directions_run

โรงเรียนบ้านหน่ำฮั้ว - โครงการพัฒนาระบบการจัดการด้านอาหารและโภชนาการในสถานศึกษาเข้าสู่มาตรฐาน

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านหน่ำฮั้ว - โครงการพัฒนาระบบการจัดการด้านอาหารและโภชนาการในสถานศึกษาเข้าสู่มาตรฐาน
ภายใต้โครงการ โครงการพัฒนากลไกชุมชนและท้องถิ่นขับเคลื่อนระบบอาหารและโภชนาการเพื่อคุณภาพเด็กวัยเรียน ปีการศึกษา 2567
ภายใต้องค์กร โรงเรียนบ้านหน่ำฮั้ว
รหัสโครงการ
วันที่อนุมัติ 20 สิงหาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2567 - 15 ธันวาคม 2567
งบประมาณ 15,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านหน่ำฮั้ว
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางธนิยา เบ็ญหะหลี
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ เลขที่ 8 หมู่ที่ 3 ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ข้อมูลโรงเรียน
school
ข้อมูลโรงเรียน
ชื่อโรงเรียน โรงเรียนบ้านหน่ำฮั้ว
สังกัด สพป.
หน่วยงานต้นสังกัด สพป.สงขลา เขต ๓
ที่อยู่โรงเรียน เลขที่ 8 หมู่ที่ 3 ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา 90320
จำนวนนักเรียน 140 คน
ช่วงชั้น อนุบาล,ประถม
ผู้อำนวยการ นางธนิยา เบ็ญหะหลี
ครูผู้รับผิดชอบ นางสาวฟารินดา ลูกสะเดา
stars
3. กิจกรรม
assignment
กิจกรรม
ผักไฮโดรโปรนิกส์ สู่ทักษะอาชีพ21 สิงหาคม 2567
21
สิงหาคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย นางสาวฟารินดา ลูกสะเดา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. การเตรียมการ •      ศึกษาข้อมูล: ผู้จัดกิจกรรมศึกษาเรื่องไฮโดรโปนิกส์ เพื่อวางแผนและเตรียมเนื้อหาที่เหมาะสมสำหรับนักเรียนระดับประถม 4-6 • จัดหาอุปกรณ์: เช่น ถาดปลูก, ฟองน้ำ, เมล็ดพันธุ์, ปุ๋ยน้ำ, และน้ำสะอาด • จัดเตรียมสถานที่: เลือกสถานที่ที่มีแสงเพียงพอและสะดวกสำหรับการทำกิจกรรม

  2. ขั้นตอนดำเนินกิจกรรม • แนะนำหัวข้อ: อธิบายแนวคิด "ไฮโดรโปนิกส์" ว่าคืออะไร และประโยชน์ต่อการเกษตรและอาชีพ • แบ่งกลุ่ม: นักเรียนแบ่งออกเป็นกลุ่มละ 4-5 คน เพื่อกระตุ้นการทำงานร่วมกัน 2.2 สอนและสาธิต • ขั้นตอนการปลูก:

  3. แช่เมล็ดพันธุ์ในน้ำเพื่อให้งอก
  4. เตรียมฟองน้ำและถาดปลูก
  5. สาธิตวิธีใส่เมล็ดลงในฟองน้ำ
  6. แนะนำวิธีผสมน้ำปุ๋ยและเติมลงในถาดปลูก • การดูแลรักษา: สอนวิธีตรวจสอบระดับน้ำและแสงสว่าง 2.3 นักเรียนลงมือปฏิบัติ • นักเรียนทำตามขั้นตอนจริงตามที่สาธิต โดยครูและผู้ช่วยดูแลให้คำแนะนำ
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. นักเรียนได้บริโภคผักปลอดสารพิษ
  2. โรงเรียนมีแหล่งผลิตผักที่ปลอดภัย
  3. นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย
  4. นักเรียนมีรายได้จากการนำผักไปขาย
stars
4. ข้อมูลภาวะโภชนาการ
restaurant_menu
รายการบันทึก
ปีการศึกษา 2567 เทอม 1/1โดย นางสาวฟารินดา ลูกสะเดา @3 มิ.ย. 2567
stars
5. ไฟล์โครงการ
stars
6. ไฟล์รายงาน

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 ส.ค. 2567 12:09 น.