โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๘๐ (วังปริงเพ็ชรไพศาล) - โครงการพัฒนาระบบการจัดการด้านอาหารและโภชนาการในสถานศึกษาเข้าสู่มาตรฐาน
ชื่อโครงการ | โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๘๐ (วังปริงเพ็ชรไพศาล) - โครงการพัฒนาระบบการจัดการด้านอาหารและโภชนาการในสถานศึกษาเข้าสู่มาตรฐาน |
ภายใต้โครงการ | โครงการพัฒนากลไกชุมชนและท้องถิ่นขับเคลื่อนระบบอาหารและโภชนาการเพื่อคุณภาพเด็กวัยเรียน ปีการศึกษา 2567 |
ภายใต้องค์กร | โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๘๐ (วังปริงเพ็ชรไพศาล) |
รหัสโครงการ | |
วันที่อนุมัติ | 20 สิงหาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กรกฎาคม 2567 - 15 ธันวาคม 2567 |
งบประมาณ | 0.00 บาท |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๘๐ (วังปริงเพ็ชรไพศาล) |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางนิตยา โรจนหัสดิน |
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ | 0869619987 |
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายศักดิ์ชัย พิบูลย์ผล |
พื้นที่ดำเนินการ | เลขที่ 155/2 หมู่ที่ 2 ตำบลเขามีเกียรติ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.797964,100.491575place |
ชื่อโรงเรียน | โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๘๐ (วังปริงเพ็ชรไพศาล) |
สังกัด | สพป. |
หน่วยงานต้นสังกัด | สพป.สงขลา เขต ๓ |
ที่อยู่โรงเรียน | เลขที่ 155/2 หมู่ที่ 2 ตำบลเขามีเกียรติ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา 90170 |
จำนวนนักเรียน | 236 คน |
ช่วงชั้น | อนุบาล,ประถม,มัธยมต้น |
ผู้อำนวยการ | นางนิตยา โรจนหัสดิน |
ครูผู้รับผิดชอบ | นางสาวธิติมา บุญโร |
ให้บุคลากรด้านสาธารณสุขมาอบรมให้ความรู้กับนักเรียน เรื่องอาหารและโภชนาการ
1.นักเรียนมีความรอบรู้การบริโภคอาหารและโภชนาการที่สมดุล
การปลูกเห็ดนางฟ้า และผักสวนครัว เพื่อนำเข้าสู่อาหารกลางวัน และนำไปจำหน่าย
1.นักเรียนมีภาวะทุพโภชนาการลดลง จากปีที่ผ่านมา
การชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงเพื่อประเมินภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนแต่ละชั้น
1.ครูที่รับผิดชอบด้านอนามัยนักเรียน สามารถคัดกรองภาวะทุพโภชนาการนักเรียนได้ถูกต้องและนำเข้าข้อมูล
การประกอบอาหารกลางวันโดยนำเข้าผลผลิตจากชุมชนมาปรุงอาหาร
1.โรงเรียนมีและใช้เมนูอาหารกลางงวัน ใช้ TSL ประยุกต์กับวัฒนธรรมอาหารพื้นถิ่นและมีการใช้พืชผักตามฤดูกาล 2.โรงเีรรียนจัดบริการอาหารตามมาตรฐานด้านความปลอดภัยอาหารสุขาภิบาล และสิ่งแวดล้อม
สร้างองค์ความรู้ด้านอนามัย ให้แก่คุณครูและนักเรียน ในโรงเรียน
1.ครูมีความรู้ในการจัดการเรียนการสอนด้านโภชนาการและอาหารอย่างปลอดภัย 2.นักเรียนมีความรอบรู้การบริโภคอาหารและโภชนาการ
การให้ตัวแทนผู้ปกครองแต่ละชั้นเรียน ผลัดเปลี่ยนกันมาช่วยประกอบอาหารกลางวันให้แก่นักเรียนในแต่ละวัน
1.โรงเรียน และชุมชน มีความร่วมมือกันในการประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียน อย่างปลอดภัย
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 ส.ค. 2567 12:09 น.