แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โรงเรียนชุมชนวัดบางกระดาน(สวนราษฎร์บำรุง)
“ โรงเรียนชุมชนวัดบางกระดาน(สวนราษฎร์บำรุง) ”
ตำบลบางปิด อำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด 23120
หัวหน้าโครงการ
นายชะเอม ชวลิตชัยชาญ
ชื่อโครงการ โรงเรียนชุมชนวัดบางกระดาน(สวนราษฎร์บำรุง)
ที่อยู่ ตำบลบางปิด อำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด 23120 จังหวัด ตราด
รหัสโครงการ ศรร.1212-040 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ก.09
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนชุมชนวัดบางกระดาน(สวนราษฎร์บำรุง) จังหวัดตราด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางปิด อำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด 23120
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนชุมชนวัดบางกระดาน(สวนราษฎร์บำรุง) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนชุมชนวัดบางกระดาน(สวนราษฎร์บำรุง)
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนชุมชนวัดบางกระดาน(สวนราษฎร์บำรุง) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางปิด อำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด 23120 รหัสโครงการ ศรร.1212-040 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนชุมชนวัดบางกระดาน(สวนราษฎร์บำรุง) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 190 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐานจำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็นจากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนชุมชนวัดบางกระดาน(สวนราษฎร์บำรุง) จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1) เพื่อส่งเสริมการเกษตรในโรงเรียนสำหรับอาหารกลางวัน
- เพื่อฝึกฝนนักเรียนให้มีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการทำงานสหกรณ์
- เพื่อจัดบริการอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการ สะอาด และปลอดภัย
- เพื่อแก้ปัญหานักเรียนที่มีปัญหาทางด้านสุขภาพอนามัย
- เพื่อให้นักเรียนสร้างสุขนิสัยที่ดี
- เพื่อพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ
- เพื่อให้บริการสุขภาพนักเรียน
- เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการทางด้านการเกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนที่มีปัญหาทางด้านสุขภาพอนามัยได้รับการแก้ไข
- นักเรียนทุกคนมีโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง
- ครูทุกคนดูแลเอาใจใส่นักเรียนและกิจกรรมที่ส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนมีสุขภาพที่ดี
- ผู้ปกครองนักเรียนให้ความร่วมมือกับโรงเรียนในการจัดกิจกรรมและจัดอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
ให้นักเรียน
- องค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน และผู้นำชุมชนเห็นความสำคัญของการมีสุขภาพอนามัยที่ดีและให้ความช่วยเหลือ สนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใส
- โรงเรียนชุมชนวัดบางกระดาน(สวนราษฎร์บำรุง) สามารถดำเนินกิจกรรมได้อย่างมีคุณภาพและเป็นศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมการใช้โปรแกรม
วันที่ 27 มีนาคม 2559 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- แนะนำการบริหารโครงการ
- การจัดการเงิน
- แนะนำการใช้งานเว็บไซด์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต - ครูจำนวน 2 คนเข้าร่วมเข้ารับการอบรม
ผลลัพธ์ - ครูที่ผ่านการอบรมมีความรู้ในการใช้โปรแกรมการจัดทำรายงานผ่านระบบออนไลน์
- ครูสามารถจัดทำรายงานออนไลน์ได้
2
2
2. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับกิจกรรมสหกรณ์ให้กับนักเรียน
วันที่ 3 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- เปิดรับสมัครสมาชิกที่สนใจเข้าร่วมเป็นสมาชิกสหกรณ์
- สมาชิกเข้าประชุมเพื่อเลือกคณะกรรมการ
- ชี้แจงหน้าที่ของสมาชิก ครูที่ปรึกษาและคณะกรรมการ
- มีการซื้อ ขายสินค้า ทำบัญชีรายรับ รายจ่าย
- มีการอบรมให้ความรู้กับนักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1.นักเรียนจำนวน 30 คนเข้ารับการอบรม
2. ครูจำนวน 3 คน เข้าอบรมร่วมกับนักเรียน
ผลลัพธ์
1. นักเรียนมีความรู้เรื่องการทำบัญชีรายรับ รายจ่าย
2. นักเรียนสามารถและได้ลงมือปฏิบัติจริงในการทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายของสหกรณ์
3. นักเรียนมีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ มีความรอบคอบ รู้จักหน้าที่รับผิดชอบ มีความสามัคคี
4. นักเรียนมีความรู้ในกิจกรรมสหกรณ์
5. นักเรียนทีทักษะในการขาย การเลือกสินค้า
33
33
3. เปลี่ยนไส้กรองน้ำ
วันที่ 9 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
เปลี่ยนไส้กรองน้ำจำนวน 3 ตัว เพื่อให้นักเรียนมีน้ำดื่มที่สะอาด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต - มีไส้กรองใหม่ที่ใช้กรองน้ำจำนวน 3 ตัว
ผลลัพธฺ์ - นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีน้ำที่สะอาดไว้ในการอุปโภค บริโภค
175
178
4. ปรับปรุงห้องพยาบาล
วันที่ 9 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดซื้อแผงกั้นแยกผู้ป่วย ชาย-หญิง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต - มีแผลกั้นแยกผู้ป่วยชาย - หญิง
ผลลัพธ์ - ห้อมพยาบาลที่แยกชาย - หญิง อย่างชัดเจน
174
177
5. นักเรียนแกนนำสุขภาพ
วันที่ 9 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดป้ายนิเทศให้ความรู้กับนักเรียนแกนนำโดยแกนนำรุ่นพี่อบรมแกนนำรุ่นน้อง
- จัดทำแบบบันทึกการเจ็บป่วยทั่วไป,แบบบันทึกการเจ็บป่วยอุบัติเหตุ,ทะเบียนคุมยาเพื่อให้มีข้อมูลไว้ตรวจสอบ
- จัดอบรมแกนนำนักเรียนด้านสุขภาพ
- จัดทำสื่อความรู้ แผ่นป่ายประชาสัมพันธ์ที่ห้องพยาบาล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. มีนักเรียนแกนนำ 10 คนเข้ารับการอบรม
2. ได้สื่อองค์ความรูุ้จำนวน 5 เรื่อง
ผลลัพธ์
1. นักเรียนแกนนำมีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยที่มาใช้บริการของห้องพยาบาล
2. นักเรียนที่ใช้บริการห้องพยาบาลได้รับองค์ความรู้ในการดูแลสุขภาพและการป้องกันโรค
11
11
6. จัดซื้อถาดสำหรับใส่อาหารนักเรียน(สแตนเลส)
วันที่ 9 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- สำรวจความต้องการ(จำนวนถาด)ที่ต้องจัดซื้อเพิ่มเติม
- สำรวจราคาจากร้านค้าต่างๆ
- จัดซื้อถาดสำหรับใส่อาหารนักเรียน(สแตนเลส) จำนวน 68 ใบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต - มีการจัดซื้อถามจำนวน 68
ผลลัพธ์ - เรียนมีถาดใส่อาหารที่มีคุณภาพ ทำความสะอาดง่าย ใช้ในการรับประทานอาหารกลางวัน
60
68
7. ค่ายพัฒนาสุขนิสัย
วันที่ 9 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- วิเคราะห์ลักษณะนิสัยที่พึงประสงค์เพื่อวางแผนการพัฒนาโดยพบว่า สุขบัญญัติ 10 ประการ มีความครอบคลุมสุขนิสัยอย่างรอบด้าน
- วางแผนกิจกรรมเพื่อการจัดค่ายพัฒนาสุขนิสัย
- ดำเนินการพัฒนาสุขนิสัยผ่านการฝึกปฏิบัติในกิจกรรมต่างๆ
- พัฒนาสุขนิสัยอย่างต่อเนื่องในชีวิตประจำวัน
- ติดตาม ประเมินผล สุขนิสัยของนักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. นักเรียนจำนวน 175 คนเข้าร่วมโครงการ
2. ครูจำนวน 16 คนเข้าร่วมโครงการ
ผลลัพธ์
1. นักเรียนมีการเปลี่ยนแปลงสุขนิสัยดีขึ้น จากการประเมินพฤติกรรม
2. นักเรียนมีการดูแลช่วยเหลือซึ่งกันและกันเป็นรายบุคคลเพื่อสร้างสุขนิสัยที่ดี
3. นักเรียนมีสุขวิยาส่วนบุคคลที่ดีขึ้น
175
191
8. ทำแผ่นป้ายนิเทศให้ความรู้แก่นักเรียน
วันที่ 12 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดทำแผ่นป้ายนิเทศให้ความรู้แก่นักเรียนในเรื่องสุขภาพอนามัยนักเรียนและสุขบัญญัติ 10 ประการ ทำให้นักเรียนมีความรู้ นำความรู้ไปปฏิบัติให้เกิดความเคยชินจนติดเป็นนิสัย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
-มีป้ายสุขบัญญัติจำนวน 1 ป้ายที่บริเวรโรงอาหาร
ผลลัพธ์
- นักเรียนได้รับองค์ความรู้และมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพตามสุขบัญญัติ
- นักเรียนมีการล้างมือก่อนรับประทานอาหาร และแปรงฟันหลังรับประทานอาหารเพิ่มขึ้น
175
178
9. กิจกรรมการปลูกผัก
วันที่ 14 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดซื้อเมล็ดพันธุ์ผัก
- จัดซื้อปุ๋ย
- จัดซื้ออุปกรณ์การปลูกผัก เช่น คราด กรรไกร
- มีการอบรมจากภุมิปัญญาท้องถิ่นให้กับนักเรียนในการปลูกผัก
- นักเรียนได้ดำเนิทการกิจกรรมปลูกผักโดยแบ่งเป็นช่วงชั้นในการรับผิดชอบผักแต่ละชนิด
- นักเรียนบันทึกผลผลิตที่ได้ของแต่ละกลุ่ม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 175 คน
2. ครูเข้าร่วมกิจกรรม 16 คน
3. ท้องถิ่นและชุมชนเข้าร่วมกิจกรรม 6 คน
ผลลัพธฺ์
1. นักเรียนมีความรู้และทักษะในการปลูกผักร้อยละ 100
2. นักเรียนและบุคลากรได้บริโภคผักที่ปลอดสารพิษ
3. ชุมชนและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน
4. นักเรียนและครูมีความพึงพอใจ
นักเรียนมีความรู้และสมารถปลูกผักไว้รับประทานเองทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน
176
197
10. ปลูกไม้ผลยืนต้น
วันที่ 26 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ศึกษาหาความรู้ เลือกชนิดพันธุ์ของไม้ผลยืนต้น หาจุดเด่น จุดด้อย
- เลือกชนิดของไม้ผลยืนต้น
- จัดซื้อพันธุ์ไม้ ปุ๋ย วัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการปลูกไม้ผลยืนต้น
- ลงมือปลูกไม้ผลยืนต้น
- ดูแล บำรุงไม้ผลยืนต้น
- ครูให้ความรู้กับนักเรียนในการเลือกพันธุ์ไม้และวิธีการปลูก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. นักเรียนจำนวน 40 คนเข้าร่วมโครงการ
2. มีพันธุ์ไม้จำนวน 3 ชนิดในการดำเนินการ
3. มีต้นไม้ยืนต้นที่เป็นไม้ผลจำนวน 43 ต้น
ผลลัพธ์
1. นักเรียนได้เรียนรู้การปลูก การดูแลไม้ผลยืนต้น
2. จะได้ผลไม้ที่นำไปสนับสนุนอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนและถ้ามีผลผลิตเหลือก็นำไปจำหน่ายได้
3. สิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียนดีขึ้น
0
42
11. จัดโปรแกรมอาหารหมุนเวียนรายเดือนด้วยโปรแกรม Thai School Lunch โดยนักเรียนมีส่วนร่วมในการคิดรายการอาหาร
วันที่ 16 ตุลาคม 2559 เวลา 10:30 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดประชุมครูเกี่ยวกับการลงข้อมูลในโปรแกรม Thai School Lunch
- สำรวจความคิดเห็นของนักเรียนในการรับประทานอาหาร
- จัดโปรแกรมอาาหารให้กับนักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. ครูจำนวน 15 คนเข้ารับการอบรม
2. นักเรียนจำนวน 168 คนเข้ารับการอบรม
ผลลัพธ์
1. ครูมีความรู้ในการลงข้อมูลในโปรแกรม Thai School Lunch และสามารถจัดอาหารที่มีคุณค่าให้กับนักเรียนรับประทาน
2. นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการส่งผลให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายดี
35
183
12. จัดให้มีการปรุง ประกอบอาหารถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาลอาหารและอาหารปลอดภัยโดยมีการจัดซื้อวัตถุดิบจากสหกรณ์โรงเรียนและภายในท้องถิ่นที่ปลอดภัยได้มาตรฐาน มีการตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร
วันที่ 16 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ปรับปรุงสถานที่ในการประกอบอาหารให้สะอาด
- แม่ครัวมีการตรวจสุขภาพ
- จัดซื้อวัตถุดิบในการปรุงอาหารผ่านระบบสหกรณ์โรงเรียนและซื้อในท้องถิ่น
- นักเรียนแกนนำมีการตรวจสารปนเปื่อนในอาหาร
- อบรมให้ความรู้แก่แม่ครัว
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. แม่ครัวจำนวน 2 คนเข้ารับการอบรมด้านสุขาภิบาลอาหาร
2. แม่ครัวทั้ง 2 คนตรวจสุขภาพสำหรับผู้ประกอบอาหาร
ผลลัพธ์
1. แม่ครัวจัดโรงอาหารและเตรียมปรุงประกอบอาหารตลอดจนตักบริการอาหารให้นักเรียนและบุคลากรถูกลักสุขขาภิบาลอาหาร
2. โรงอาหารโีรงเรียนมีความสะอาดถูกหลักสุขขาภิบาลอาหาร
3. นักเรียนและบุคลากรได้รับประทานอาหารที่สะอาดปลอดภัย ทำให้สุขภาพร่างกายดี
190
183
13. กิจกรรมรู้ประมาณ รับประทานพออิ่ม มีการบริการตักเสิร์ฟอาหารให้นักเรียนในเวลา 11.00 – 12.00 น. โดยมีการตักในสัดส่วนที่เหมาะสมกับความต้องการและช่วงวัยของนักเรียน
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 เวลา 10:30 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดให้นักเรียนพักกลางวันพร้อมกันคือเวลา 11.10-12.10 น.
- ตักเสิร์ฟอาหารให้นักเรียน โดยมีการตักในสัดส่วนที่เหมาะสมกับความต้องการและช่วงวัยของนักเรียน
- รณรงค์ให้ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการและการบริโภค
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. นักเรียนจำนวน 168 คนได้รับความรู้
ผลลัพธ์
1. นักเรียนร้อยละ 90 มีความรู้เรื่องการรับประทานอาหารที่เหมมาะสมกับวัยของตนเอง
2. นักเรียนได้ประทานอาหารกลางวันพร้อมกันและตรงเวลา ทำให้ไม่ป่วยเป็นโรคกระเพาะอาหาร
3. นักเรียนรู้คุณค่าของอาหารในแต่ละมื้อ
190
183
14. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานโครงการศูนย์เรียนรู้โรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
วันที่ 26 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
เข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้โรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1 และขอเบิกเงินงวดที่ 2
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต - ครูจำนวน 2 คนเข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้โรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1 และขอเบิกเงินงวดที่ 2
ผลลัพธ์ - ทำให้มีการจัดทำรายงานที่สมบูรณ์และถูกต้อง
2
2
15. ถอนเงินเปิดบัญชี
วันที่ 30 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ถอนเงินจากบัญชี 500 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ถอนเงินจากบัญชี 500 บาท
2
0
16. ภูมิปัญญาท้องถิ่น
วันที่ 11 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- เชิญวิทยากรท้องถิ่นมาให้ความรู้กับนักเรียน เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่ยด้านการถนอมอาหาร คือ การทำกล้วยฉาบ
- จัดเตรียมอุปกรณ์
- อบรมนักเรียนในการทำกล้วยฉาบ
- ลงมือปฏิบัติจริง พร้อมทั้งบันทึกภาพกิจกรรม
- บรรจุผลผลลิตที่ได้และนำไปจำหน่าย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1.นักเรียนแกนนำจำนวน 88 คนเข้าร่วมอบรมการทำกล้วยฉาบ
2.ครูจำนวน 5 คนเข้าร่วมการอบรมการทำกล้วยฉาบ
ผลลัพธ์
1. นักเรียนมีความรู้และทักษะในการทำกล้วยฉาบ
2. นักเรียนสามารถนำไปถ่ายทอดให้กับชุมชนและทำเป็นรายได้เสริมส่งสหกรณ์
3. นักเรียนและผู้ปกครองมีความพึงพอใจ
4. เกิดการมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชน
177
93
17. ซื้ออุปกรณ์ออกกำลังกาย(ฮูลาฮูป)
วันที่ 12 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- สำรวจฮูลาฮูปและอุปกรณ์กีฬาชนิดต่างๆ ว่ามีจำนวนเพียงพอกัยนักเรียนหรือไม่
- สำรวจราคาฮูลาฮูปและอุปกรณ์กีฬาชนิดต่าง
- จัดซื้ออุปกรณ์ออกกำลังกายฮูลาฮูปและอุปกรณ์กีฬาต่างๆ เช่น ลูกเปตอง ลูกฟุตบอล เป็นต้น
- มีการสอนการออกกำลังการโดยใช้ฮูุลาฮูปโดนนักเรียนแกนนำและครู
- นักเรียนทุกช่วงชั้นออกกำลังกายมากขึ้น
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. จัดซื้อฮูลาฮูปจำนวน
2. นักเรียนออกกำลังกายด้วยฮูลาฮูปจำนวน
ผลลัพธ์
1. นักเรียนได้ใช้ฮูลาฮูปและอุปกรณ์กีฬาอื่นๆ เช่น ลูกเปตองลูกฟุตบอล ในการออกกำลังกายทำให้มีสุขภาพร่างกายที่ดี
2. นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
3. นักเรียนมีความพึงพอใจและสนุกสนานในการออกกำลังกาย ทำให้สุขภาพจิตดีขึ้น
190
183
18. แผนจัดการเรียนรู้
วันที่ 25 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมคณะทำงาน
- ศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้ และเลือกเนื้อหาที่เกี่ยวข้องนำมาจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
- จัดทำรูปเล่มและแจกให้กับครูผู้สอน
- จัดการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. ครูจำนวน 15 คนมีการจักทำแผนการเรียนรู้และนำแผนการจัดการเรียนรู้ไปถ่ายทอดให้กับนักเรียน
2. มีแผนการจัดการเรียน 3 กลุ่มสาระ ทุกช่วงชั้น
ผลลัพธ์
1. นักเรียนได้รับความรู้และนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติให้เกิดผลและสามารถแนะนำเพื่อนต่างโรงเรียนในการดูแลสุขภาพร่างกาย
190
183
19. ฝากปลูกผักนอกโรงเรียน
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
เพื่อเป็นการสร้างความสัมพันธ์ ความผู้กพันธ์ ความรับผิดชอบโครงการร่วมกันของครู นักเรียน และผู้ปกครองนักเรียน ให้ความสนใจ ใส่ใจเกี่ยวกับการปลูกผัก การดูแลผัก การรดน้ำ จนกระทั้งมีผลผลิต นำผลผลิตที่ได้มาเป็นอาหารรับประทานภายในครอบครัว มีส่วนเหลือนำมาขายเข้าสหกรณ์โรงเรียน และนำไปประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียนรับประทาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. นักเรียนจำนวน 50 คนเข้าร่วมโครงการ
2. ครูจำนวน 50 คนเข้าร่วมโครงการ
3. ผู้ปกครองจำนวน 100 คนเข้าร่วมโครงการ
4. กรรมการสถานศึกษาจำนวน 5 คนเข้าร่วมโครงการ
5. อสม. และชุมชนจำนวน 17 คนเข้าร่วมโครงการ
ผลลัพธ์
1. นักเรียน และทุกเครือข่ายมีส่วมร่วมในการจัดกิจกรรม
2. นักเรียนเกิดความรับผิดชอบ เอาใจใส่ ดูแลพืชผักทีีปลูก
3. มีความสัมพันธ์ภายในครอบครัว ผู้ปกครอง คุณพ่อ คุณแม่ช่วยดูแลสอนวิธีการต่างๆเพื่อให้พืชผักได้ผลผลิต
4. นักเรียนใช้เวลาว่างเป็นประโยชน์ และเกิดความสนใจ เอาใจใส่ เปรียบเทียบผลผลิตที่เกิดขึ้น มีความสุข ความรับผิดชอบในการทำงาน
5. ครอบครัวชุมชนมีความภาคภูมิใจ นำพืชผักมาปรุงอาหารภายในครอบครัวนักเรียนได้รับประทานทำให้สุขภาพร่างกายดี
6. โรงเรียนรับซื้อผลผลิตที่เหลือจากครอบครัว ชุมชน เข้าสหกรณ์และสู่่โรงครัวมาประกอบอาหารกลางวัน
290
169
20. สื่อและนวัตกรรม
วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้ ว่าต้องใช้สื่อแบบใดบ้าง
- รวบรวมชนิดของสื่อที่ต้องใช้
2.1 กระดานไวท์บอร์ด และกระดานสำหรับติดแผ่นแม่เหล็ก
2.2 ชุดสื่อการสอนเกี่ยวกับรายรับ - รายจ่าย
2.3 บัตรคำชุดอาหารหลัก 5 หมู่
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. ชุดการเรียนรู้เกษตร 10 ชุด
2. ชุดการเรียนรู้สหกรณ์ 10 ชุด
3. ชุดการเรียนรู้อาหารและโภชนาการ 10 ชุด
4. ชุดการเรียนรู้สุขภาพอนามัย 10 ชุด
5. นักเรียน 168 คนได้ใช้ชุดการเรียนรู้
ผลลัพธ์
1. นักเรียนมีผลการเรียนรู้ที่ดีขึ้น
2. นักเรียนมีความพึงพอใจและสนุกในการเรียนรู้
190
183
21. อบรมครูบุคลากรทางการศึกษา กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและผู้ปกครองนักเรียน
วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดหาสื่อจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เช่น เว็บไซด์ ยูทูป
- วางแผนการดำเนินงาน กำหนดระยะเวลาการดำเนินงาน
- แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ
- ประชาสัมพันธ์กิจกรรม ส่งหนังสือเชิญประชุม
- ดำเนินกิจกรรมตามแผนงานโดยสื่อออนไลน์ได้จากเว็บไซด์ของ สสส.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. ครูจำนวน 15 คนเข้าร่วมโครงการ
2. ผู้ปกครองและกรรมการสถานศึกษาจำนวน 105 คนเข้าร่วมโครงการ
ผลลัพธ์
1. ทุกภาคส่วนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของสุขภาพอนามัย ภาวะโภชนาการในเด็ก
2. ทุกภาคส่วนในชุมชนให้ความร่วมมือในการดำเนินกิจกรรมเพื่อสร้างเสริมสุขอนามัยและภาวะโภชนาการที่ดีต่อไป
3. นักเรียนได้รับการเฝ้าระวังทางด้านโภชนาการและสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้น
118
115
22. ติดตามและขยายผลการพัฒนาสุขนิสัย
วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- สังเกตลักษณะสุขนิสัยของนักเรียนเมื่อมาโรงเรียนและการสัมภาษณ์
- ปรับปรุงต่อเนื่องเมื่อพบข้อบกพร่อง
- นำเสนอผลงานที่ดีเด่น เช่น ชื่นชมนักเรียนที่มีลักษณะสุขนิสัยที่ดี
- ขยายผลผ่านสื่อต่างๆที่พึงปฏิบัติได้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. นักเรียนจำวน 168 คนเข้าร่วมโครงการ
2. ครูจำนวน 15 คนเข้าร่วมโครงการ
3. ผู้ปกครองและภาคีเครือข่ายจำนวน 117 คนเข้าร่วมโครงการ
ผลลัพธ์
1. นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดี มีความภูมิใจในตนเองที่สามารถพัฒนาตนเองและเป็นแบบอย่างให้กับผู้อื่นได้
2. สามารถขยายผลสู่ครอบครัวนักเรียนและชุมชนได้ ทำให้ชุมชนมีปัญหาสุขนิสัยลดลง
3. ผู้ปกครองให้ความสำคัญและมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังสุขนิสัยของเด็ก
179
284
23. ปลูกผักไฮโดรโปรนิกส์
วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ศึกษาหาความรู้เรื่องขั้นตอนการปลูกผักไฮไดรโปรนิกส์
- จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์การปลูกผักไฮไดรโปรนิกส์
- นักเรียนร่วมกันผลิตอุปกรณ์การปลูกผักไฮไดรโปรนิกส์
- อบรมเรื่องการปลูกผักให้กับนักเรียน
- ดำเนินการปลูกผักตามกระบวนการ วิธีที่ได้ศึกษามา
- ดูแลบันทึกผลการเจริญเติบโต
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. นักเรียนจำนวน 36 ได้รับการอบรมเรื่อการปลูกผักไฮโครโปรนิกส์
2. นักเรียนที่เข้าอบรมร้อยละ 100 มีความรู้และทักษะในการปลูกผักไฮโครโปรนิกส์
3. มีการปลูกผักไฮโครโปรนิกส์จำนวน 3 แบบ (โฟม,ขวด,กระถาง)
ผลลัพธ์
1. นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงในการปลูกผักไฮโดรโปรนิกส์ การผสมปุ๋ยที่ใช้ในการปลูก การดูแล การเก็บผลผลิต
2. ได้ผักที่ปลอดสารพิษไว้รับประทานและสามารถนำไปขายได้ในราคาที่สูงกว่าผักทั่วไป
3. เป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับชุมชนและผู้ปกครอง
45
38
24. แปรรูปอาหาร
วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ศึกษากระบวนการแปรรูปผลผลิต
- วางแผนการดำเนินงาน
- จัดซื้อวัตถุดิบที่ต้องใช้
- ดำเนินการแปรรูป
- นำผลผลิตเหลือจากการขายและรับประทานทั้งของภายในโรงเรียนและจากชุมชนมาแปรรูปเพื่อเป็นการถนอมอาหารและเป็นการเพิ่มมูลค่าให้ผลผลิต
- ศึกษาพฤติกรรมความชอบในการบริโภคอาหารของนักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. นักเรียนจำนวน 86 คนเข้าร่วมโครงการ
2. ครูจำนวน 4 คนเข้าร่วมโครงการ
3. ผู้ปกครองจำนวน 5 คนเข้าร่วมโครงการ
ผลลัพธ์
1. นักเรียนได้เรียนรู้การแปรรูปผลผลิตจากการปฏิบัติจริง
2. มีผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแปรรูปออกจำหน่ายสร้างรายได้
3. เป็นอาชีพทางเลือกที่นักเรียนสามารถไปต่อยอด สร้างรายได้ให้กับครอบครัว
4. นักเรียนมีความสุขกับการทำงาน ภูมิใจในผลงานของตัวเอง
270
140
25. บริการตรวจสุขภาพ
วันที่ 9 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
เจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบางกระดานมาตรวจสุขภาพให้กับนักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. นักเรียนจำนวน 168 คนได้รับการตรวจสุขภาพ
2. บุคลากรสาธารณสุขให้คำแนะนำในการดูแลสุขภาพกับนักเรียนจำนวน 168 คน
ผลลัพธ์
1. ทำให้นักเรียนมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง
2. นักเรียนมีการปรับพฤติกรรมสุขภาพ
190
170
26. ประชุมผู้ปกครองนักเรียนเพื่อถอดบทเรียนโครงการเด็กไทยแก้มใส
วันที่ 13 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดทำแผนการดำเนินกิจกรรม
- ประชาสัมพันธ์ให้ผู้ปกครองมาร่วมประชุม
- ดำเนินกิจกรรมตามแผนที่วางไว้
- ประชุมสรุปบทเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1.นักเรียนจำนวน 168 คนเข้าร่วมกิจกรรม
2. ผู้ปกครองจำนวน 100 คนเข้าร่วมกิจกรรม
3. ภาคีเครือข่ายจำนวน 24 คนเข้าร่วมกิจกรรม
ผลลัพธ์
1. ได้รับข้อเสนอแนะจากภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานเพื่อพัฒนาต่อยอด
2. ได้องค์ความรู้ในการพัฒนางาน
3. ภาคีเครื่อข่ายมีความพึงพอใจ
4. ได้เครื่องข่ายในการร่่วมพัฒาสุขภาพพลานามันเด็ก
298
295
27. จัดนิทรรศการตลาดนัดเด็กไทยแก้มใส
วันที่ 15 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดทำแผนงานการจัดตลาด
- ประชาสัมพันธ์ให้ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานท้องถิ่น และหน่วยงานของรัฐทราบ
- ดำเนินกิจกรรมตามแผนที่วางไว้
4.มีการให้ความรู้ด้านสุขภาพอนามัย
5.จัดนิทรรศการการดำเนินงานเด็กไทยแก้มใส
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1.นักเรียนจำนวน 168 คนเข้าร่วมกิจกรรม
2. ผู้ปกครองจำนวน 100 คนเข้าร่วมกิจกรรม
3. ภาคีเครือข่ายจำนวน 24 คนเข้าร่วมกิจกรรม
4.ครูจำนวน 15 คน เข้าร่วมโครงการ
ผลลัพธ์
1. นักเรียนได้เรียนรู้จากปฏิบัติการจริง (Learning by doing) ได้เป็นผู้ซื้อ ผู้ขาย เป็นผู้ผลิต
2. นักเรียนมีทักษะการทำงานและมีเกิดความภาคภูมิใจที่สามารถจำหน่ายผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์ที่ตนเองเป็นผู้ดำเนินการ
3.ผู้ปกครอง นักเรียน และภาคีเครือข่ายมีความพึงพอใจในกิจกรรมที่เข้าร่วม
294
290
28. จัดทำรายงานปิดโครงการ งวด 2 พร้อมคืนดอกเบี้ย
วันที่ 24 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
1
1
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1) เพื่อส่งเสริมการเกษตรในโรงเรียนสำหรับอาหารกลางวัน
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 เข้าร่วมกิจกรรมเกษตรในโรงเรียนสำหรับอาหารกลางวัน
2
เพื่อฝึกฝนนักเรียนให้มีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการทำงานสหกรณ์
ตัวชี้วัด : ครูและนักเรียนร้อยละ 100 มีความรู้เรื่องสหกรณ์ และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
3
เพื่อจัดบริการอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการ สะอาด และปลอดภัย
ตัวชี้วัด : นักเรียน ร้อยละ 80 ได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีคุณค่าอาหารตามปริมาตรและสัดส่วนของมาตรฐานโภชนาการทุกมื้อกลางวัน
4
เพื่อแก้ปัญหานักเรียนที่มีปัญหาทางด้านสุขภาพอนามัย
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีภาวะโภชนาการดีและสุขภาพแข็งแรง ร้อยละ 80
5
เพื่อให้นักเรียนสร้างสุขนิสัยที่ดี
ตัวชี้วัด : นักเรียน ร้อยละ 80 มีสุขนิสัยและสุขอนามัยที่ดีตามสุขบัญญัติแห่งชาติ
6
เพื่อพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 มีความรู้ทางด้านสุขาภิบาล อนามัย และสิ่งแวดล้อม ปฏิบัติตนได้ดี
7
เพื่อให้บริการสุขภาพนักเรียน
ตัวชี้วัด : นักเรียนได้รับการช่วยเหลือการเจ็บป่วยเบื้องต้นอย่างเหมาะสมร้อยละ 80
8
เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการทางด้านการเกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการ
ตัวชี้วัด : นักเรียนและชุมชนร้อยละ 80 มีความรู้และจัดกิจกรรมด้านการเกษตร สหกรณ์ อาหารโภชนาการและสุขภาพอนามัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โรงเรียนชุมชนวัดบางกระดาน(สวนราษฎร์บำรุง) จังหวัด ตราด
รหัสโครงการ ศรร.1212-040
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายชะเอม ชวลิตชัยชาญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โรงเรียนชุมชนวัดบางกระดาน(สวนราษฎร์บำรุง)
“ โรงเรียนชุมชนวัดบางกระดาน(สวนราษฎร์บำรุง) ”
ตำบลบางปิด อำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด 23120หัวหน้าโครงการ
นายชะเอม ชวลิตชัยชาญ
ชื่อโครงการ โรงเรียนชุมชนวัดบางกระดาน(สวนราษฎร์บำรุง)
ที่อยู่ ตำบลบางปิด อำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด 23120 จังหวัด ตราด
รหัสโครงการ ศรร.1212-040 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ก.09
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนชุมชนวัดบางกระดาน(สวนราษฎร์บำรุง) จังหวัดตราด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางปิด อำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด 23120
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนชุมชนวัดบางกระดาน(สวนราษฎร์บำรุง) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนชุมชนวัดบางกระดาน(สวนราษฎร์บำรุง)
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนชุมชนวัดบางกระดาน(สวนราษฎร์บำรุง) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางปิด อำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด 23120 รหัสโครงการ ศรร.1212-040 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนชุมชนวัดบางกระดาน(สวนราษฎร์บำรุง) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 190 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐานจำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็นจากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนชุมชนวัดบางกระดาน(สวนราษฎร์บำรุง) จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1) เพื่อส่งเสริมการเกษตรในโรงเรียนสำหรับอาหารกลางวัน
- เพื่อฝึกฝนนักเรียนให้มีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการทำงานสหกรณ์
- เพื่อจัดบริการอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการ สะอาด และปลอดภัย
- เพื่อแก้ปัญหานักเรียนที่มีปัญหาทางด้านสุขภาพอนามัย
- เพื่อให้นักเรียนสร้างสุขนิสัยที่ดี
- เพื่อพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ
- เพื่อให้บริการสุขภาพนักเรียน
- เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการทางด้านการเกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนที่มีปัญหาทางด้านสุขภาพอนามัยได้รับการแก้ไข
- นักเรียนทุกคนมีโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง
- ครูทุกคนดูแลเอาใจใส่นักเรียนและกิจกรรมที่ส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนมีสุขภาพที่ดี
- ผู้ปกครองนักเรียนให้ความร่วมมือกับโรงเรียนในการจัดกิจกรรมและจัดอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
ให้นักเรียน - องค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน และผู้นำชุมชนเห็นความสำคัญของการมีสุขภาพอนามัยที่ดีและให้ความช่วยเหลือ สนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใส
- โรงเรียนชุมชนวัดบางกระดาน(สวนราษฎร์บำรุง) สามารถดำเนินกิจกรรมได้อย่างมีคุณภาพและเป็นศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมการใช้โปรแกรม |
||
วันที่ 27 มีนาคม 2559 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต - ครูจำนวน 2 คนเข้าร่วมเข้ารับการอบรม ผลลัพธ์ - ครูที่ผ่านการอบรมมีความรู้ในการใช้โปรแกรมการจัดทำรายงานผ่านระบบออนไลน์ - ครูสามารถจัดทำรายงานออนไลน์ได้
|
2 | 2 |
2. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับกิจกรรมสหกรณ์ให้กับนักเรียน |
||
วันที่ 3 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1.นักเรียนจำนวน 30 คนเข้ารับการอบรม 2. ครูจำนวน 3 คน เข้าอบรมร่วมกับนักเรียน ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีความรู้เรื่องการทำบัญชีรายรับ รายจ่าย 2. นักเรียนสามารถและได้ลงมือปฏิบัติจริงในการทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายของสหกรณ์ 3. นักเรียนมีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ มีความรอบคอบ รู้จักหน้าที่รับผิดชอบ มีความสามัคคี 4. นักเรียนมีความรู้ในกิจกรรมสหกรณ์ 5. นักเรียนทีทักษะในการขาย การเลือกสินค้า
|
33 | 33 |
3. เปลี่ยนไส้กรองน้ำ |
||
วันที่ 9 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำเปลี่ยนไส้กรองน้ำจำนวน 3 ตัว เพื่อให้นักเรียนมีน้ำดื่มที่สะอาด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต - มีไส้กรองใหม่ที่ใช้กรองน้ำจำนวน 3 ตัว ผลลัพธฺ์ - นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีน้ำที่สะอาดไว้ในการอุปโภค บริโภค
|
175 | 178 |
4. ปรับปรุงห้องพยาบาล |
||
วันที่ 9 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดซื้อแผงกั้นแยกผู้ป่วย ชาย-หญิง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต - มีแผลกั้นแยกผู้ป่วยชาย - หญิง ผลลัพธ์ - ห้อมพยาบาลที่แยกชาย - หญิง อย่างชัดเจน
|
174 | 177 |
5. นักเรียนแกนนำสุขภาพ |
||
วันที่ 9 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต
|
11 | 11 |
6. จัดซื้อถาดสำหรับใส่อาหารนักเรียน(สแตนเลส) |
||
วันที่ 9 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต - มีการจัดซื้อถามจำนวน 68 ผลลัพธ์ - เรียนมีถาดใส่อาหารที่มีคุณภาพ ทำความสะอาดง่าย ใช้ในการรับประทานอาหารกลางวัน
|
60 | 68 |
7. ค่ายพัฒนาสุขนิสัย |
||
วันที่ 9 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1. นักเรียนจำนวน 175 คนเข้าร่วมโครงการ 2. ครูจำนวน 16 คนเข้าร่วมโครงการ ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีการเปลี่ยนแปลงสุขนิสัยดีขึ้น จากการประเมินพฤติกรรม 2. นักเรียนมีการดูแลช่วยเหลือซึ่งกันและกันเป็นรายบุคคลเพื่อสร้างสุขนิสัยที่ดี 3. นักเรียนมีสุขวิยาส่วนบุคคลที่ดีขึ้น
|
175 | 191 |
8. ทำแผ่นป้ายนิเทศให้ความรู้แก่นักเรียน |
||
วันที่ 12 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดทำแผ่นป้ายนิเทศให้ความรู้แก่นักเรียนในเรื่องสุขภาพอนามัยนักเรียนและสุขบัญญัติ 10 ประการ ทำให้นักเรียนมีความรู้ นำความรู้ไปปฏิบัติให้เกิดความเคยชินจนติดเป็นนิสัย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต -มีป้ายสุขบัญญัติจำนวน 1 ป้ายที่บริเวรโรงอาหาร ผลลัพธ์ - นักเรียนได้รับองค์ความรู้และมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพตามสุขบัญญัติ - นักเรียนมีการล้างมือก่อนรับประทานอาหาร และแปรงฟันหลังรับประทานอาหารเพิ่มขึ้น
|
175 | 178 |
9. กิจกรรมการปลูกผัก |
||
วันที่ 14 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1. นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 175 คน 2. ครูเข้าร่วมกิจกรรม 16 คน 3. ท้องถิ่นและชุมชนเข้าร่วมกิจกรรม 6 คน ผลลัพธฺ์ 1. นักเรียนมีความรู้และทักษะในการปลูกผักร้อยละ 100 2. นักเรียนและบุคลากรได้บริโภคผักที่ปลอดสารพิษ 3. ชุมชนและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน 4. นักเรียนและครูมีความพึงพอใจ นักเรียนมีความรู้และสมารถปลูกผักไว้รับประทานเองทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน
|
176 | 197 |
10. ปลูกไม้ผลยืนต้น |
||
วันที่ 26 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1. นักเรียนจำนวน 40 คนเข้าร่วมโครงการ 2. มีพันธุ์ไม้จำนวน 3 ชนิดในการดำเนินการ 3. มีต้นไม้ยืนต้นที่เป็นไม้ผลจำนวน 43 ต้น ผลลัพธ์ 1. นักเรียนได้เรียนรู้การปลูก การดูแลไม้ผลยืนต้น 2. จะได้ผลไม้ที่นำไปสนับสนุนอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนและถ้ามีผลผลิตเหลือก็นำไปจำหน่ายได้ 3. สิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียนดีขึ้น
|
0 | 42 |
11. จัดโปรแกรมอาหารหมุนเวียนรายเดือนด้วยโปรแกรม Thai School Lunch โดยนักเรียนมีส่วนร่วมในการคิดรายการอาหาร |
||
วันที่ 16 ตุลาคม 2559 เวลา 10:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1. ครูจำนวน 15 คนเข้ารับการอบรม 2. นักเรียนจำนวน 168 คนเข้ารับการอบรม ผลลัพธ์ 1. ครูมีความรู้ในการลงข้อมูลในโปรแกรม Thai School Lunch และสามารถจัดอาหารที่มีคุณค่าให้กับนักเรียนรับประทาน 2. นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการส่งผลให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายดี
|
35 | 183 |
12. จัดให้มีการปรุง ประกอบอาหารถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาลอาหารและอาหารปลอดภัยโดยมีการจัดซื้อวัตถุดิบจากสหกรณ์โรงเรียนและภายในท้องถิ่นที่ปลอดภัยได้มาตรฐาน มีการตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร |
||
วันที่ 16 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1. แม่ครัวจำนวน 2 คนเข้ารับการอบรมด้านสุขาภิบาลอาหาร 2. แม่ครัวทั้ง 2 คนตรวจสุขภาพสำหรับผู้ประกอบอาหาร ผลลัพธ์ 1. แม่ครัวจัดโรงอาหารและเตรียมปรุงประกอบอาหารตลอดจนตักบริการอาหารให้นักเรียนและบุคลากรถูกลักสุขขาภิบาลอาหาร 2. โรงอาหารโีรงเรียนมีความสะอาดถูกหลักสุขขาภิบาลอาหาร 3. นักเรียนและบุคลากรได้รับประทานอาหารที่สะอาดปลอดภัย ทำให้สุขภาพร่างกายดี
|
190 | 183 |
13. กิจกรรมรู้ประมาณ รับประทานพออิ่ม มีการบริการตักเสิร์ฟอาหารให้นักเรียนในเวลา 11.00 – 12.00 น. โดยมีการตักในสัดส่วนที่เหมาะสมกับความต้องการและช่วงวัยของนักเรียน |
||
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 เวลา 10:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1. นักเรียนจำนวน 168 คนได้รับความรู้ ผลลัพธ์ 1. นักเรียนร้อยละ 90 มีความรู้เรื่องการรับประทานอาหารที่เหมมาะสมกับวัยของตนเอง 2. นักเรียนได้ประทานอาหารกลางวันพร้อมกันและตรงเวลา ทำให้ไม่ป่วยเป็นโรคกระเพาะอาหาร 3. นักเรียนรู้คุณค่าของอาหารในแต่ละมื้อ
|
190 | 183 |
14. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานโครงการศูนย์เรียนรู้โรงเรียนเด็กไทยแก้มใส |
||
วันที่ 26 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำเข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้โรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1 และขอเบิกเงินงวดที่ 2 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต - ครูจำนวน 2 คนเข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้โรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1 และขอเบิกเงินงวดที่ 2 ผลลัพธ์ - ทำให้มีการจัดทำรายงานที่สมบูรณ์และถูกต้อง
|
2 | 2 |
15. ถอนเงินเปิดบัญชี |
||
วันที่ 30 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำถอนเงินจากบัญชี 500 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นถอนเงินจากบัญชี 500 บาท
|
2 | 0 |
16. ภูมิปัญญาท้องถิ่น |
||
วันที่ 11 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1.นักเรียนแกนนำจำนวน 88 คนเข้าร่วมอบรมการทำกล้วยฉาบ 2.ครูจำนวน 5 คนเข้าร่วมการอบรมการทำกล้วยฉาบ ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีความรู้และทักษะในการทำกล้วยฉาบ 2. นักเรียนสามารถนำไปถ่ายทอดให้กับชุมชนและทำเป็นรายได้เสริมส่งสหกรณ์ 3. นักเรียนและผู้ปกครองมีความพึงพอใจ 4. เกิดการมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชน
|
177 | 93 |
17. ซื้ออุปกรณ์ออกกำลังกาย(ฮูลาฮูป) |
||
วันที่ 12 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต
1. จัดซื้อฮูลาฮูปจำนวน
|
190 | 183 |
18. แผนจัดการเรียนรู้ |
||
วันที่ 25 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1. ครูจำนวน 15 คนมีการจักทำแผนการเรียนรู้และนำแผนการจัดการเรียนรู้ไปถ่ายทอดให้กับนักเรียน 2. มีแผนการจัดการเรียน 3 กลุ่มสาระ ทุกช่วงชั้น ผลลัพธ์ 1. นักเรียนได้รับความรู้และนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติให้เกิดผลและสามารถแนะนำเพื่อนต่างโรงเรียนในการดูแลสุขภาพร่างกาย
|
190 | 183 |
19. ฝากปลูกผักนอกโรงเรียน |
||
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำเพื่อเป็นการสร้างความสัมพันธ์ ความผู้กพันธ์ ความรับผิดชอบโครงการร่วมกันของครู นักเรียน และผู้ปกครองนักเรียน ให้ความสนใจ ใส่ใจเกี่ยวกับการปลูกผัก การดูแลผัก การรดน้ำ จนกระทั้งมีผลผลิต นำผลผลิตที่ได้มาเป็นอาหารรับประทานภายในครอบครัว มีส่วนเหลือนำมาขายเข้าสหกรณ์โรงเรียน และนำไปประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียนรับประทาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต
1. นักเรียนจำนวน 50 คนเข้าร่วมโครงการ
2. ครูจำนวน 50 คนเข้าร่วมโครงการ
3. ผู้ปกครองจำนวน 100 คนเข้าร่วมโครงการ
4. กรรมการสถานศึกษาจำนวน 5 คนเข้าร่วมโครงการ
5. อสม. และชุมชนจำนวน 17 คนเข้าร่วมโครงการ
ผลลัพธ์
1. นักเรียน และทุกเครือข่ายมีส่วมร่วมในการจัดกิจกรรม
2. นักเรียนเกิดความรับผิดชอบ เอาใจใส่ ดูแลพืชผักทีีปลูก
|
290 | 169 |
20. สื่อและนวัตกรรม |
||
วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต
1. ชุดการเรียนรู้เกษตร 10 ชุด
|
190 | 183 |
21. อบรมครูบุคลากรทางการศึกษา กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและผู้ปกครองนักเรียน |
||
วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต
1. ครูจำนวน 15 คนเข้าร่วมโครงการ
2. ผู้ปกครองและกรรมการสถานศึกษาจำนวน 105 คนเข้าร่วมโครงการ
ผลลัพธ์
1. ทุกภาคส่วนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของสุขภาพอนามัย ภาวะโภชนาการในเด็ก
|
118 | 115 |
22. ติดตามและขยายผลการพัฒนาสุขนิสัย |
||
วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1. นักเรียนจำวน 168 คนเข้าร่วมโครงการ 2. ครูจำนวน 15 คนเข้าร่วมโครงการ 3. ผู้ปกครองและภาคีเครือข่ายจำนวน 117 คนเข้าร่วมโครงการ ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดี มีความภูมิใจในตนเองที่สามารถพัฒนาตนเองและเป็นแบบอย่างให้กับผู้อื่นได้ 2. สามารถขยายผลสู่ครอบครัวนักเรียนและชุมชนได้ ทำให้ชุมชนมีปัญหาสุขนิสัยลดลง 3. ผู้ปกครองให้ความสำคัญและมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังสุขนิสัยของเด็ก
|
179 | 284 |
23. ปลูกผักไฮโดรโปรนิกส์ |
||
วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1. นักเรียนจำนวน 36 ได้รับการอบรมเรื่อการปลูกผักไฮโครโปรนิกส์ 2. นักเรียนที่เข้าอบรมร้อยละ 100 มีความรู้และทักษะในการปลูกผักไฮโครโปรนิกส์ 3. มีการปลูกผักไฮโครโปรนิกส์จำนวน 3 แบบ (โฟม,ขวด,กระถาง) ผลลัพธ์ 1. นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงในการปลูกผักไฮโดรโปรนิกส์ การผสมปุ๋ยที่ใช้ในการปลูก การดูแล การเก็บผลผลิต 2. ได้ผักที่ปลอดสารพิษไว้รับประทานและสามารถนำไปขายได้ในราคาที่สูงกว่าผักทั่วไป 3. เป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับชุมชนและผู้ปกครอง
|
45 | 38 |
24. แปรรูปอาหาร |
||
วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1. นักเรียนจำนวน 86 คนเข้าร่วมโครงการ 2. ครูจำนวน 4 คนเข้าร่วมโครงการ 3. ผู้ปกครองจำนวน 5 คนเข้าร่วมโครงการ ผลลัพธ์ 1. นักเรียนได้เรียนรู้การแปรรูปผลผลิตจากการปฏิบัติจริง 2. มีผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแปรรูปออกจำหน่ายสร้างรายได้ 3. เป็นอาชีพทางเลือกที่นักเรียนสามารถไปต่อยอด สร้างรายได้ให้กับครอบครัว 4. นักเรียนมีความสุขกับการทำงาน ภูมิใจในผลงานของตัวเอง
|
270 | 140 |
25. บริการตรวจสุขภาพ |
||
วันที่ 9 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบางกระดานมาตรวจสุขภาพให้กับนักเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1. นักเรียนจำนวน 168 คนได้รับการตรวจสุขภาพ 2. บุคลากรสาธารณสุขให้คำแนะนำในการดูแลสุขภาพกับนักเรียนจำนวน 168 คน ผลลัพธ์ 1. ทำให้นักเรียนมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง 2. นักเรียนมีการปรับพฤติกรรมสุขภาพ
|
190 | 170 |
26. ประชุมผู้ปกครองนักเรียนเพื่อถอดบทเรียนโครงการเด็กไทยแก้มใส |
||
วันที่ 13 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1.นักเรียนจำนวน 168 คนเข้าร่วมกิจกรรม 2. ผู้ปกครองจำนวน 100 คนเข้าร่วมกิจกรรม 3. ภาคีเครือข่ายจำนวน 24 คนเข้าร่วมกิจกรรม ผลลัพธ์ 1. ได้รับข้อเสนอแนะจากภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานเพื่อพัฒนาต่อยอด 2. ได้องค์ความรู้ในการพัฒนางาน 3. ภาคีเครื่อข่ายมีความพึงพอใจ 4. ได้เครื่องข่ายในการร่่วมพัฒาสุขภาพพลานามันเด็ก
|
298 | 295 |
27. จัดนิทรรศการตลาดนัดเด็กไทยแก้มใส |
||
วันที่ 15 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1.นักเรียนจำนวน 168 คนเข้าร่วมกิจกรรม 2. ผู้ปกครองจำนวน 100 คนเข้าร่วมกิจกรรม 3. ภาคีเครือข่ายจำนวน 24 คนเข้าร่วมกิจกรรม 4.ครูจำนวน 15 คน เข้าร่วมโครงการ ผลลัพธ์ 1. นักเรียนได้เรียนรู้จากปฏิบัติการจริง (Learning by doing) ได้เป็นผู้ซื้อ ผู้ขาย เป็นผู้ผลิต 2. นักเรียนมีทักษะการทำงานและมีเกิดความภาคภูมิใจที่สามารถจำหน่ายผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์ที่ตนเองเป็นผู้ดำเนินการ 3.ผู้ปกครอง นักเรียน และภาคีเครือข่ายมีความพึงพอใจในกิจกรรมที่เข้าร่วม
|
294 | 290 |
28. จัดทำรายงานปิดโครงการ งวด 2 พร้อมคืนดอกเบี้ย |
||
วันที่ 24 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ- ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
1 | 1 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1) เพื่อส่งเสริมการเกษตรในโรงเรียนสำหรับอาหารกลางวัน ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 เข้าร่วมกิจกรรมเกษตรในโรงเรียนสำหรับอาหารกลางวัน |
||||
2 | เพื่อฝึกฝนนักเรียนให้มีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการทำงานสหกรณ์ ตัวชี้วัด : ครูและนักเรียนร้อยละ 100 มีความรู้เรื่องสหกรณ์ และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน |
||||
3 | เพื่อจัดบริการอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการ สะอาด และปลอดภัย ตัวชี้วัด : นักเรียน ร้อยละ 80 ได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีคุณค่าอาหารตามปริมาตรและสัดส่วนของมาตรฐานโภชนาการทุกมื้อกลางวัน |
||||
4 | เพื่อแก้ปัญหานักเรียนที่มีปัญหาทางด้านสุขภาพอนามัย ตัวชี้วัด : นักเรียนมีภาวะโภชนาการดีและสุขภาพแข็งแรง ร้อยละ 80 |
||||
5 | เพื่อให้นักเรียนสร้างสุขนิสัยที่ดี ตัวชี้วัด : นักเรียน ร้อยละ 80 มีสุขนิสัยและสุขอนามัยที่ดีตามสุขบัญญัติแห่งชาติ |
||||
6 | เพื่อพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 มีความรู้ทางด้านสุขาภิบาล อนามัย และสิ่งแวดล้อม ปฏิบัติตนได้ดี |
||||
7 | เพื่อให้บริการสุขภาพนักเรียน ตัวชี้วัด : นักเรียนได้รับการช่วยเหลือการเจ็บป่วยเบื้องต้นอย่างเหมาะสมร้อยละ 80 |
||||
8 | เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการทางด้านการเกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการ ตัวชี้วัด : นักเรียนและชุมชนร้อยละ 80 มีความรู้และจัดกิจกรรมด้านการเกษตร สหกรณ์ อาหารโภชนาการและสุขภาพอนามัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โรงเรียนชุมชนวัดบางกระดาน(สวนราษฎร์บำรุง) จังหวัด ตราด
รหัสโครงการ ศรร.1212-040
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายชะเอม ชวลิตชัยชาญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......