ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านสะลวงนอก

รหัสโครงการ ศรร.1112-005 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.05 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน
  1. กิจกรรมเพาะถั่วงอกระบบน้ำหมุนเวียนอัตโนมัติ
  2. กิจกรรมปลูกผักไฮโดรโปนิกส์โดยปลูกในเรือนโรง ปลูกขนาด 250 ต้น
  1. การเพาะถั่วงอกโดยใช้ระบบสิ่งที่สำคัญที่สุดคือใช้ระบบน้ำหมุนเวียน โดยนำน้ำที่รดไปแล้ว นำกลับมาใช้ใหม่โดยไม่มีผลต่อการเจริญเติบโตของถั่วงอก จึงสามารถตั้งเครื่องไว้ที่ไหนก็ได้โดยไม่ต้องมีที่ระบายน้ำ และไม่ต้องเสียเวลาในการเฝ้ารดน้ำ อีกทั้งยังช่วยประหยัดน้ำอีกด้วย ขั้นตอนการเพาะถั่วงอก

    • คัดเมล็ดถั่วเขียวที่แตกและเสียออก ล้างน้ำให้สะอาด สองครั้ง(เมล็ดเสียจะลอยน้ำ) -นำน้ำร้อน 1 ส่วน น้ำธรรมดา 3 ส่วน ผสมกันแช่เมล็ดถั่วเขียว 8 ชม. เมล็ดถั่วเขียวจะพองขึ้นมาเท่าตัว ล้างน้ำ 1-2ครั้ง
    • นำกระสอบและตะแกรงซ้อนกันจำนวน 5 ชุด ซึ่งประกอบด้วย ตะแกรงขนาด 2 และ5 มิลลิเมตรต่อมาใส่เมล็ดถั่ว 1 ขีด (1 1/3 ถ้วยตวง) บนชั้นตะแกรง แล้วเกลี่ยให้ทั่วและนำชั้นตะแกรงลงตะกร้าแล้วปิดทับ ทำประมาณ4 – 5ชั้น
    • หลังจากนั้นใส่น้ำสะอาดลงในถังเพาะประมาณ 10-12 ลิตร หรือเสมอขอบรูลอดสายยาง แล้วนำตะกร้าใส่ลงในถังเพาะ ประกอบสายยางเข้ากับก้านฝักบัว ยกถังเพาะไปตั้งในสถานที่ ที่ต้องการ (ต้องมีปลั๊กไฟฟ้าและห้ามถูกแสงแดดส่อง)
    • ขั้นตอนสุดท้ายตั้งเวลาเครื่อง (Timer) ให้เครื่องทำการรดน้ำอัตโนมัติทุก 2 ชั่วโมง รดน้ำ15นาที นำสายไฟจากตัวปั๊มเสียบเข้ากับเครื่องควบคุม (Timer) และจะควบคุมจังหวะเวลาในการรดน้ำครั้งแรก จนถึงเวลาเก็บเกี่ยวรวมเวลาเพาะในถังประมาณ 60-64 ชั่วโมง (ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิภายนอก) การเพาะ 1 ถังจะใช้ถั่วครึ่งกิโลกรัม ได้ผลผลิต 2.5-3.5 กิโลกรัม
  2. ปลูกในรางจำนวน10 แถวแถวละ 25 หลุมปลูกและการปลูกผักในเศษวัสดุเหลือใช้(ปลูกในถ้วยพลาสติก) โดยนำถ้วยพลาสติก มารีไซเคิลในการปลูกเป็นถ้วย ๆในเรือนโรง ตามจำนวน
    รายละเอียด/หลักฐาน

    • มีการประชุมคณะครู เพื่อวางแผนการดำเนินงาน
    • จัดงบประมาณเพื่อจัดซื้อวัสดุ
    • เตรียมวัสดุโดย ดำเนินการสร้างเรือนโรงโดยใช้เศษวัสดุที่เหลือจากการก่อสร้าง ประกอบเรือนโรงเพื่อวางท่อ PVC ขนาด 2 นิ้ว
    • ติดตั้งโครงสร้างหลังคาและติดตั้งพลาสติกคลุมหลังคาเพื่อป้องกันฝน
    • ประกอบท่อพีวีซี ข้อต่อ วาวล์ควบคุมน้ำ ปั๊มน้ำท่อน้ำและระบบไฟฟ้า
    • เตรียมวัสดุ เพาะ โดยนักเรียนนำเมล็ด ผักชี ผักสลัด มาเพาะในฟองน้ำ
    • เมื่อเมล็ดผักชี ที่เพาะได้ อายุประมาณ 2 สัปดาห์
    • นักเรียนย้ายกล้าผัก ที่เพาะได้ ใส่ในรางปลูก -ดูแลให้น้ำ ปุ๋ย ไหลหมุนเวียน
    • เริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิต อายุประมาณ 45 วัน
    • ชั่งน้ำหนักผลผลิตและจัดส่งสหกรณ์โรงเรียนเพื่อจัดจำหน่ายและนำไปสู่การประกอบอาหาร
  1. ทดลองเพาะเมล็ดถั่วหรือเมล็ดอื่นๆ
  2. คัดเลือกพันธ์ผักที่เหมาะสมกับสภาพอากาศของโรงเรียนเพื่อให้มีปริมาณที่พอเพียงและมีคุณภาพ
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

โครงการตลาดนัดเพื่อสุขภาพ

  1. จัดทำโครงการตลาดนัดเพื่อสุขภาพ เพื่อเสนอผู้อำนวยการโรงเรียน
  2. ประชุมชี้แจง เตรียมงานและวางแผนจัดตลาดนัดเพื่อสุขภาพ
  3. ดำเนินการจัดตลาดนัดเพื่อสุขภาพ 3.1 กิจกรรมนักเรียนผลิตอาหาร ขนม จำหน่ายของแต่ล่ะชั้นเรียน 3.2 กิจกรรมผู้ปกครอง หรือ ชุมชนประกวดอาหารพื้นบ้าน แกงแค 3.3 กิจกรรมประกวดกล้วยน้ำหว้า 3.4 กิจกรรมจำหน่ายผลผลิตทางเกษตรกรรมของ ผู้ปกครอง
  4. สรุปผลการดำเนินงานตลาดนัดเพื่อสุขภาพ

จัดทำโครงการภาคเรียนละ 1 ครั้ง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

  1. กิจกรรมเพาะถั่วงอกระบบน้ำหมุนเวียนอัตโนมัติ ผู้ปกครองนักเรียน
  2. กิจกรรมปลูกผักไฮโดรโปนิกส์โดยปลูกในเรือนโรง ปลูกขนาด 250 ต้น โรงเรียนได้ส่งบุคลากรเข้าร่วมอบรมกับอบต.สะลวงในเรื่องการพัฒนาความรู้เรื่องการปลูกผักไฮโดรโปรนิกส์ โดยมีวิทยากรจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่มาให้ความรู้และโรงเรียนทั้งคณะครูและนักเรียนได้ไปศึกษาดูงานการผลิตผักไฮโดรโปรนิกส์ จากโครงการหลวงหนองหอยอำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่
  3. โครงการตลาดนัดเพื่อสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลสะลวง ชุมชน ผู้ปกครอง นักเรียน กลุ่มแม่บ้านตำบลสะลวง รพสต.สะลวง

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

  1. กิจกรรมเพาะถั่วงอกระบบน้ำหมุนเวียนอัตโนมัติ ใช้บริเวณและสถานที่ในการเพาะน้อย สะดวกต่อการดูแลรักษา ประหยัดน้ำ
  2. กิจกรรมปลูกผักไฮโดรโปนิกส์โดยปลูกในเรือนโรง ปลูกขนาด 250 ต้น โรงเรียนมีสถานที่เหมาะสมในการจัดทำเรือนโรงมีปริมาณน้ำประปาเพื่อการเกษตรอย่างพอเพียง และบุคลากรครู และนักเรียนให้ความสนใจ ในเรื่องการปลูกผักไฮโดรโปรนิกส์ เนื่องจาก เป็นองค์ความรู้ใหม่และเกิดการเรียนรู้ร่วมกัน
  3. โครงการตลาดนัดเพื่อสุขภาพ โรงเรียนมีสถานที่เหมาะสมกับการตลาดนัดเพื่อสุขภาพเพราะตั้งอยู่ในชุมชน

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

  1. กิจกรรมเพาะถั่วงอกระบบน้ำหมุนเวียนอัตโนมัติ กระบวนการการจัดการเรียนรู้และการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบให้กับนักเรียนให้ฝึกปฏิบัติจริง
  2. กิจกรรมปลูกผักไฮโดรโปนิกส์โดยปลูกในเรือนโรง ปลูกขนาด 250 ต้น มีการร่วมคิดและร่วมวางแผน ร่วมทำและเรียนรู้ร่วมกันอย่างเป็นกระบวนการทำให้เกิดองค์ความรู้และทักษะในการทำงานสามารถจะทำให้กิจกรรมสามารถจะทำได้อย่างยั่งยืน
  3. โครงการตลาดนัดเพื่อสุขภาพ มีการร่วมคิดและร่วมวางแผน ร่วมทำ จากหน่วยงานต่างๆ บุคลากรในโรงเรียนรวมทั้งผู้ปกครองและเรียนรู้ร่วมกันอย่างเป็นกระบวนการทำให้เกิดองค์ความรู้และทักษะในการทำงานสามารถจะทำให้กิจกรรมสามารถจะทำได้อย่างยั่งยืน

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

  1. กิจกรรมเพาะถั่วงอกระบบน้ำหมุนเวียนอัตโนมัติ ครูและนักเรียนได้ศึกษาวิธีการ ขั้นตอนการเพาะถั่วงอกจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ แล้วนำมาทดลองเพาะถั่วงอก พร้อมทั้งจดบันทึกขั้นตอนการเพาะ ปัญหาอุปสรรคในการเพาะ บันทึกรายรับ รายจ่าย ส่งผลลิตให้แม่ครัวประกอบอาหาร และนำปัญหา อุปสรรคในการเพาะมาวิเคราะห์และหาแนวทางในการแก้ปัญหา
  2. กิจกรรมปลูกผักไฮโดรโปนิกส์โดยปลูกในเรือนโรง ปลูกขนาด 250 ต้น กระบวนการเรียนรู้ของครูนักเรียนและแม่ครัว เป็นการเรียนรู้ที่เกิดจาการได้ฝึกปฏิบัติจริง ไปจนถึงช่วยกันวิเคราะห์เหมาะสมกับช่วงเวลาปริมาณที่เหมาะสม เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาต่อไป
  3. โครงการตลาดนัดเพื่อสุขภาพ ครูผู้สอนได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นให้นักเรียนได้เห็นความสำคัญของภาวะโภชนาการนักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับการสร้างสุขภาพที่ดีของตนเองแม่ครัว ผู้ปกครองและชุมชนได้เห็นความสำคัญและร่วมกิจกรรมการประกวดอาหารพื้นบ้านที่เน้นถูกหลักโภชนาการ

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

  1. กิจกรรมเพาะถั่วงอกระบบน้ำหมุนเวียนอัตโนมัติ ผู้ปกครองและชุมชนที่มีความรู้และความสนใจมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ พร้อมทั้งให้คำแนะนำในการเพาะถั่วงอก
  2. กิจกรรมปลูกผักไฮโดรโปนิกส์โดยปลูกในเรือนโรง ปลูกขนาด 250 ต้น ผู้ปกครองและชุมชน ได้เกิดการและเปลี่ยนเรียนรู้ในการเรียนรู้การปลูกผักไฮโดรโปรนิกส์ของโรงเรียนบ้านสะลวงนอกโดยมีการให้ข้อเสนอแนะผู้ปกครองได้ศึกษาดูงานการปลูกผักไฮโดรโปรนิกส์ร่วมกับคณะครู เพื่อนำองค์ความรู้มาพัฒนาให้เกิดความยั่งยืนและเป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชน
  3. โครงการตลาดนัดเพื่อสุขภาพ ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมโครงการศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใสและการนำเสนออาหารพื้นบ้านและร่วมกิจกรรมการประกวดอาหารพื้นบ้านที่เน้นถูกหลักโภชนาการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

มีรายการอาหารหมุนเวียนใน 1 เดือน ตามมาตรฐานโภชนาการ 100%

Thai School Lunch Program

ใช้โปรแกรมต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง นักเรียนทุกคน ทุกเดือน

บันทึกน้ำหนักส่วนสูงนักเรียนในสมุดบันทึกประจำตัวของนักเรียน

ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง นักเรียนทุกคน ทุกเดือน

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/22562 1/12562 1/22562 2/22563 1/12563 1/2
เตี้ย 0.83 0.83% 13.51 13.51% 0.00 0.00% 12.93 12.93% 10.96 10.96% 12.85 12.85% 11.30 11.30% 12.43 12.43% 9.19 9.19% 9.34 9.34% 9.20 9.20% 8.33 8.33% 8.33 8.33% 6.94 6.94% 6.98 6.98% 4.60 4.60% 7.87 7.87% 8.57 8.57%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 14.88 14.88% 25.00 25.00% 0.00 0.00% 23.13 23.13% 19.18 19.18% 21.23 21.23% 18.64 18.64% 17.30 17.30% 14.59 14.59% 15.93 15.93% 17.24 17.24% 17.86 17.86% 15.48 15.48% 12.72 12.72% 13.37 13.37% 12.64 12.64% 11.24 11.24% 13.14 13.14%
ผอม 4.13 4.13% 3.38 3.38% 1.35 1.35% 0.00 0.00% 1.37 1.37% 2.23 2.23% 1.69 1.69% 0.54 0.54% 1.08 1.08% 1.65 1.65% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.57 0.57% 2.33 2.33% 1.15 1.15% 4.49 4.49% 0.58 0.58%
ผอม+ค่อนข้างผอม 16.53 16.53% 10.14 10.14% 8.78 8.78% 4.08 4.08% 6.85 6.85% 7.26 7.26% 6.21 6.21% 3.78 3.78% 5.41 5.41% 4.40 4.40% 2.30 2.30% 1.94 1.94% 1.79 1.79% 1.72 1.72% 4.65 4.65% 3.45 3.45% 7.30 7.30% 4.05 4.05%
อ้วน 5.79 5.79% 6.08 6.08% 4.05 4.05% 5.44 5.44% 6.16 6.16% 6.15 6.15% 5.65 5.65% 7.57 7.57% 5.95 5.95% 9.89 9.89% 9.77 9.77% 10.32 10.32% 10.71 10.71% 10.34 10.34% 8.72 8.72% 9.20 9.20% 10.67 10.67% 8.67 8.67%
เริ่มอ้วน+อ้วน 12.40% 12.40% 14.86% 14.86% 12.16% 12.16% 13.61% 13.61% 13.70% 13.70% 12.29% 12.29% 10.17% 10.17% 16.22% 16.22% 12.97% 12.97% 17.03% 17.03% 19.54% 19.54% 17.42% 17.42% 17.86% 17.86% 17.82% 17.82% 16.86% 16.86% 17.24% 17.24% 17.98% 17.98% 14.45% 14.45%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

  1. กิจกรรมเพาะถั่วงอกระบบน้ำหมุนเวียนอัตโนมัติ ผู้ปกครองนักเรียน
  2. กิจกรรมปลูกผักไฮโดรโปนิกส์โดยปลูกในเรือนโรง ปลูกขนาด 250 ต้น โรงเรียนได้ส่งบุคลากรเข้าร่วมอบรมกับอบต.สะลวงในเรื่องการพัฒนาความรู้เรื่องการปลูกผักไฮโดรโปรนิกส์ โดยมีวิทยากรจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่มาให้ความรู้และโรงเรียนทั้งคณะครูและนักเรียนได้ไปศึกษาดูงานการผลิตผักไฮโดรโปรนิกส์ จากโครงการหลวงหนองหอยอำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่
  3. โครงการตลาดนัดเพื่อสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลสะลวง ชุมชน ผู้ปกครอง นักเรียน กลุ่มแม่บ้านตำบลสะลวง รพสต.สะลวง

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh