลือดสูง
    • ส่งเสริมการให้แกนนำนักเรียน จัดกิจกรรมรณรงค์เกี่ยวกับการบริการสุขภาพนักเรียน
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย
    1. การบูรณาการจัดการเรียนรู้ให้กับนักเรียนในด้านการเกษตร อาหาร โภชนาการ
    1. ประชุม วางแผน จัดทำกำหนดการจัดการเรียนรู้
    2. ดำเนินการจัดกิจกรรมบูรณาการจัดการเรียนรู้
    3. รายงานผลการจัดการเรียนรู้
    • ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการให้ครอบคลุมทุกองค์ประกอบ
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    9. อื่น ๆ

     

     

     

    2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

    1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

    -ได้แก่ เทศบาลนครเชียงราย กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัย โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ ชุมชน ผู้ปกครองนักเรียน นักวิชาการ

    2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

    – สภาพแวดล้อมภายใน ได้แก่ ด้านบุคลากรที่ส่งเสริมการดำเนินการ งบประมาณ การบริหารจัดการ วิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา การจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการดำเนินงาน - สภาพแวดล้อมภายนอก ได้แก่ ผู้บริหารเทศบาลนครเชียงราย ผู้ปกครอง ชุมชน ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการด้านสาธารณสุข

    3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

    1. ผู้บริหารสถานศึกษา
      1. ผู้รับผิดชอบโครงการและทีมนำในการทำงาน
      2. ครูและบุคลากรในโรงเรียนทุกท่าน
      3. ภาคีเครือข่ายและหน่วยงานต้นสังกัด
      4. ประธานโครงการ เลขาโครงการและนักวิชาการของโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบฯ

    4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

    1. เกิดการเรียนรู้โดยการปฏิบัติจริง (Learning by doing)
      1. เกิดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้าน
      2. การเรียนรู้แบบบูรณาการของนักเรียนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมชุมนุมเกษตรหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
      3. การเรียนรู้แบบกลุ่ม
      4. การเรียนรู้แบบโครงงาน

    5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

    1. การประชุม วางแผน การชี้แจงให้กับผู้ปกครองและชุมชน ให้เล็งเห็นความสำคัญในการดำเนินการตามโครงการ
    2. การจัดอบรมโดยมีภูมิปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้านจากชุมชน โดยมีผู้ปกครองเข้ารับการอบรมร่วมกับนักเรียนด้านสุขภาพ ภาวะโภชนาการ
    3. บทบาทของผู้ปกครอง ชุมชนในการมีส่วนร่วมจัดกิจกรรมเกษตร ไร่ นา สวนผสม กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ
    1. วางแผน มอบหมายงาน
    2. ปลูกผักสวนครัว ผลไม้ที่มีคุณค่า เช่น กล้วยหอมทอง
    1. บัญชีรายการวัสดุประกอบอาหาร
    1. ส่งเสริมการปลูกผักและผลไม้ในโรงเรียนให้เพียงพอต่อความต้องการของนักเรียน
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)
    1. วางแผน มอบหมายงาน
    2. เลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์
    1. ภาพถ่าย
    1. ส่งเสริมการเลี้ยงสัตว์อื่นๆ เช่น กบ
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

     

     

     

    5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม
    1. วางแผน มอบหมายงาน
    2. จัดหาผักและผลไม้สำหรับเป็นอาหารกลางวันให้กับนักเรียน
    1. บัญชีรายการวัสดุประกอบอาหาร
    1. ส่งเสริมการบริโภคผักและผลไม้ให้กับนักเรียนระดับชั้นอนุบาล การจัดอบรม ให้ความรู้
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม
    1. วางแผน มอบหมายงาน
    2. จัดหาผักและผลไม้สำหรับเป็นอาหารกลางวันให้กับนักเรียน
    1. บัญชีรายการวัสดุประกอบอาหาร
    1. ส่งเสริมการบริโภคผักและผลไม้ให้กับนักเรียนระดับชั้นประถม การจัดอบรม ให้ความรู้
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน
    1. วางแผน มอบหมายงาน
    2. จัดหาผักและผลไม้ในชุมชนสำหรับเป็นอาหารกลางวันให้กับนักเรียน
    1. บัญชีรายการวัสดุประกอบอาหาร
    1. จัดหาร้านที่จำหน่ายอาหารปลอดสารพิษในชุมชน มาประกอบอาหารกลางวัน
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่
    1. วางแผน มอบหมายงาน
    2. บันทึกข้อมูลในโปรแกรม Thai School Lunch
    1. ข้อมูลในโปรแกรม Thai School Lunch
    1. ส่งเสริมการนำข้อมูลจากโปรแกรม Thai School Lunch มาใช้ในการดำเนินการ วิเคราะห์ สังเคราะห์อย่างเป็นระบบ
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่
    1. วางแผน มอบหมายงาน
    2. จัดให้มีการตรวจสุขภาวะโภชนาการให้กับนักเรียนโดยครู เจ้าหน้าที่สาธารณสุข พยาบาลวิชาชีพ
    1. ภาพถ่าย
    2. ข้อมูลการตรวจสุขภาพนักเรียน
    1. ส่งเสริมให้มีการตรวจสุขภาพ สมรรถภาพนักเรียนอย่างสม่ำเสมอ
    3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

    สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

    ภาวะ2558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12562 1/2
    เตี้ย 3.13 3.13% 1.01 1.01% 0.34 0.34% 1.01 1.01% 0.00 0.00% 2.94 2.94% 2.29 2.29% 0.32 0.32% 0.32 0.32% 1.25 1.25% 1.41 1.41%
    เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 4.70 4.70% 4.71 4.71% 2.36 2.36% 4.04 4.04% 4.10 4.10% 7.84 7.84% 5.88 5.88% 0.97 0.97% 1.29 1.29% 5.63 5.63% 3.95 3.95%
    ผอม 1.88 1.88% 8.75 8.75% 3.37 3.37% 7.41 7.41% 5.08 5.08% 3.59 3.59% 3.61 3.61% 2.59 2.59% 2.27 2.27% 2.81 2.81% 2.26 2.26%
    ผอม+ค่อนข้างผอม 3.13 3.13% 16.50 16.50% 11.45 11.45% 14.48 14.48% 13.90 13.90% 7.19 7.19% 6.56 6.56% 6.47 6.47% 5.83 5.83% 8.13 8.13% 5.37 5.37%
    อ้วน 4.70 4.70% 8.75 8.75% 7.41 7.41% 8.75 8.75% 3.39 3.39% 8.82 8.82% 8.52 8.52% 12.94 12.94% 11.65 11.65% 9.38 9.38% 10.17 10.17%
    เริ่มอ้วน+อ้วน 6.58% 6.58% 13.80% 13.80% 12.12% 12.12% 13.47% 13.47% 9.49% 9.49% 15.36% 15.36% 13.77% 13.77% 18.77% 18.77% 15.53% 15.53% 16.25% 16.25% 15.82% 15.82%
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง
    1. ตรวจสุขภาวะโภชนาการนักเรียนโดยครู เจ้าหน้าที่สาธารณสุข พยาบาลวิชาชีพ
    2. จัดอบรม ให้ความรู้ให้กับผู้ปกครองและนักเรียนที่มีภาวะอ้วน
    3. จัดกิจกรรมการออกกำลังกายให้กับนักเรียนที่มีภาวะอ้วน
    1. ภาพถ่าย
    2. ข้อมูลการตรวจสุขภาพนักเรียน
    1. ส่งเสริมให้มีการตรวจสุขภาพ สมรรถภาพนักเรียนอย่างสม่ำเสมอ
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง
    1. ตรวจสุขภาวะโภชนาการนักเรียนโดยครู เจ้าหน้าที่สาธารณสุข พยาบาลวิชาชีพ
    2. จัดอบรม ให้ความรู้ให้กับผู้ปกครองและนักเรียนที่มีภาวะผอม
    3. จัดกิจกรรมการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้กับนักเรียนที่มีภาวะผอม
    1. ภาพถ่าย
    2. ข้อมูลการตรวจสุขภาพนักเรียน
    1. ส่งเสริมให้มีการตรวจสุขภาพ สมรรถภาพนักเรียนอย่างสม่ำเสมอ
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง
    1. ตรวจสุขภาวะโภชนาการนักเรียนโดยครู เจ้าหน้าที่สาธารณสุข พยาบาลวิชาชีพ
    2. จัดอบรม ให้ความรู้ให้กับผู้ปกครองและนักเรียนที่มีภาวะเตี้ย
    3. จัดกิจกรรมการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้กับนักเรียนที่มีภาวะเตี้ย
    1. ภาพถ่าย
    2. ข้อมูลการตรวจสุขภาพนักเรียน
    1. ส่งเสริมให้มีการตรวจสุขภาพ สมรรถภาพนักเรียนอย่างสม่ำเสมอ
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร
    1. ตรวจสุขภาวะโภชนาการนักเรียนโดยครู เจ้าหน้าที่สาธารณสุข พยาบาลวิชาชีพ
    2. จัดอบรม ให้ความรู้ให้กับผู้ปกครองและนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ
    3. จัดกิจกรรมให้กับนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการทุกคน
    1. ภาพถ่าย
    2. ข้อมูลการตรวจสุขภาพนักเรียน
    1. ส่งเสริมให้มีการตรวจสุขภาพ สมรรถภาพนักเรียนอย่างสม่ำเสมอ
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร
    1. จัดอบรม ให้ความรู้ให้กับผู้ปกครองและนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ
    2. ส่งเสริมให้ผู้ปกครองดูแลการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ อาหารที่ดีต่อสุขภาพให้กับนักเรียน
    1. เอกสารการจัดอบรม
    1. ส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

    -ได้แก่ เทศบาลนครเชียงราย กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัย โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ ชุมชน ผู้ปกครองนักเรียน นักวิชาการ

    หมายเหตุ *

    • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    โรงเรียนเทศบาล 8 บ้านใหม่ จังหวัด เชียงราย

    รหัสโครงการ ศรร.1123-007

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวพรพิศ เทพปัญญา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด