แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ โรงเรียนวัดนางชำ(ประชารัฐรังสฤษฏ์)

ชุมชน ตำบลคลองขนาก อำเภอวิเศษไชยชาญ จังหวัดอ่างทอง

รหัสโครงการ ศรร. 1212-120 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ก.19

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน พฤษภาคม 2559 ถึงเดือน กันยายน 2559

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ซื้อแม่ไก่และอาหาร

วันที่ 4 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

มีผลผลิตร้อยละ ๖๐-๗๐ ฟอง

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. นักเรียนเกิดความตระหนัก
  2. นักเรียนได้รับความรู้ในการเลี้ยงไก่ไข่
  3. นักเรียนสามารถเลี้ยงไก่เองได้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

รบกวนกรอกรายละเอียดด้วยค่ะ

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. แจ้งนักเรียนผู้เข้าร่วมโครงการ
  2. จัดอบรมให้ความรู้สร้างความตระหนัก
  3. วางแผนการดำเนินงาน
  4. ปฏิบัติตามแผน

 

38 38

2. ประชุมอบรมศึกษาดูงาน โรงเรียนวัดศรีนวล จ.กรุงเทพฯ

วันที่ 5 สิงหาคม 2559 เวลา 09.00-16.00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

ผู้ศึกษาดูงานได้รับความด้านเกษตร ประมง 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. การใส่ใจในการดูแลสุขภาพตามหลักโภชนาการ
  2. มีพฤติกรรมการกินเพื่อสุขภาพ
  3. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการดูแลนักเรียนที่บ้าน
  4. ครูมีส่วนร่วมในการสร้างความตระหนักเรื่องสุขภาพ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ประชุมผู้เกี่ยวข้องกำหนดวันเดินทาง
  2. วางแผนร่วมกัน
  3. ดำเนินการตามแผน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. นัดหมายผู้เข้าร่วมอบรมที่โรงเรียนวัดนางชำ เวลา 05.00น.
  2. เดินทางถึงแหล่งเรียนรู้โรงเรียนวัดศรีนวล กรุงเทพฯเวลา 08.30 น.
  3. เข้ารับฟังบรรยายการการดำเนินงานของโรงเรียนวัดศรีนวลและ วิทยากร อ.สง่า ดามาพงษ์ 09.00-12.00
  4. ดูงานแปลงสาธิต ด้านเกษตรสหกรณ์ และการบริหารจัดการ13.00-16.00

 

60 56

3. ซื้อมูลสัตว์และฟางข้าว

วันที่ 30 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

๑.มีผักใช้ประกอบอาหารกลางร้อยละ ๑๐  และร้อยละ ๕๐ ในภาคเรียนที่ ๒

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจการใช้ปุ๋ยหมัก
  2. มีพืชผักบริโภคพอเพียงและปลอดสารพิษ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. จัดซื้อปุ๋ยคอกและฟางข้าวเพื่อใช้ในกิจกรรมเกษตรในโรงเรียน
  2. สาธิตการทำปุ๋ยหมักเพื่อใช้ใส่แปลงผัก
  3. นักเรียนฝึกปฏิบัติ

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ชื้อปุ๋ยมูลสัตว์
  2. เชิญวิทยากรให้ความรู้(ข้อดีข้อเสียของการปลูกผักกินเองและ การใช้ปุยชีวภาพและปุ๋ยเคมี)
  3. สาธิตการผสมพดปุ๋ยหมักจากเศษอาหาร หากมีเฉพาะเศษอาหารที่เป็นพืชมักจะไม่มีปัญหา เพราะเวลาเน่าจะมีกลิ่นเหม็นไม่รุนแรง เราสามารถนำไปคลุกกับปุ๋ยคอกในรางทำปุ๋ยหมักได้เลย แต่หากมีเนื้อสัตว์จะมีกลิ่นเหม็นรุนแรง

สำหรับบางครัวเรือนที่มีข้อจำกัดปริมาณเศษอาหารที่เกิดน้อย หากต้องการทำปุ๋ยหมักจำเป็นต้องทำรางหมักหรือหลุมหมัก แต่หากจะหมักในถังจะมีข้อจำกัดที่เต็มเร็ว

การทำรางหมัก ควรหาพื้นที่ว่างบริเวณหลังบ้าน ขนาดพื้นที่ประมาณ 1 เมตร x 1 เมตร ลึกประมาณ 20-40 เซนติเมตร หรืออาจน้อยกว่า หรืออาจมากกว่าตามความต้องการ แต่ควรให้รองรับเศษอาหารให้ได้ประมาณ 1 เดือน และควรทำ 2 ชุด พร้อมฉาบด้านข้างด้วยปูนซีเมนต์ แต่หากไม่มีปัญหาเรื่องน้ำฝนหรือน้ำไหลเข้า ก็อาจขุดเป็นบ่อดินก็เพียงพอ ทั้งนี้ ควรทำร่องด้านข้าง เพื่อป้องกันน้ำไหลเข้า และควรเตรียมผ้าใบคลุมเมื่อฝนตก

วัสดุ และส่วนผสม – ปุ๋ยคอก 1 ใน 4 ส่วนของรางหมัก – แกลบดำ 2 ถัง หรือไม่ใส่ก็ได้ – น้ำผสมหัวเชื้อเชื้อ EM 1 ลิตร – กากน้ำตาล 1 ลิตร

วิธีทำ – หลังจากที่เตรียมรางหมักแล้ว ให้เทปุ๋ยคอก และแกลบดำรองในรางไว้ – เมื่อมีเศษอาหาร ให้นำมาใส่ในราง พร้อมใช้จอบคลุกผสมกับปุ๋ยคอก – รดด้วยน้ำหัวเชื้อชีวภาพ และกากน้ำตาลบริเวณที่ใส่เศษอาหารเล็กน้อย – หากมีเศษอาหารเกิดขึ้นอีก ก็นำมาคลุก และใส่น้ำหัวเชื้อ ตามด้วยกากน้ำตาลเรื่อยๆจนเต็มบ่อ – หากเต็มบ่อแล้ว ให้นำผ้าคลุกมาปิดไว้ และทิ้งไว้ประมาณ 1 เดือน ก่อนตักออกนำไปใช้ประโยชน์ – ระหว่างที่หมักทิ้ง ให้นำเศษอาหารที่เกิดในแต่ละวันมาหมักในอีกบ่อ ซึ่งจะเวียนกันพอดีในรอบเดือน – ทั้งนี้ บางครัวเรือนอาจไม่สะดวกในการหาซื้อหัวเชื้อหรือกากน้ำตาล ดังนั้น จึงไม่ต้องใช้ก็ได้ แต่จำเป็นต้องมีปุ๋ยคอก หรือใช้ปุ๋ยอื่น เช่น ปุ๋ยมูลไก่ ซึ่งส่วนนีี้จำเป็นต้องใช้ 4. เมื่อนักเรียนมีความเข้าใจเกี่ยวการทำปุ๋ยแล้วได้ฝึกปฏิบัติ

 

93 95

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 19 3                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 100,000.00 38,300.00                  
คุณภาพกิจกรรม 12 9                  

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. ประชุมครูและบุคลากรทางการศึกษาเรื่องโครงการเด็กไทยแก้มใส ( 10 ต.ค. 2559 )
  2. ประชุมอบรมนักเรียนกิจกรรมสหกรณ์ ( 14 ต.ค. 2559 )
  3. เพาะเห็ดครั้งที่1 ( 3 พ.ย. 2559 )
  4. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานโครงการเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1 และขอเบิกเงินงวดที่ 2 ( 16 พ.ย. 2559 )
  5. ค่าอาหารศึกษาดูงานโรงเรียนบ้านมาบตาพุด ( 7 ธ.ค. 2559 - 30 ธ.ค. 2559 )
  6. ซ่อมแซมระบบจ่ายน้ำการเกษตร ( 16 ธ.ค. 2559 )
  7. เพาะเห็ดครั้งที่ 2 ( 4 ม.ค. 2560 )
  8. เลี้ยงไก่ไข่ (อาหารไก่) ( 4 ม.ค. 2560 )
  9. ปลูกผักปลอดสาร (รำข้าว) ( 6 ม.ค. 2560 )
  10. ศึกษาดูงานโรงเรียนบ้านมาบตาพุต จ.ระยอง ( 1 ก.พ. 2560 - 28 ก.พ. 2560 )
  11. ปลูกผักปลอดสาร (มูลสัตว์และฟางข้าว) ครั้งที่ 2 ( 1 ก.พ. 2560 )
  12. ศึกษาดูงานการเลี้ยงไก่แบบธรรมชาติ ( 16 ก.พ. 2560 )
  13. เพาะเห็ดครั้งที่ 3 ( 17 ก.พ. 2560 )
  14. จัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์สหกรณ์นักเรียน ( 18 ก.พ. 2560 )

(................................)
นายณรงค์ศักดิ์ ฉัตรเจริญพร
ผู้รับผิดชอบโครงการ