แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนวัดคลองสวน(พรหมอุทิศวิทยาคาร)


“ โรงเรียนวัดคลองสวน(พรหมอุทิศวิทยาคาร) ”

1หมู่ 3 ตำบลบ้านคลองสวน อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ

หัวหน้าโครงการ
นายวรพจน์ สิงหราช

ชื่อโครงการ โรงเรียนวัดคลองสวน(พรหมอุทิศวิทยาคาร)

ที่อยู่ 1หมู่ 3 ตำบลบ้านคลองสวน อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัด สมุทรปราการ

รหัสโครงการ ศรร. 1213-044 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ก.13

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนวัดคลองสวน(พรหมอุทิศวิทยาคาร) จังหวัดสมุทรปราการ" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 1หมู่ 3 ตำบลบ้านคลองสวน อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนวัดคลองสวน(พรหมอุทิศวิทยาคาร) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนวัดคลองสวน(พรหมอุทิศวิทยาคาร)



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนวัดคลองสวน(พรหมอุทิศวิทยาคาร) " ดำเนินการในพื้นที่ 1หมู่ 3 ตำบลบ้านคลองสวน อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ รหัสโครงการ ศรร. 1213-044 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,000.00 บาท จาก โรงเรียนวัดคลองสวน(พรหมอุทิศวิทยาคาร) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 1029 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน
โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ
1) การเกษตรในโรงเรียน
2) สหกรณ์นักเรียน
3) การจัดการบริหารของโรงเรียน
4) การติดตามภาวะโภชนาการ
5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน
6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ
7) การจัดบริการสุขภาพ
และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนสุเหร่าจรเข้ขบ(กุลางกูรอุปถัมภ์) จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

โรงเรียนวัดคลองสวน(พรหมอุทิศวิทยาคาร) จากการสำรวจภาวะสุขภาพนักเรียน พบว่านักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์และมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ และเตี้ย สิ่งเหล่านี้เป็นปัญหาด้านสุขภาพของนักเรียนทำให้โรงเรียนมีการแก้ไขปัญหาด้านโภชนาการด้านการบริโภคที่ไม่ถูกสุขลักษณะ และลักษณะนิสัยการบริโภคที่ไม่ถูกต้อง เช่น การบริโภคน้ำอัดลม , ขนมกรุบกรอบ , ลูกอม , อาหารฟาสฟู้ดส์ อาหารจั้งฟู้ด และการบริโภคอาหารประเภทผัก ผลไม้ น้อยเกินไป ทำให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้นักเรียนมีสมรรถภาพทางการเหมาะสมตามวัยใน 3 ด้าน
  2. 2. เพื่อให้นักเรียนได้รับการส่งเสริมทักษะกีฬาและมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง
  3. 3. เพื่อให้นักเรียนมีการบริโภคอาหารที่ถูกต้องและมีสุขนิสัยที่พึงประสงค์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. โรงเรียนเป็นศูนย์เรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง
    2. เกิดกระบวนการประเมินติดตามและเฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
    3. นักเรียนมีสุขอนามัยที่ดีและมีทักษะการดำรงชีวิต
    4. เกิดการพัฒนาบุคลากร ชุมชน ผู้ปกครอง โรงเรียนเครือข่าย และภาคีเครือข่ายศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. การปลูกผักปลอดสารพิษ

    วันที่ 28 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.อบรมให้ความรู้นักเรียนเกี่ยวกับผักปลอดสารพิษ 2. เตรียมแปลงผัก 3. ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.นักเรียนได้รับความรู้ความเกี่ยวกับผักปลอดสารพิษ 2. นักเรียนลงมือปฏิบัติจริงในการปลูกผักปลอดสารพิษ

     

    266 265

    2. เพาะเห็ดนางฟ้า

    วันที่ 6 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.วางแผนการเพาะเห็ด 2. มอบหมายผู้รับผิดชอบดูแล 3. จัดซื้อเชื้อเห็ดนางฟ้า 4. จัดอบรมการดูแล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.นักเรียนได้รับความรู้เรื่องการเพาะเห็ดนางฟ้า 2.นักเรียนมีความรับผิดชอบเพราะต้องดูแลเห็ดนางฟ้า 3.นักเรียนแกนนำสามารถให้ความรู้เรื่องการดูแลเห็ดนางฟ้าแก่เพื่อน ๆ และน้อง

     

    233 0

    3. จัดอบรมอาหารปลอดภัยในสถานศึกษา

    วันที่ 30 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมหารือกับผู้ที่เกี่ยวข้อง 2 กำหนดรูปแบบและเรื่องในการอบรมแก่นักเรียน 3.เชิญหน่วยงาน/เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ความรู้ 4.จัดทำฐานเพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้านอาหารปลอดภัย9 ฐาน 5. สรุปและประเมินการจัดกิจกรม pre test/post test

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    บุคลากรและนักเรียน เกิดการเรียนรู้และมีความตระหนักด้านอาหารและภาวะโภชนาการ

     

    500 1,010

    4. แอโรบิก

    วันที่ 14 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แอโรบิก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แอโรบิก

     

    1,017 1,017

    5. ปรับปรุงและพัฒนาด้านสุขาภิบาลของโรงเรียน

    วันที่ 16 พฤศจิกายน 2559 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมวางแผนการจัดกิจกรรม
    2. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
    3. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์
    4. จัดสถานที่อบรม
    5. ดำเนินกิจกรรมตามแผน
    6. ประเมินผลกิจกรรม/โครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนรู้จักวิธีการดูแลรักษาห้องน้ำและห้องสุขา
    2. นักเรียนรู้จักวิธีการใช้ห้องน้ำและห้องสุขาที่ถูกต้อง
    3. นักเรียนได้ใช้ห้องน้ำและห้องสุขาที่ถูกสุขลักษณะ

     

    1,013 316

    6. ขยะ (รีไซเคิล)

    วันที่ 30 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมวางแผนการปฏิบัติกิจกรรม
    2. เตรียมวัสดุอุปกรณ์และสถานที่
    3. ปฏิบัติกิจกรรมตามแผน
    4. ประเมินผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนรู้จักการคัดแยะขยะให้ถูกวิธี
    2. นักเรียนสามารถคัดแยะขยะได้ถูกต้องตามประเภทของขยะ
    3. นักเรียนแกนนำสามารถนำความรู้ที่ได้จากการศึกษาดูงานมาเผยแพร่ให้แก่พี่ๆและน้องที่โรงเรียน

     

    1,017 150

    7. อดเปรี้ยวไว้กินหวาน

    วันที่ 12 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมวางแผนกิจกรรม
    2. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์และสถานที่จัดอบรม
    3. ดำเนินกิจกรรมตามแผน
    4. สรุปผลการดำเนินกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องเพศศึกษามากขึ้น
    2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันตัวเองในเรื่องเพศสัมพันธ์มากขึ้น
    3. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตนกับเพศตรงข้ามมากขึ้น

     

    1,017 520

    8. สหกรณ์โรงเรียน/นักเรียน

    วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมวางแผนการจัดกิจกรรม
    2. จัดเตรียมสถานที่และวัสดุอุปกรณ์สำหรับดำเนินกิจกรรม
    3. ดำเนินกิจกรรมตามแผนที่วางไว้
    4. สรุปผลการดำเนินกิจรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนนำหลักการของสหกรณ์มาระยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
    2. นักเรียนแกนนำสามารถเป็นบริหารงานสหกรณ์โดยมีครูเป็นที่ปรึกษา

     

    972 700

    9. ถอนเงินเปิดบัญชี

    วันที่ 6 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ถอนเงินเปิดบัญชี

     

    0 0

    10. คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ

    วันที่ 6 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้นักเรียนมีสมรรถภาพทางการเหมาะสมตามวัยใน 3 ด้าน
    ตัวชี้วัด : นักเรียนมีสมรรถภาพทางการเหมาะสมตามวัยใน 3 ด้าน ร้อยละ80

     

    2 2. เพื่อให้นักเรียนได้รับการส่งเสริมทักษะกีฬาและมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง
    ตัวชี้วัด : นักเรียนได้รับการส่งเสริมทักษะกีฬาและมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ร้อยละ80

     

    3 3. เพื่อให้นักเรียนมีการบริโภคอาหารที่ถูกต้องและมีสุขนิสัยที่พึงประสงค์
    ตัวชี้วัด : นักเรียนมีการบริโภคอาหารที่ถูกต้องและมีสุขนิสัยที่พึงประสงค์ ร้อยละ 70

     

    4
    ตัวชี้วัด :

     

    5
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้นักเรียนมีสมรรถภาพทางการเหมาะสมตามวัยใน 3 ด้าน (2) 2. เพื่อให้นักเรียนได้รับการส่งเสริมทักษะกีฬาและมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง (3) 3. เพื่อให้นักเรียนมีการบริโภคอาหารที่ถูกต้องและมีสุขนิสัยที่พึงประสงค์ (4)  (5)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โรงเรียนวัดคลองสวน(พรหมอุทิศวิทยาคาร)

    รหัสโครงการ ศรร. 1213-044 รหัสสัญญา 58-00-2265-ก.13 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ตรวจวัดสมรรถภาพทางกาย

    ขั้นตอน

    1. ทำแบบบันทึกการทำชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูง 2.แจกแบบฟอร์มให้ครูแต่ละชั้น
    2. นักเรียนแกนนำชั่งน้ำหนัก-วัดส่วงสูงนักเรียน

    แหล่งอ้างอิง -แบบบันทึกการชั่งน้ำหนัก -แบบบันทึกการวัดส่งสูง -รูปภาพประกอบกิจกรรม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    แปรงฟัน กำจัดเหา

    ขั้นตอนกิจกรรมแปรงฟัน

    1. เปิดเพลงให้นักเรียนและพานักเรียนลงมาแปลงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวัน
    2. นักเรียนลงชื่อในบันทึกการแปรงฟัน

    ขั้นตอนกิจกรรมกำจัดเหา

    1. ครูตรวจสุภาพนักเรียนว่ามีเหาหรือไม่
    2. ให้นักเรียนที่มีเหาสระผม
    3. ลงน้ำยากำจัดเหาที่นักเรียน

    แหล่งอ้างอิง รูปภาพประกอบการทำกิจกรรม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    กำจัดยุงลาย พ่นยุง

    ขั้นตอน

    1. นักเรียนแกนนำตรวจสอบยุงลายตามแหล่งน้ำในโรงเรียน เช่น บ่อปล่า อ่างน้ำในห้องน้ำ
    2. เจ้าหน้าที่ และ แกนนำนักเรียนนำทรายอเบสใส่ลงไปตามแหล่งน้ำต่างๆ

    ขั้นตอนกิจกรรมการพ่นยุงลาย

    เจ้าหน้าที่จากหน่วยงานสวนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเข้ามาทำการพ่นยุงตามอาหารและสถานที่ต่างในโรงเรยน

    แหล่งข้อมูล รูปภาพประกอบกิจกรรม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โรงเรียนวัดคลองสวน(พรหมอุทิศวิทยาคาร) จังหวัด สมุทรปราการ

    รหัสโครงการ ศรร. 1213-044

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายวรพจน์ สิงหราช )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด