ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนวัดศรีเมือง

รหัสโครงการ ศรร.1213-038 รหัสสัญญา 58-00-2265-ก.7 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน
  1. กิจกรรมบ่อเลี้ยงปลาและกบ
  2. กิจกรรมผักไฮโดรโปนิกส์
  3. กิจกรรมเห็ดน้อยสอนน้อง
  4. กิจกรรมแปลงผักปลอดสารพิษ
  5. กิจกรรมผักสวนครัว
  6. กิจกรรมผักลอยฟ้า
  • เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ของนักเรียนและชุมชนใกล้เคียง ให้สอดคล้องกับการเรียนการสอนแบบบูรณาการ เกิดทักษะชีวิตผ่านการเรียนรู้ปฏิบัติจริง(ใบงาน, ผลงานนักเรียน)
  • ผักที่ปลูกได้ขายผ่านสหกรณ์และเข้าสู่โครงการอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน เพื่อให้นักเรียนได้ทานผักและวัตถุดิบที่สด สะอาด ปลอดสาร และบางส่วนได้ขายให้แก่ชุมชนโดยผ่านระบบเสียงตามสาย (บัญชีรายรับ รายจ่าย ซื้อขายผัก)
  • เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านเศรฐกิจพอเพียงและเกษตรอินทรีย์ให้แก่ชุมชนและสังคม โดยมีผู้เข้ามาขอศึกษาดูงานเป็นจำนวนมาก ทั้งต่างโรงเรียน โรงเรียนในเครือข่ายตามสัญญา ผู้ใหญ่บ้าน อบต. หน่วยงานสาธารณสุขและโรงเรียนจากจังหวัดนครสวรรค์ รวมทั้งสื่อรายการโทรทัศน์ของจังหวัดสมุทรสาคร และรายการฟ้าห่มดิน ทาง ททบ.5 (รูปภาพ, บันทึกการศึกษาดูงานของโรงเรียน)

มีระบบการวางแผนระหว่างผู้ทำกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงกับทางผู้ประกอบอาหารให้สัมพันธ์มากขึ้น เพื่อให้ผลผลิตที่ออกมา เข้าสู่โรงอาหารมากขึ้น ไม่มีภาวะขาดวัตถุดิบ หรือ บางช่วง ล้นเกินความต้องการ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน
  • กิจกรรมสหกรณ์แก้มใส
  • อบรมให้ความรู้ โดยผู้เชี่ยวชาญโดยตรง
  • ฝึกให้นักเรียนแกนนำ รู้จักการซื้อขายผ่านระบบสหกรณ์ โดยมีครูผู้ดูแลด้านสหกรณ์มาช่วยเป็รที่ปรึกษา
  • นักเรียนทำบัญชี รายรับรายจ่าย การซื้อขายผักจากกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง (บัญชี รายรับรายจ่าย)
  • จัดอบรมการทำบัญชีขั้นพื้นฐาน ให้นักเรียนทุกคน ระดับชั้น ป.4-6 โดยผู้เชี่ยวชาญจากสหกรณ์จังหวัดสมุทรสาคร (แบบลงทะเบียน การเข้าอบรม)

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน
  • การใช้ program Thai School Luch
  • การนำผลผลิตจากเศรษกิจพอเพียงในโรงเรียน มาประกอบอาหารให้แก่นักเรียน
  • การเชิญวิทยากรด้านโภชนาการ จากโรงพยาบาลสมุทรสาคร มาให้ความรู้ทั้งนักเรียนและแม่ครัว รวมทั้งครูผู้เกี่ยวข้อง รวมทั้ง โรงเรียนในเครือข่าย ทั้ง 3 โรงเรียน
  • รับซื้อผักและนำมาประกอบอาหารให้แก่นักเรียนได้รับประทาน และจัดตามโปรแกรม เพื่อได้อาหารตามหลักโภชนาการ
  • การเชิญวิทยากรด้านโภชนาการ จากโรงพยาบาลสมุทรสาคร มาให้ความรู้ อบรม ด้านโภชนาการ อาหารปลอดภัย เด็กไทยสุขภาพดี(แบบลงทะเบียนการอบรม, รูปภาพ)

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน
  • การจัดกิจกรรมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ จากการชั่งน้ำหนักและส่วนสูง
  • การจัดกิจกรรม พุงจ๋่าหนูลาก่อนและซี่โครงจ๋าหนูลาก่อน
  • ประสานงานและจัดอบรม สำหรับนักเรียนที่คัดกรองแล้ว มีภาวะเสี่ยงต่อโรคอ้วนไปอบรมเข้มข้นและส่งต่อไปรักษา กรณีรุนแรง
  • ชั่งน้ำหนักและส่วนสูงนักเรียน ทุกภาคเรียน ภาคเรียนละ 2 ครั้ง ต้นและปลายภาค และสรุปผลภาวะโภชนาการวิเคราะห์ ส่งต่อให้แก่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
  • จัดการเรียนการสอน รวมทั้งการจัดกิจกรรมออกกำลังกายร่วมกันทุกเช้าและเน้นพิเศษสำหรับกลุ่มเสี่ยง
  • จัดอบรม โดยร่วมกับผู้เชี่ยวชาญ ทางโรงพยาบาล เพื่อลดอ้วน ลดพุง และติดตามประเมินผล น้ำหนักส่วนสูง ทุกๆเดือน

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน
  • จัดอบรมให้ความรู้ ทั้งด้านการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน ทั้งการล้างมือ 7 ขั้นตอน การดูแลสุขภาพตนเองให้เท่าทันโลกและโรคภัยต่างๆ โดยครูอนามัยและนักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพ
  • การส่งแกนนำไปอบรม และนำความรู้ที่ได้มาเผยแพร่ผ่านเสียงตามสาย และหน้าเสาธง และเป็นแกนนำส่งเสริมสุขภาพรุ่นต่อรุ่น
  • ทีมครู ดูแลด้านอนามัย อบรมให้ความรู้ เช่น ด้านการดูแลปากและฟัน อย่างถูกวิธี และมีการแปรงฟันหลังอาหารทุกเที่ยง การล้างมือ 7 ขั้นตอน การใช้ห้องน้ำอย่างถูกสุขลักษณะ การรู้เท่าทันโรค เป็นต้น
  • อบรมให้ความรู้ด้านสุขอนามัย และโรคต่างๆ โดยร่วมมือ กับ รพ.สต มาให้ความรู้ทุกๆภาคเรียน
  • การบริการตรวจสุขภาพช่องปากและฟัน จากเจ้าหน้าที่โรงพยาบาล

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ
  • การจัดกิจกรรม ห้องเรียนสีขาว เพื่อให้ห้องเรียน มีความสะอาด และเป็นมุมเรียนรู้ที่น่าอยู่
  • การจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ให้สะอาด ร่มรื่น น่าอยู่ จากกิจกรรมโรงเรียนปลอดขยะ
  • การจัดมุมต่างๅในโรงเรียนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ เช่น ด้านเศรษฐกิจพอเพียง ด้านอาหารปลอดภัยและโรงอาหารที่ถูกสุขลักษณะ สวนวิทยาศาสตร์ สนามเด็กเล่น เป็นต้น
  • การจัดกิจกรรมสุขาน่าใช้ และอบรม การใช้ห้องน้ำอย่างถูกสุขลักษณะ
  • การจัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดอก โดยการเดินรณณงค์ ให้ความรู้ แจกทรายอะเบต กำจัดแหล่งพาหะ ในและรอบๆโรงเรียน และให้ความรู้โดย รพสต

จัดกิจกรรม อบรม ให้ความรู้ ในกิจกรรมห้องเรียนและโรงเรียนสีขาว (รูปภาพ บันทึกใน Facebook โรงเรียน ) จัดกิจกรรม อบรม ให้ความรู้ ในกิจกรรมโรงเรียนปลอดขยะ (รูปภาพ บันทึกใน Facebook โรงเรียน )

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน
  • ตรวจสุขภาพเบื้องต้นให้แก่นักเรียนทุกภาคเรียน
  • การจัดเตรียมห้องพยาบาลเบื้องต้นให้แก่นักเรียน
  • การจัดอบรม เรื่องสุขภาพเบื้องต้นให้แก่นักเรียน
  • การนำนักเรียนไปรับวัคซีน ทุกภาคเรียน
  • แบบบันทึกสุขภาพ
  • แบบบันทึกการใช้ห้องพยาบาล
  • แบบลงทะเบียนการอบรม

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย
  • สอนแทรกเสริม แบบบูรณาการในทุกๆรายวิชา ตามความเหมาะสม
  • การให้ความรู้หน้าเสาธง ด้านอาหาร ผัก ผลไม้ โดยครูและนักเรียนแกนนำ ทุกๆวันศุกร์
  • เชิญวิทยากรผู้เชี่ยวชาญเข้ามาอบรมให้แก่นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน
  • ประสานงานกับองคืกรเครือข่าย ทั้ง รพ รพ.สต เจ้าหน้าที่ทหารและตำรวจ เข้ามาให้ความรู้ -เชิญโรงเรียนในเครือข่าย ตามสัญญา ทั้ง 3 โรงเรียน ทั้งครูและนักเรียน มาเรียนรู้เกี่ยวกับกิจกรรมของโรงเรียนศูนย์เรียนรู้ต้นแบบได้ทำกิจกรรมและการเรียนการสอนอะไรบ้าง เพื่อขยายองค์ความรู้สู่ชุมชนและสังคมให้กว้างขึ้น
  • จัดทำโครงงาน อาหารปลอดภัย สุขาน่าใช้ เด็กไทยฟันดี และฝึกนักเรียนแกนนำมานำเสนอ โดยมีครูคอยเป็นที่ปรึกษา
  • สอดแทรกสอน ทั้งด้านธงโภชนาการ อาหารหลัก 5 หมู่ อาหารปลอดภัย เด็กไทยสุขภาพดี ในวันวิทยาศาสตร์
  • บูรณาการสอนด้านเศรษฐกิจพอเพียง การออม การปลูกพืช ในวันพธีสำนึกบุญคุณถุงในหลวงรัชกาลที่ 9
  • แผนการจัดการเรียนรู้ ด้านเศรษฐกิจพอเพียง และจัดการเรียนการสอน หน้าเสาธง ทุกวันศุกร์ โดยเน้นให้ความรู้เกี่ยวกับอาหาร ผัก ผลไม้ ทั้งเวอร์ชั่นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
  • ประสานให้มีการอบรมด้านโภชนาการ อาหารปลอดภัย โดยจ้างวิทยากร นักโภชนาการ มาให้ความรู้
  • ประสานให้ความรู้ด้านสหกรณ์และบัญชี โดยจ้างวิทยากรมาให้ความรู้โดยตรง
  • อบรมด้านโรตติดต่อ ปากและฟัน โรคอ้วน รณรงค์ป้องกันด้านยาเสพติด ด้านการรณณงค์ป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร เป็นต้น ก็จะเชิญ เจ้าหน้าที่ ทั้ง รพสต ตำรวจ ทหาร มาให้ความรู้เสมอ
  • แบบลงทะเบียนการอบรม และรูปภาพ

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

  • รพสต บ้านศรีเมือง
  • รพ สมุทรสาคร
  • วัดศรีเมือง
  • ตำรวจและทหาร

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

 

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

การประชุม วางแผน กระจายงานและประสานกับผู้เกี่ยวข้อง ก่อน ร่วมมือกันปฏิบัติงาน

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

การสร้างนักเรียนแกนนำ การส่งแกนนำไปอบรมทุกเรื่องที่จำเป็นและสำคัญเพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพแกนนำและนำความรู้มาปฏิบัติและถ่ายทอดรุ่นต่อรุ่น รวมทั้งการเชิญผู้เชียวชาญด้านต่างๆโดยตรงเข้ามาอบรมให้ความรู้อย่างทั่วถึง

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

การประสานงาน และการแจ้งข่าวสารที่สำคัญให้แก่ชุมชนรอบข้างทราบเมอถึงกิจกรรรมในโรงเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

พื้นที่โรงเรียน มีจำนวนจำกัด จึงเน้นเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ดี มีผักและสมุนไพรหลากหลายชนิด แต่ยังไม่เพียงพอสำหรับอาหารกลางวัน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

พื้นที่จำกัดและติดชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

เลี้ยงเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ทั้งในโรงเรียนและแก่บุคคลภายนอก แต่ไม่พอสำหรับอาหารกลางวัน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

โดยแม่ครัวรับเหมา เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบ

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

มีการจัดทำโครงการเศรษฐกิจพอเพียง ปลูกผักปลอดสาร โดยการไปศึกษาดูงานจากทั้งโรงเรียนและในชุมชนตัวอย่างมาเป็นต้นแบบ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

ได้ทำ แต่ไม่ต่อเนื่อง โดยเฉพาะในเทอมที่ 2 ที่ติดภาระ ทำให้ไม่ได้ทำ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

แบบบันทึกน้ำหนักส่วนสูงรายชั้นและแบบสรุปภาวะดภชนาการ

 

 

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/1
เตี้ย 0.79 0.79% 1.26 1.26% 1.24 1.24% 1.71 1.71% 1.56 1.56% 2.19 2.19%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 1.43 1.43% 1.41 1.41% 1.40 1.40% 1.71 1.71% 1.56 1.56% 2.19 2.19%
ผอม 0.95 0.95% 2.51 2.51% 6.68 6.68% 5.75 5.75% 6.39 6.39% 4.69 4.69%
ผอม+ค่อนข้างผอม 1.74 1.74% 5.65 5.65% 6.68 6.68% 5.75 5.75% 6.39 6.39% 4.69 4.69%
อ้วน 4.44 4.44% 3.92 3.92% 6.83 6.83% 6.83 6.83% 7.63 7.63% 11.89 11.89%
เริ่มอ้วน+อ้วน 8.24% 8.24% 6.91% 6.91% 10.40% 10.40% 10.09% 10.09% 9.19% 9.19% 11.89% 11.89%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง
  • กิจกรรมพุงจ๋าหนูลาก่อน
  • กิจกรรมออกกำลังกายหน้าเสาธง
  • ร่วมมือกับภาคีเครือข่าย เพื่ออบรมให้แก่กลุ่มเสี่ยง
  • การอบรมให้ความรู้ด้านอาหาร โภชนาการ ทั้งจากครู แกนนำ และวิทยากรที่เชี่ยวชาญ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง
  • การจัดจำหน่ายอาหารเช้าในโรงเรียน
  • การจัดบริการนมให้ดื่มทุกเช้า
  • การจัดออกกำลังและสอนสอดแทรกบูรณาการ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง
  • การจัดจำหน่ายอาหารเช้าในโรงเรียน
  • การจัดบริการนมให้ดื่มทุกเช้า
  • การจัดออกกำลังและสอนสอดแทรกบูรณาการ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร
  • กิจกรรมพุงจ๋าหนูลาก่อน
  • กิจกรรมออกกำลังกายหน้าเสาธง
  • ร่วมมือกับภาคีเครือข่าย เพื่ออบรมให้แก่กลุ่มเสี่ยง โดยเฉพาะโรคอ้วน
  • การอบรมให้ความรู้ด้านอาหาร โภชนาการ ทั้งจากครู แกนนำ และวิทยากรที่เชี่ยวชาญ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

การจัดอบรมในวันประชุมผู้ปกครอง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

  • รพสต บ้านศรีเมือง
  • รพ สมุทรสาคร
  • วัดศรีเมือง
  • ตำรวจและทหาร

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh