แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1. เพื่อพัฒนาด้านสุขภาพให้นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะจากการเรียนรู้จริงในกิจกรรมเกษตรในโรงเรียน สหกรณ์นักเรียนและการรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ และโภชนาการเหมาะสมตามวัย
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนมีภาวะโภชนาการเหมาะสมตามวัย มีการเจริญเติบโตสมส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. นักเรียนมีภาวะทางอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้นโดยการใช้แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก(SDQ)ของนักเรียน กลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง ไม่เกินร้อยละ 5 ในแต่ละชั้นเรียน

 

 

  • มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เป็นประจำทุกเดือน เพื่อตรวจสอบภาวะโภชนาการของนักเรียน

  • มีการทดสอบสมรรถภาพนักเรียนปีละ 1 ครั้ง

  • จัดทำข้อมูลสารสนเทศนักเรียนทุกคนโดยแยกประเภทนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการปกติ นักเรียนที่มีภาวะโรคอ้วนนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาต่อไป

  • จัดทำระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยใช้แบบประเมิน (SDQ) เพื่อคัดกรองนักเรียน ว่านักเรียนแต่ละคนมีปัญหาด้านใดจะได้ดำเนินแก้ปัญหาให้กับนักเรียนได้อย่างถูกต้อง
2 2. เพื่อพัฒนารูปแบบการลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียนทุกระดับชั้น
ตัวชี้วัด : 1. มีระบบการคัดกรองนักเรียนที่มีปัญหาด้านภาวะโภชนาการ ภาวะเริ่มอ้วน - อ้วน และผอมทุกชั้นเรียน 2. มีการจัดรายการอาหารราย 1 เดือน ตามภาวะโภชนาการ (TSL) 3. นักเรียนได้รับอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของมาตรฐานโภชนาการในมื้อกลางวัน 4. นักเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วน - อ้วน และผอมได้รับการดูแลด้านการจัดบริการอาหารให้เหมาะสม

 

 

  • มีการคัดกรองนักเรียนที่มีปัญหาด้านภาวะโภชนาการภาวะโรคอ้วนผอมในทุกชั้นเรียน
  • มีการจัดทำระบบสารสนเทศนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโรคอ้วนภาวะทุพโภชนาการ
  • จัดกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหานักเรียนที่มีภาวะโรคอ้วนภาวะทุพโภชนาการ
  • จัดรายการอาหารกลางวันให้แก่นักเรียนโดยใช้โปรแกรม Thai school lunch ทุกวัน
  • จัดทำตารางการจัดรายการอาหารประจำสัปดาห์ ืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืื- จัดบริการอาหารให้กับนักเรียนที่มีภาวะโรคอ้วนอย่างเหมาะสมถูกต้องตามหลักโภชนาการ
3 3. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน ในการดูแลสุขภาพของนักเรียน การจัดสิ่งแวดล้อมอาหารที่มีผลดีต่อสุขภาพ และสร้างความยั่งยืนในการดำเนินงาน
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ปกครองนักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดอาหารที่บ้านโดยเรียนรู้จากการจัดรายการอาหารของโรงเรียนตาม TSL อย่างน้อยร้อยละ 80 2. จัดสิ่งแวดล้อมทางอาหารให้ผู้จำหน่ายอาหารหน้าโรงเรียนมีเมนูอาหารที่มีผักและผลไม้ อย่างน้อย 2 รายการต่อวัน

 

 

  • จัดประชุมผู้ปกครองให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch - จัดทำเอกสารเผยแพร่เกี่ยวกับประโยชน์ของการบริโภคอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการการมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหารฯลฯ
  • มีการติดตามผลการจัดรายการเมนูอาหารที่บ้านของผู้ปกครอง
  • ประเมินความพึงพอใจของนักเรียนผู้ปกครองที่มีต่อการจัดรายการอาหารโดยใช้โปรแกรมThaiSchoolLunch
  • จัดสถานที่ให้แก่ผู้จำหน่ายอาหารหน้าโรงเรียนให้เหมาะสมสะอาดถูกหลักอนามัย
  • จัดถังขยะถังคัดแยกขยะไว้ให้แก่ผู้จำหน่ายอาหารหน้าโรงเรียน
  • แต่งตั้งคณะกรรมการ กำกับ ติดตามตรวจสอบ ความสะอาด การจำหน่ายอาหารหน้าโรงเรียนอย่างสม่ำเสมอ
  • ประเมินความพึงพอใจเของผู้จำหน่ายอาหารหน้าโรงเรียนที่มีต่อสถานที่ในการจำหน่ายอาหารหน้าโรงเรียน
  • ประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อสถานที่ในการจำหน่ายอาหารของผู้จำหน่ายอาหารหน้าโรงเรียน
  • อบรมให้ความรู้ผู้จำหน่ายอาหารหน้าโรงเรียนเกี่ยวกับการจำหน่ายผักผลไม้ให้แก่นักเรียน
  • แต่งตั้งคณะกรรม กำกับติดตาม ตรวจสอบการจำหน่ายผัก ผลไม้ของผู้จำหน่ายอาหารหน้าโรงเรียน
  • ประเมินความพึงพอใจนักเรียนครูผู้ปกครอง ผู้จำหน่ายอาหารหน้าโรงเรียน ที่มีต่อการจำหน่ายผัก ผลไม้ให้แก่นักเรียน
4 4. เพื่อสร้างความตระหนักรู้และความตื่นตัวของชุมชนในการจัดการด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพของนักเรียน
ตัวชี้วัด : 1. ร้านค้าหน้าโรงเรียนมีความรู้ด้านโภชนาการอาหารและจำหน่ายอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ 2. นักเรียนทุกคนได้รับการตรวจสุขภาพเทอมละ 1 ครั้งและได้รับการช่วยเหลืออย่างเหมาสม

 

 

  • จัดอบรมให้ความรู้ด้านโภชนาการอาหาและ การจำหน่ายอาหารที่ถฏหลักโภชนาการให้แก่ผู้จำหน่ายอาหารหน้าโรงเรียนนักเรียนผู้ปกครอง
  • แต่งตั้งคณะกรรมการกำกับติดตามตรวจสอบการจำหน่ายอาหารของผู้จำหน่ายอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ
  • ประเมินความพึงพอใจนักเรียนครูผู้ปกครองผู้จำหน่ายอาหาร ที่มีต่อการจำหน่ายอาหารของผู้จำหน่ายอาหารหน้าโรงเรียน
  • จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน โดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพเทอมละ 1 ครั้ง จากเจ้าหน้าที่อนามัยของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศรีมหาโพธิ์ เจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลห้วยพลู
  • บันทึกสุขภาพนักเรียน ลงในสมุดบันทึกสุขภาพเป็นปัจจุบัน
  • นักเรียนที่มีปัญหาจะได้รับการช่วยเหลือแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม