ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนวัดนางชำ(ประชารัฐรังสฤษฏ์)

รหัสโครงการ ศรร. 1212-120 รหัสสัญญา 58-00-2265-ก.19 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน
  1. ปลูกผักปลอดสารพิษโดยกระบวนการชีวภาพ
  2. ทำปุ่ยหมักจากใบไม้ เศษผักและเปลือกผลไม้ 3.เลี้ยงไก่ไข่ 4.เพาะเห็ด

1.ปลูกผักกางมุ้งและปกติทั่วไป พื้นทีประมาณ 1ไร่โดยการอบรมเด็กเรื่องการปลูกผัก ทำปุ๋ยหมัก การเลี้ยงไก่ไข่และฝึกปฏิบัติ มีไก่ที่ไว้จำนวน 70 ตัวเลี้ยงแบบขังกรงแบบปล่อย

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

1.กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน

1.มีห้องสหกรณ์มีคณะกรรมสหกรณ์นักเรียนโดยนักเรียนเป็นสมาชิกและมีหุ้นคนละไม่เกิน50 หุ้น หุ้นละ20บาทขายอุปกรณ์การเรียนเครื่องเขียนและผลิตภัณฑ์เกษตรโรงเรียน คือ ผัก ไข่ไก่ และเห็ดฯลฯ

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

1.มีอาหารเช้าและอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนขาดแคลนและไม่ได้รับประทานอาหารมาจากบ้าน

สำรวจการรับประทานอาหารเช้าและจัดงบประมาณอาหารเช้าได้รับบริจาคจากชุมชนอาหารกลางวันโดยได้ใช้ Thai school lunch programได้รับงบประมาณจากอบต.คลองขนาก

แบ่งกลุ่มเด็ก กลุ่มปกติ ทุพโภชนาการและการตักอาหารให้เหมาะสมสำหรับทุกคนวางแผนเมนูอาหารกลางวันให้สอดคล้องกับการเกษตรในโรงเรียนและท้องถิ่น

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

1.มีการติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนภาคเรียนละ 2ครั้ง

ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง แปรผล มีการติดตามภาวะโภชนาการนักเรียนทุกทุกชั้นเรียนและทั้งโรงเรียนภาคเรียนละ สองครั้งแจ้งนักเรียนและผู้ปกครองทราบพร้อมกันแก้ปัญหา

การกรอกข้อมูลให้ถูกต้องตรวจสอบความถูกต้องทุกครั้ง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

 

ล้างมือก่อนรัปทานอาหารและมีการแปรงฟันหลังรับประทานอาหาร ให้ความรู้เกี่ยวกับการรักษาสุขภาพอนามัยของนักเรียนมีทีล้างมือและแปรงฟันที่ได้มาตรฐาน สร้างสุขนิสัยและส่งเสริมสุขบัญญัติแห่งชาติ สร้างความตระหนักให้เกี่ยวกับการรักษาสุขภาพอนามัยของนักเรียนและฝึกปฏิบัติ จัดอบรมผู้นำส่งเสริมการออกกำลังกายและเล่นกีฬา อนามัยนักเรียน

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

ปรับปรุงพัฒนาอาคารสถานที่ของโรงเรียนให้พอเพียงกับภารกิจนักเรียนมีส่วนร่วมในการบำรุงรักษาพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนด้วยกระบวนการกลุ่มให้ถูกสุขลักษณะ

ปรับปรุงพัฒนาสร้างอาคารใหม่ให้เพียงพอกับภารกิจของสถานศึกษานักเรียนร่วมบำรุงรักษาพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนด้วยกระบวนการกลุ่ม ให้สะอาดปลอดภัยและถูกสุขลักษณะ

ดรเนินการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตามแนวทางผลสรุปการประเมินในแต่ละปีการศึกษา

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

 

มีการตรวจสุขภาพและโดย รพ.สต และตรวจสุขภาพในช่องปากโดยโรงพยาบาลวิเศษชัยชาญและรีบการส่งต่อจาก รพ.สต.ฉีดวัคชีนป้องกันโรค

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

 

มีแผนการเรียนรู้เรื่องเกษตรบูรณาอาหารและโภชนาการและสหกรณ์ มีกิจกรรมฝึกปฏิบัติในชั่วโมงลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

จัดกลุ่มนักเรียนตามความสนใจด้านดนตรีไทยเสริมสร้าง EQ

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

รพ.สต คลองขนากโรงพยาบาลวิเศษชัยชาญอบต.คลองขาก

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

ใกล้ชุมชน วัด อบต.

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

มีคณะกรรมการดำเนินโครงการ มีแผนงานดำเนินงาน

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

มีการฝึกอบรมมีการศึกษาดูงานจากแหล่งเรียนรู้

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

เชิญผู้ปกครองร่วมวางแผนตามโครงการเด็กไทยแก้มใส

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

ปลูกผักบุ้ง ผักกาดกวางตุ้ง ผักกาดขาวมะเขือ80 กิโลกรัม มะละกอฝรั่งกล้วย ๑๐๐ ประมาณร้อยละ ๑๐ ของผักและผลไม้ที่ใช้ทั้งหมด

มีบัญชีการขายให้สหกรณ์นักเรียนและสภาพจริง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

มีการเลี้ยงไก่ไข่ เียงพอสำหรับนักเรียนทุกคนสัปดาห์ละ ๒ ฟอง

บัญชีการผลิตใข่ไก่ในแต่ละวัน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

มีอาหารเช้า โจ๊ก ข้าวต้ม ข้าวสวย และผลไม้

บัญชีการจัดซื้ออาหาร

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

มีผักผลไม้รัปประทานทุกวันตามเกณฑ์

บัญชีการจัดซื้ออาหาร

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

มีรายการอาหารตามไทยสคูลลันโปรแกรม

รายการอาหารประจำเดือน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

ไม่มีนักเรียนมีร่วม

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

ชื้อผัก ไข่ไก่ ข้าวสาร จากชุมชนที่มีการผลิตปลอดสารพิษ

บัญชีสหกรณ์

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

ร้อยละ 80ทำได้ตามเกณฑ์

รายการอาหารประจำเดือน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

ครบถ้วน ต้นเทอมและปลายเทอม

บันทึกการชั่งน้ำหนัก ส่วนสูงและการแปรผล

 

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/1
เตี้ย 2.78 2.78% 3.89 3.89% 3.89 3.89% 3.89 3.89% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.56 0.56% 0.56 0.56% 0.55 0.55% 0.58 0.58% 1.10 1.10% 1.70 1.70% 1.70 1.70%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 2.78 2.78% 3.89 3.89% 3.89 3.89% 3.89 3.89% 1.14 1.14% 3.43 3.43% 2.25 2.25% 0.56 0.56% 1.68 1.68% 2.78 2.78% 2.20 2.20% 3.47 3.47% 4.97 4.97% 6.82 6.82% 6.82 6.82%
ผอม 10.56 10.56% 6.67 6.67% 5.00 5.00% 4.44 4.44% 1.14 1.14% 1.71 1.71% 2.25 2.25% 1.64 1.64% 1.12 1.12% 3.35 3.35% 2.75 2.75% 5.20 5.20% 3.31 3.31% 1.14 1.14% 1.14 1.14%
ผอม+ค่อนข้างผอม 10.56 10.56% 6.67 6.67% 23.33 23.33% 4.44 4.44% 6.29 6.29% 6.29 6.29% 8.43 8.43% 8.20 8.20% 7.26 7.26% 8.94 8.94% 8.24 8.24% 10.98 10.98% 7.73 7.73% 6.25 6.25% 6.25 6.25%
อ้วน 13.89 13.89% 10.00 10.00% 15.00 15.00% 15.00 15.00% 11.43 11.43% 10.29 10.29% 9.55 9.55% 4.92 4.92% 6.70 6.70% 7.26 7.26% 9.34 9.34% 8.09 8.09% 9.39 9.39% 10.23 10.23% 10.23 10.23%
เริ่มอ้วน+อ้วน 18.89% 18.89% 15.00% 15.00% 15.56% 15.56% 15.56% 15.56% 20.57% 20.57% 21.14% 21.14% 19.66% 19.66% 14.21% 14.21% 16.76% 16.76% 17.88% 17.88% 18.13% 18.13% 19.08% 19.08% 22.10% 22.10% 21.59% 21.59% 21.59% 21.59%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

ส่งเสริมการออกกำลักงกายสำหรับนักเรียนที่เริ่มอ้วนและอ้วน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

ส่งเสิรมการรับประทานอาหารให้มากขึ้น

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

มีจำนวนน้อยมาก

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

ส่งเสริมการออกกำลังกายและรับประทานอาหารให้เหมาะสม

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

แจ้งผู้ปกครองทราบในการประชุมปีละ ๒ ครั้ง และจ้งผลภาวะโภชนาการและขอความร่วมมอในการพัฒนา

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

บริบทของผู้ปกครองและชุมชนยังไม่เอื้ออำนวยในการแก้ไขและพัฒนา หรือรู้แต่ให้ความสนใจน้อย

 

ผู้ปกครองนักเรียนส่วนใหญ่มอบหน้าที่ให้โรงเรียนในการพัฒนานักเรียน

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

รพ.สต คลองขนากโรงพยาบาลวิเศษชัยชาญอบต.คลองขาก

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh