แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนสุเหร่าจรเข้ขบ (กุลางกูรอุปถัมภ์)
รหัสโครงการ ศรร. 1233-116 รหัสสัญญา 58-00-2265-ก.15 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
- โรงเพาะเห็ด
- การเลี้ยงปลาดุก
- การเพาะถั่วงอก
- การปลูกผักไฮโดร
- การทำน้ำยาล้างจาน
- การปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินได้
กิจกรรมทุกชนิดเป็นการเรียนรู้ร่วมกันโดยให้ นักเรียนได้ปฏิบัติจริง เรียนรู้ด้วยตนเองจากการอธิบายจากผู้รู้โดยตรง หลักฐาน รูปถ่าย/การปฏิบัติจริงที่โรงเรียนสุเหร่าจรเข้ขบ
- กิจกรรมเพาะเห็ด ให้นักเรียนได้ดูแลก้อนเชื้อเห็ดโดยการรดน้ำและเก็บเกี่ยวดอกเห็ด
- การเลี้ยงปลาดุกนักเรียนมีการให้อาหารปลามีการวัดขนาดการเจริญเติบโตของปลาและเปลี่ยนถ่ายน้ำเพื่อสุขอนามัยของการเลี้ยงปลาที่ดีนำปลาที่ได้ไปจำหน่าย และแปรรูปในรูปแบบต่างๆ เช่น ปลาดุกแดดเดียวปลาดุกฟูเป็นต้น
- การเพาะถั่วงอกนักเรียนเพาะถั่วงอกแบบคอนโดโดยใช้ตะกร้า เข่ง และปลูกตามหลักวิธีการเพาะถั่วงอกโดยมีการรดน้ำดูแล ให้ถั่วงอกเจริญเติบโตและสามารถนำผลิตผลไปส่งต่อให้โรงอาหารเพื่อทำอาหารกลางวันป้อนให้กับโรงเรียนในลำดับต่อไป
- การปลูกผักไฮโดรนักเรียน มีการคัดเลือกชนิดพันธู์ให้เหมาะสมกับฤดูกาลและสภาพอากาศโดยที่ปลูกพันธุ์ผักและดูแลผักแต่ละชนิดโดยมีการใส่ปู่ยเปลี่ยนน้ำและวัดขนาดการเจริญเติบโตของพืช ทำการบันทึกการเปลี่ยนแปลงเก็บเกี่ยวผลผลิต นำผักมาจัดทำเป็นสลัดโรลเพื่อให้ง่ายต่อการรับประทานของเด็กมากขึ้น
- การทำน้ำยาล้างจาน ใช้หัวเชื้อทำน้ำยาเอนกประสงค์ ในการทำโดยเติมส่วนผสมน้ำหมักชีวภาพ ทำให้เป็นน้ำยาเอนกประสงค์สำหรับถูบ้าน ล้างจานล้างห้องน้ำ และนำไปเป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ภายในโรงเรียนแทนการซื้อเคมีภัณฑ์มาใช้ในโรงเรียนและมีการจำหน่ายให้กับผู้ปกครองและชุมชนที่สนใจ
-การปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินได้ ด้วยโรงเรียนสังกัด กทม. มีพื้นที่จำกัดจึงใช้พื้นที่อย่างเต็มประสิทธิภาพด้วยการปลูกผักหน้าระเบียงเพื่อเพิ่มทัศนยีภาพ และ เป็นแหล่งการเรียนรู้เพิ่มขึ้น
โรงเรียนมีการจัดทำโครงงาน "เครื่องรดน้ำต้นไม้รักษ์โลก" เป็นนวัตกรรมที่ช่วยในการรดน้ำและช่วยทางการเกษตรโดยประหยัดพลังงาน
พัฒนาด้านผลผลิตให้มีคุณภาพ และจัดจำหน่ายให้กับชุมชน และสถานที่ใกล้เคียง
- พัฒนาเครื่องรดน้ำต้นไม้รักษ์โลก ให้มีประสิทธิภาพโดยการที่ใช้แผงพลังงานโซล่าเซลล์ในการจัดเก็บพลังงานการขับเคลื่อนรถรดน้ำต้นไม้ให้เคลื่อนที่ไปได้และจะทำการพัฒนาต่อยอดผลิตนวัตกรรมอื่นๆ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
- กิจกรรมออมทรัพย์
- กิจกรรมร้านค้า
-การผลิต
การร่วมลงทุน ในลักษณะหุ้น และจำหน่ายสินค้าที่เป็นผลผลิตที่ได้จากโครงการและการนำไปประยุกต์เป็นผลิตภัณฑ์อื่นๆ เช่น น้ำยาล้างจานปลอดสารพิษ,เห็ดสวรรค์อบกรอบ,ปลาดุกแดดเดียว เป็นต้น สลับกันในการจัดจำหน่าย
- มีการออมทรัพย์โดยการฝากเงิน และสามารถถอนเงินได้จากคุณครูประจำชั้น
- มีการฝากเงินเข้าบัญชีของธนาคารอิสลามตามหลักการของธนาคารอิสลามซึ่งเหมาะสมกับโรงเรียนที่มีนักเรียนเป็นมุสลิม
- สหกรณ์ร้านค้า
ดูจากยอดผู้ร่วมหุ้น/จำนวนหุ้นทั้งหมด,ประชุมกลุ่มย่อยวางแผน,นำเสนอผลิตภัณฑ์ในการจัดจำหน่าย,ผลิต,จำหน่าย,ทำบัญชีรายรับรายจ่าย,สรุปยอด,หลักฐาน เอกสารประกอบ/รูปภาพ ดำเนินการที่โรงเรียน
มีการจัดตั้งสหกรณ์ดรงโรงเรียนอย่างเป็นรูปธรรม และดำเนินการตามหลักการของสหกรณ์โรงเรียนเพื่อให้นักเรียนได้รู้จักการออมการซื้อขายการปันผลและการร่วมกันลงทุน
ชักชวนผู้เข้าร่วมหุ้นให้มากขึ้น,ชี้แจงขั้นตอนและวิธีการการเข้าเป็นสมาชิกสหกรณ์นักเรียน/ผลประโยชน์/ข้อตกลง ให้มีความชัดเจนและพัฒนาขึ้นไปตามลำดับ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
การจัดบริการฟรี สำหรับ อาหารเช้า อาหารกลางวัน ที่มีประโยชน์ได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนในแต่ละวัน และมีนมโรงเรียนให้นักเรียนดื่มในทุกๆเช้าและนมกล่องในช่วงปิดเทอม
นักเรียนได้กินผัก – ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้นในมื้อกลางวัน เฉลี่ยผัก วันละประมาณ40 – 100 กรัมอนุบาล 3 ช้อน (50 กรัม) ประถม 4 ช้อน (70 กรัม)
ผลไม้ (อนุบาล½ ส่วนประถม 1 ส่วน) ต่อมื้อต่อคน
- การจัดรายการอาหารของโรงเรียนโดยผสมผสานกับเมนูของTSL โดยเป็นรายการอาหารประจำเดือนโดยเน้นผลไม้เป็นหลักภายใน 5 วัน จะมีผลไม้ 4 วันขนมไทย 1 วัน
จัดเป็นเมนูอาหารของนักเรียนมุสลิม โดยให้ TSL จัดอาหารที่เป็นเมนูอาหารอิสลามที่หลากหลายและถูกต้องตามหลักฮาลาลและเป็นเมนูอาหาร 2 อย่าง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนเพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ไม่ควรเลี้ยงดูให้ลูกเกิดพฤติกรรมชอบกินของหวาน
ลดปริมาณและความถี่ในการรับประทานอาหารแป้งและน้ำตาล
หลีกเลี่ยงอาหารแป้งและน้ำตาลที่ใช้เวลาอยู่ในปากนานหรือติดฟันหลังหลังรับประทาน เช่นลูกอม
จำกัดการรับประทานอาหารจำพวกแป้งและน้ำตาลให้อยู่ในมื้ออาหาร
เลือกรับประทานอาหารว่างที่ดีมีประโยชน์และไม่ทำลายฟัน เช่นผลไม้ชนิดต่าง ๆ ที่ส่วนของน้ำตาลน้อย อาทิ ฝรั่ง มะละกอ
หลีกเลี่ยงการกินจุบกินจิบ, ดื่มน้ำอัดลม
อย่าหัดให้ลูกมีนิสัยจู้จี้ในการกิน หรือกินจุบจิบ โดยเฉพาะอาหารที่ไม่มี ประโยชน์ หรืออาจเป็นโทษต่อร่างกาย เช่น อาหารที่ใส่สีจัด น้ำอัดลม น้ำหวาน ลูกอม ควรงดกิน อาหารสุก ๆ ดิบ ๆ และหมักดอง
มีกิจกรรมลดอ้วนให้นักเรียนได้ออกกำลังกาย
มีการเฝ้าระวังตามภาวะโภชนาการ
1.กินอาหารครบ 5หมู่ แต่ละหมู่ให้หลากหลาย และหมั่นดูแลน้ำหนักตัว
2.กินข้าวเป็นอาหารหลัก สลับกับอาหารประเภทแป้งเป็นบางมื้อ ข้าวที่บริโภคควรเป็นข้าวซ้อมมือ
3.กินพืชผักให้มากและกินผลไม้เป็นประจำ พืชผักและผลไม้ควรกินหลาย ๆ ชนิด
4.กินปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไข่และถั่วเมล็ดแห้งประจำ
5.ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยนมจะให้โปรตีน แคลเซียม วิตามินบีสอง และแร่ธาตุต่าง ๆ
6.กินอาหารที่มีไขมันพอควร ไขมันมีความสำคัญต่อสุขภาพทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
- การล้างมือ 7 ขั้นตอน
- การแปรงฟัน
- ถุงสุขภาพของนักเรียน
- การออกกำลังกาย
- แก้วน้ำส่วนตัวของนักเรียน
สุขภาพเป็นสิ่งสำคัญและเป็นปัจจัยพี้นฐานที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียน มีความพร้อมในการพัฒนาตนเอง
เพื่อการศึกษาในระดับสูงขึ้น และเป็นทรัพยากรบุคคลในการพัฒนาประเทศที่มีประสิทธิภาพ สุขภาพ
แบ่งได้เป็นสุขภาพทางกายและทางจิต ด้านสุขภาพทางกายนั้น ปัจจัยที่แสดงออกถึงการมีสุขภาพที่ดี คือ
สมรรถภาพทางกาย ซึ่งแยกเป็น 2 ประเภทได้แก่สมรรถภาพทางกายที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพคือสุขสมรรถนะ
และสมรรถภาพทางกายที่เกี่ยวข้องกับทักษะกลไกหรือการเล่นกีฬาคือทักษะสมรรถนะ สุขสมรรถนะเป็น
สมรรถภาพทางกายที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ เป็นตัวบ่งชี้ถึงการมีสุขภาพดีของแต่ละคน ส่วนทักษะสมรรถนะ
จะเกี่ยวข้องกับการเล่นกีฬาหรือการออกกำลังกายที่ใช้กลไกการเคลื่อนไหวมากและซับซ้อนขึ้น
การมีสุขภาพและสมรรถภาพทางกายที่ดี จึงเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับผู้เรียนเป็นอย่างมาก และถูก
กำหนดว่าเป็นส่วนสำคัญของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ และหลักสูตรแกนกลาง ของกระทรวง
ศึกษาธิการทั้งยังสอดคล้องกับหลักสุขบัญญัติแห่งชาติ 10 ประการ ของกระทรวงสาธารณสุข
ดั้งนั้นผู้สอน
ที่รับผิดชอบการจัดการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษา – พลศึกษา จึงจำเป็นต้องเข้าใจและ
ส่งเสริมให้นักเรียนดูแลสุขภาพด้านต่างๆ ควบคู่กับสุขสมรรถนะได้อย่างถูกต้องตรงตามจุดมุ่งหมายหลัก
ของตัวชี้วัดสาระแกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยใช้กิจกรรมทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
- โครงการโรงเรียนปลอดขยะ
- โครงการสถานศึกษาปลอดภัยสุขภาพอนามัยดี
- โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
- การส่งเสริมการออกกำลังกายควรเป็นนโยบายของโรงเรียน ซึ่งโรงเรียนควรจัดหาครูพลศึกษาให้มีจำนวนเพียงพอตามความต้องการ
- โรงเรียนควรจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยและสร้างบรรยากาศต่อการออกกำลังกาย
- การดึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอนและการจัดกิจกรรมด้านการดูแลสุขภาพ จะช่วยลดปัจจัยเสี่ยงด้านโรคระบาด อุบัติเหตุ อุบัติภัย ยาเสพติด การพนัน ทำให้นักเรียนและคนในชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เศรษฐกิจแข็งแรง มีความเป็นอยู่ได้อย่างพอเพียง สร้างความยั่งยืนให้กับชุมชน และสร้างสัมพันธ์อันดีระหว่างโรงเรียนกับภาคส่วนต่างๆ ในชุมชน ซึ่งจะส่งผลดีต่อเนื่องในระยะยาวต่อไป
-มีสำนึกต่อส่วนรวม ร่วมสร้างสรรค์สังคม เช่น การทิ้งขยะให้ลงถัง แยกประเภทของขยะ และช่วยกันอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม
- นักเรียนจะมีความพร้อมทางการศึกษา มีพฤติกรรมทางสุขภาพที่ดีขึ้น สร้างบรรยากาศที่ดีทางการเรียน และสร้างบรรยากาศที่ดีในโรงเรียน
- บุคคลที่เกี่ยวข้องในชุนชนได้รับความรู้จากการจัดกิจกรรมต่างๆ ที่ทำร่วมกับโรงเรียนจากนักเรียน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โรงเรียนสุเหร่าจรเข้ขบ (กุลางกูรอุปถัมภ์)
รหัสโครงการ ศรร. 1233-116 รหัสสัญญา 58-00-2265-ก.15 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ |
|
กิจกรรมทุกชนิดเป็นการเรียนรู้ร่วมกันโดยให้ นักเรียนได้ปฏิบัติจริง เรียนรู้ด้วยตนเองจากการอธิบายจากผู้รู้โดยตรง หลักฐาน รูปถ่าย/การปฏิบัติจริงที่โรงเรียนสุเหร่าจรเข้ขบ
- กิจกรรมเพาะเห็ด ให้นักเรียนได้ดูแลก้อนเชื้อเห็ดโดยการรดน้ำและเก็บเกี่ยวดอกเห็ด
- การเลี้ยงปลาดุกนักเรียนมีการให้อาหารปลามีการวัดขนาดการเจริญเติบโตของปลาและเปลี่ยนถ่ายน้ำเพื่อสุขอนามัยของการเลี้ยงปลาที่ดีนำปลาที่ได้ไปจำหน่าย และแปรรูปในรูปแบบต่างๆ เช่น ปลาดุกแดดเดียวปลาดุกฟูเป็นต้น
- การเพาะถั่วงอกนักเรียนเพาะถั่วงอกแบบคอนโดโดยใช้ตะกร้า เข่ง และปลูกตามหลักวิธีการเพาะถั่วงอกโดยมีการรดน้ำดูแล ให้ถั่วงอกเจริญเติบโตและสามารถนำผลิตผลไปส่งต่อให้โรงอาหารเพื่อทำอาหารกลางวันป้อนให้กับโรงเรียนในลำดับต่อไป
- การปลูกผักไฮโดรนักเรียน มีการคัดเลือกชนิดพันธู์ให้เหมาะสมกับฤดูกาลและสภาพอากาศโดยที่ปลูกพันธุ์ผักและดูแลผักแต่ละชนิดโดยมีการใส่ปู่ยเปลี่ยนน้ำและวัดขนาดการเจริญเติบโตของพืช ทำการบันทึกการเปลี่ยนแปลงเก็บเกี่ยวผลผลิต นำผักมาจัดทำเป็นสลัดโรลเพื่อให้ง่ายต่อการรับประทานของเด็กมากขึ้น
- การทำน้ำยาล้างจาน ใช้หัวเชื้อทำน้ำยาเอนกประสงค์ ในการทำโดยเติมส่วนผสมน้ำหมักชีวภาพ ทำให้เป็นน้ำยาเอนกประสงค์สำหรับถูบ้าน ล้างจานล้างห้องน้ำ และนำไปเป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ภายในโรงเรียนแทนการซื้อเคมีภัณฑ์มาใช้ในโรงเรียนและมีการจำหน่ายให้กับผู้ปกครองและชุมชนที่สนใจ
-การปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินได้ ด้วยโรงเรียนสังกัด กทม. มีพื้นที่จำกัดจึงใช้พื้นที่อย่างเต็มประสิทธิภาพด้วยการปลูกผักหน้าระเบียงเพื่อเพิ่มทัศนยีภาพ และ เป็นแหล่งการเรียนรู้เพิ่มขึ้น |
พัฒนาด้านผลผลิตให้มีคุณภาพ และจัดจำหน่ายให้กับชุมชน และสถานที่ใกล้เคียง
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ |
|
|
มีการจัดตั้งสหกรณ์ดรงโรงเรียนอย่างเป็นรูปธรรม และดำเนินการตามหลักการของสหกรณ์โรงเรียนเพื่อให้นักเรียนได้รู้จักการออมการซื้อขายการปันผลและการร่วมกันลงทุน ชักชวนผู้เข้าร่วมหุ้นให้มากขึ้น,ชี้แจงขั้นตอนและวิธีการการเข้าเป็นสมาชิกสหกรณ์นักเรียน/ผลประโยชน์/ข้อตกลง ให้มีความชัดเจนและพัฒนาขึ้นไปตามลำดับ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ | การจัดบริการฟรี สำหรับ อาหารเช้า อาหารกลางวัน ที่มีประโยชน์ได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนในแต่ละวัน และมีนมโรงเรียนให้นักเรียนดื่มในทุกๆเช้าและนมกล่องในช่วงปิดเทอม |
นักเรียนได้กินผัก – ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้นในมื้อกลางวัน เฉลี่ยผัก วันละประมาณ40 – 100 กรัมอนุบาล 3 ช้อน (50 กรัม) ประถม 4 ช้อน (70 กรัม) ผลไม้ (อนุบาล½ ส่วนประถม 1 ส่วน) ต่อมื้อต่อคน - การจัดรายการอาหารของโรงเรียนโดยผสมผสานกับเมนูของTSL โดยเป็นรายการอาหารประจำเดือนโดยเน้นผลไม้เป็นหลักภายใน 5 วัน จะมีผลไม้ 4 วันขนมไทย 1 วัน |
จัดเป็นเมนูอาหารของนักเรียนมุสลิม โดยให้ TSL จัดอาหารที่เป็นเมนูอาหารอิสลามที่หลากหลายและถูกต้องตามหลักฮาลาลและเป็นเมนูอาหาร 2 อย่าง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ | การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนเพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น |
ไม่ควรเลี้ยงดูให้ลูกเกิดพฤติกรรมชอบกินของหวาน
ลดปริมาณและความถี่ในการรับประทานอาหารแป้งและน้ำตาล มีกิจกรรมลดอ้วนให้นักเรียนได้ออกกำลังกาย มีการเฝ้าระวังตามภาวะโภชนาการ |
1.กินอาหารครบ 5หมู่ แต่ละหมู่ให้หลากหลาย และหมั่นดูแลน้ำหนักตัว |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ |
|
สุขภาพเป็นสิ่งสำคัญและเป็นปัจจัยพี้นฐานที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียน มีความพร้อมในการพัฒนาตนเอง เพื่อการศึกษาในระดับสูงขึ้น และเป็นทรัพยากรบุคคลในการพัฒนาประเทศที่มีประสิทธิภาพ สุขภาพ แบ่งได้เป็นสุขภาพทางกายและทางจิต ด้านสุขภาพทางกายนั้น ปัจจัยที่แสดงออกถึงการมีสุขภาพที่ดี คือ สมรรถภาพทางกาย ซึ่งแยกเป็น 2 ประเภทได้แก่สมรรถภาพทางกายที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพคือสุขสมรรถนะ และสมรรถภาพทางกายที่เกี่ยวข้องกับทักษะกลไกหรือการเล่นกีฬาคือทักษะสมรรถนะ สุขสมรรถนะเป็น สมรรถภาพทางกายที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ เป็นตัวบ่งชี้ถึงการมีสุขภาพดีของแต่ละคน ส่วนทักษะสมรรถนะ จะเกี่ยวข้องกับการเล่นกีฬาหรือการออกกำลังกายที่ใช้กลไกการเคลื่อนไหวมากและซับซ้อนขึ้น การมีสุขภาพและสมรรถภาพทางกายที่ดี จึงเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับผู้เรียนเป็นอย่างมาก และถูก กำหนดว่าเป็นส่วนสำคัญของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ และหลักสูตรแกนกลาง ของกระทรวง ศึกษาธิการทั้งยังสอดคล้องกับหลักสุขบัญญัติแห่งชาติ 10 ประการ ของกระทรวงสาธารณสุข |
ดั้งนั้นผู้สอน ที่รับผิดชอบการจัดการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษา – พลศึกษา จึงจำเป็นต้องเข้าใจและ ส่งเสริมให้นักเรียนดูแลสุขภาพด้านต่างๆ ควบคู่กับสุขสมรรถนะได้อย่างถูกต้องตรงตามจุดมุ่งหมายหลัก ของตัวชี้วัดสาระแกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยใช้กิจกรรมทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||