ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านทุ่งยาว

รหัสโครงการ ศรร.1212-036 รหัสสัญญา 58-00-2265-ก.5 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

การเลี้ยงเป็ดไข่ ที่ใหม่สำหรับโรงเรียน และมีการนำไข่มาแปรรูปเป็นไข่เค็ม

มีการจัดซื้อเป็ดสาวมาจำนวน 50 ตัว มีการไข่แต่ละวันจำนวนมากจึงนำมาทำไข่เค็มจำหน่ายในชุมชนและผู้ปกครอง

การพัฒนาในการเลี้ยงเป้ดการดูแลเพราะปัจจุบันมีแม่ค้าภายนอกมารับไข่ไปจำหน่าย

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

การนำผลผลิตแปรรูปมาจำหน่ายในสหกรณ์

การแปรรูปไข่เป็ดให้เป็นไข่เค็ม โดยมีขั้นตอนการทำคือ การนำขี้เถาผสมแกลบแล้วนำมาห่อไข่ทิ้งระยะเวลาไว้ 3 อาทิตย์

มีการพัฒนาทำผลผลิตเพิ่มขึ้น

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

การจัดทำเมนูอาหารที่แปลกไปกว่าเมื่อก่อนไม่จำเจ และมีกับข้าวให้เด็กเลือกหลายอย่าง

การจัดทำเมนูอาหารรายเดือน

การจัดทำอาหารเช้าให้กับนักเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

มีการจัดค่าย และการควบคุมอาหารให้กับเด็กที่อ้วนและผอม

จัดค่ายเพื่อสุขภาพให้กับนักเรียนที่อ้สนและผอม

มีการจัดค่ายต่อเนื่องจนกว่าจะไม่มีเด็กอ้วนและผอมในโรงเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

การหาวิธีกำจัดเหาเป็นโรงเรียนปลอดเหา

มีการกำจัดเหาให้นักเรียนทุกอาทิตย์ในวันศุกร์

ทำอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เป็นโรงเรียนปลอดเหา

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

5 ห้องชีวิตทำให้ห้องเรียนน่าอยุ่และน่าเรียนมากยิ่งขึ้น

จัดทำไวนิลให้ความรู้ และคุณครูให้ความรู้วิธีการปฏิบัติตนในการใช้ชีวิต 5 ห้องชีวิต

จัดทำให้ห้องเรียนน่าอยู่อย่างต่อเนื่องทำให้ห้องเรียนน่าอยู่ยิ่งขึ้น

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

การพัฒนาร่างกายให้แข็งแรง มีจิตใจที่ดี ชีวีมีสุขสร้างให้นักเรียนรู้จักการใช้ชีวิตอน่างไรให้มีความสุข

จัดกิจกรรมให้นักเรียนโดยมีคุณครูและเจ้าหน้าที่อนามัยมาให้ความรู้

ส่งเสริมให้มีกิจกรรมการเรียนรู้ชีวิตอย่างต่อเนื่อง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

การแปรรูปอาหารและการทำอาหารเพื่อสุขภาพ

มีวิทยากรมาให้ความรู้และสอนวิธีการทำอาหารเพื่อสุขภาพ

จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

องค์การบริหารส่วนตำบลทับใต้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลผู้ปกครอง คนในชุมชน

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

สถานที่มีความพร้อม เนื้อที่ในการจัดกิจกรรมมีความเพียงพอในการทำกิจกรรม

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

คณะผู้บริหาร คณะครู นักเรียน ผู้ปกครองรวมถึงบุคคลในโรงเรียน ชุมชน

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

คุณครูและนักเรียนมีกระบวนการเรียนรู้ในเรื่องการเกษตรการแปรรูปอาหาร การทำอาหารเพื่อสุขภาพ

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมกิจกรรม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

มีผักเพียงพอในการผลิตอาหารให้กับนักเรียนอาหารกลางวัน และมีเหลือจำหน่ายสู่ชุมชน ผลไม้มีเพียงพอ

การจัดทำเกษตรในโรงเรียน

มีการทำอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

มีการเลี้ยงไก่ไข่ และการเลี้ยงเป็ดไข่ และเพียงพอกับจำนวนนักเรียน

มีโรงเลี้ยงไก่ไข่ และเป็ดไข่

มีการเลี้ยงไก่ไข่และเป้ดไข่อย่างต่อเนื่องเพราะเหลือจากเข้าอาหารกลางวันเด็กยังมีเหลือขายสุ่ชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

มีการเลี้ยงปลาเพื่อนำมาเป็นอาหารกลางวัน

บ่อเลี้ยงปลา

มีการเลี้ยงปลาอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

นักเรียนอนุบาลได้รับประทานผักและผลไม้

การรับประทานอาหารกลางวันของนักเรียน

ทำเป็นปกติและต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

นักเรียนประถมศึกษาได้รับประทานผักและผลไม้อย่างเพียงพอ

การรับประทานอาหารกลางวันของนักเรียน

ทำอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

ไม่มีเด็กอายุระดับนี้

ไม่มี

ไม่มี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

ผู้ปกครองชุมชนมีส่วนร่วมในการให้ความรู้ การแนะการปลูกผักปลอดสารพิษ ร่วมถึงชมรมผู้สูงอายุมาให้ความรู้และสอนวิธีการทำน้ำสมุนไพร การทำอาหารรักษาโรค

การจัดกิจกรรมร่วมกับชุมชน ภาพถ่ายการจัดกิจกรรม

จะทำกิจกรรมแบบนี้อย่างต่อเนื่องตลอดไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

ยังไม่สมบูรณ์

ยังไม่สมบูรณ์ และไม่เป็นปัจจุบัน

พยายามจะทำให้สมบูรณ์ 100%

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการชั่งน้ำหนักส่วนสูงครบบทั้งโรงเรียนภาคเรียนละ 2 ครั้ง

ภาพการทำกิจกรรม

ทำอย่างนี้อย่างต่อเนื่องและนำผลที่ได้มาปรับปรุงและพัฒนา

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/2
เตี้ย 0.64 0.64% 11.56 11.56% 7.48 7.48% 4.17 4.17% 5.07 5.07% 5.38 5.38% 7.94 7.94% 5.05 5.05% 6.34 6.34% nan nan% nan nan% nan nan% nan nan%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 2.56 2.56% 11.56 11.56% 10.88 10.88% 15.00 15.00% 8.70 8.70% 11.54 11.54% 13.49 13.49% 8.08 8.08% 7.04 7.04% nan nan% nan nan% nan nan% nan nan%
ผอม 1.28 1.28% 6.12 6.12% 8.84 8.84% 11.59 11.59% 10.87 10.87% 9.23 9.23% 6.87 6.87% 3.52 3.52% 4.23 4.23% 7.38 7.38% 6.71 6.71% 6.54 6.54% 5.23 5.23%
ผอม+ค่อนข้างผอม 1.92 1.92% 6.12 6.12% 14.97 14.97% 24.64 24.64% 21.74 21.74% 19.23 19.23% 11.45 11.45% 4.23 4.23% 6.34 6.34% 12.08 12.08% 11.41 11.41% 12.42 12.42% 8.50 8.50%
อ้วน 2.56 2.56% 10.88 10.88% 4.08 4.08% 4.35 4.35% 3.62 3.62% 5.38 5.38% 6.87 6.87% 5.63 5.63% 5.63 5.63% 5.37 5.37% 6.71 6.71% 5.23 5.23% 5.23 5.23%
เริ่มอ้วน+อ้วน 3.85% 3.85% 10.88% 10.88% 9.52% 9.52% 9.42% 9.42% 10.87% 10.87% 10.00% 10.00% 10.69% 10.69% 10.56% 10.56% 7.04% 7.04% 9.40% 9.40% 8.72% 8.72% 8.50% 8.50% 8.50% 8.50%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

ยังไม่ลดลงเนื่องจากเด็กที่อ้วนมีปัจจัยหลายอย่าง เช่นกรรมพันธ์การเลือกกินอาหารที่บ้าน การกินของผู้ปกครอง ทุกสิ่งอย่างเป็นปัจจัยที่ทำให้เด็กผอมยาก

กราฟภาวะโภชนาการ

โรงเรียนจัดกิจกรรมให้นักเรียนที่เริ่มอ้วนและอ้วนอย่างสม่ำเสมอ และสอนวิธีการเลือกกินอาหารที่มีประโยชน์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

ยังไม่ลดลงเนื่องจากเด็กที่ผอมมีปัจจัยหลายอย่าง เช่นกรรมพันธ์การเลือกกินอาหารที่บ้าน การกินของผู้ปกครอง เด็กห่วงเล่นไม่สนใจการกิน

กราฟภาวะโภชนาการ

โรงเรียนจัดกิจกรรมให้นักเรียนที่ผอมอย่างสม่ำเสมอ และสอนวิธีการเลือกกินอาหารที่มีประโยชน์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

ยังไม่ลดลงเนื่องจากเด็กที่เตี้ยมีปัจจัยหลายอย่าง เช่นกรรมพันธ์การเลือกกินอาหารที่บ้าน การกินของผู้ปกครอง เด็กห่วงเล่นไม่สนใจการดื่มนม

กราฟภาวะโภชนาการ

โรงเรียนจัดกิจกรรมให้นักเรียนที่ผอมอย่างสม่ำเสมอ และสอนวิธีการเลือกกินอาหารที่มีประโยชน์ การดื่มนมทุกวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

มีการแจกนม การรับประทานอาหารเสริมเพิ่มขึ้นมากกว่าเด็นที่สมส่วน

การรับประทานอาหารของเด็กๆๆ

มีการเสริมให้กับเด็กที่มีภาวะโภชนาการที่ไม่ผอมและเตี้ยเป็นรายบุคคล

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

มีการแนะนำให้ผู้ปกครองช่วยในเรื่องของการรับประทานอาหารที่มีประดยชน์ครบ 5 หมู่

กิจกรรมภาพต่างๆๆ

มีการแนะนำนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการที่ไม่สมส่วนอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

องค์การบริหารส่วนตำบลทับใต้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลผู้ปกครอง คนในชุมชน

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh