ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบางจาก (โกมลประเสริฐอุทิศ)

รหัสโครงการ ศรร.1232-118 รหัสสัญญา 58-00-2265-ก.17 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน
  • การปลูกผักสวนครัวในแปลงเกษตร
  • การปลูกต้นอ่อนทานตะวัน
  • การปลูกต้นอ่อมแซบหรือต้นเบญจรงค์ 5 สี เพื่อใช้ประกอบอาหารในโครงการอาหารกลางวันของนักเรียน
  • การเลี้ยงปลาดุกในวงบ่อซีเมนต์
  • การทำปุ๋ยหมักจากใบไม้
  • การปลูกต้นมะนาวในวงบ่อซีเมนต์
  • การปลูกผักสวนครัวในแปลงเกษตร โดยผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนปลูกผักตามฤดูกาล จัดจำหน่ายให้แก่สหกรณ์นักเรียน และโครงการอาหารกลางวัน ในการประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียนรับประทานดูแลรับผิดชอบโดยนักเรียนชั้น ป.4-6
  • การปลูกต้นอ่อนทานตะวัน เพื่อจำหน่ายให้แก่สหกรณ์นักเรียน และโครงการอาหารกลางวัน ในการประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียนรับประทานดูแลรับผิดชอบโดยนักเรียนชั้น ป.4-6
  • การปลูกต้นอ่อมแซบหรือต้นเบญจรงค์ 5 สี ในบริเวณโรงเรียน ตัดจำหน่ายให้แก่สหกรณ์นักเรียน และโครงการอาหารกลางวัน เพื่อใช้ประกอบอาหารกลางวันของนักเรียน และสามารถใช้เป็นไม้ประดับตกแต่งสถานที่ให้สวยงาม
  • การเลี้ยงปลาดุกในวงบ่อซีเมนต์เลี้ยงลูกปลาดุกในวงบ่อซีเมนต์ เมื่อโตเต็มที่จับขายให้สหกรณ์ และโครงการอาหารกลางวันต่อไป
  • การทำปุ๋ยหมักจากใบไม้ โดยใช้เศษใบไม้แห้งในโรงเรียนที่มีอยู่จำนวนมาก ทำคอกหมักปุ๋ยใส่ใบไม้แห้งสลับชั้นกับปุ๋ยคอก
  • เพิ่มพื้นที่ในการปลูกผักสวนครัวให้มีความหลากหลายมากขึ้น และเพียงพอกับความต้องการ
  • เพิ่มพื้นที่ในการเลี้ยงปลาดุก
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน
  • การบริหารจัดการสหกรณ์นักเรียนโดยคณะกรรมการนักเรียน
  • การจำหน่ายสินค้าด้วยหลักคุณธรรม(ความซื่อสัตย์) ในการจ่ายและทอนเงินด้วยตนเองฝึกการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และนักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านความซื่อสัตย์
  • การบริหารจัดการสหกรณ์นักเรียนโดยคณะกรรมการนักเรียน โดยแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน ตามโครงสร้างการบริหารงาน นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการทำงาน หลักฐานอ้างอิง – ภาพถ่ายกิจกรรม
  • การจำหน่ายสินค้าด้วยหลักคุณธรรม(ความซื่อสัตย์) ในการจ่ายและทอนเงินด้วยตนเอง เป็นการฝึกการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และนักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านความซื่อสัตย์
  • หลักฐานอ้างอิง – ภาพถ่ายกิจกรรม
  • จัดร้านค้าสหกรณ์นักเรียนให้มีสินค้าที่เป็นประโยชน์กับนักเรียนและหลากหลายมากขึ้น
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน
  • การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียนโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch ในการจัดอาหารให้กับนักเรียน ให้ได้รับอาหารที่ดีมีคุณภาพ
  • กลุ่มผักปลอดสารพิษผลิตผักสวนครัวจำหน่ายให้กับสหกรณ์และโครงการอาหารกลางวัน
  • ภาคีเครือข่ายผักปลอดสารพิษคลองทวีวัฒนาจัดจำหน่ายผักปลอดสารพิษให้โครงการอาหารกลางวัน ให้เพียงพอกับความต้องการ
  • การตรวจสอบคุณภาพอาหารให้มีมาตรฐานความปลอดภัย
  • ครูโภชนาการจัดรายการอาหารโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch ล่วงหน้า 1 สัปดาห์เพื่อให้ได้รายการอาหารที่มีสารอาหารครบถ้วน ปริมาณเพียงพอเหมาะสม
  • แม่ครัว ประกอบอาหารให้นักเรียนโดยการดูแลของครูโภชนาการ
  • การจัดบริการอาหารให้นักเรียนเพียงตามเกณฑ์การบริโภคผัก ผลไม้
  • การประกอบอาหารที่เป็นผักโครงการฯใช้ผักปลอดสารพิษ ผลิตโดยกลุ่มผัก ยังไม่เพียงพอกับความต้องการได้ภาคีเครือข่ายผักปลอดสารพิษคลองทวีวัฒนาส่งผักปลอดสารพิษให้กับทางโรงเรียน
  • ตรวจสอบคุณภาพอาหารสด อาหารแห้ง แม่ครัว ภาชนะ และสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน โดยใช้นักเรียนชมรมอย.น้อยตรวจสอบอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
  • หลักฐานอ้างอิง ภาพถ่ายกิจกรรม
  • พัฒนาเมนูอาหารให้มีความหลากหลายมากขึ้น
  • สร้างเครือข่ายชมรม อย.น้อยให้มีความเข้มแข็งมากขึ้น
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน
  • การประเมินภาวะโภชนาการด้วยตนเองของนักเรียน โดยใช้สื่อสร้างสรรค์ “BODYPERFECTBYBANGJAK” เป็นสื่อ Board die cut ตัวเด็กชายอ้วน กับเด็กชายรูปร่างสมส่วน ยืนถือแผ่นตารางเกณฑ์การประเมินภาวะโภชนาการด้วยตนเองอยู่ตรงกลาง และสื่อตัวเด็กหญิงอ้วน กับเด็กหญิงรูปร่างสมส่วน ยืนถือแผ่นตารางเกณฑ์การประเมินภาวะโภชนาการด้วยตนเองอยู่ตรงกลางใช้ประกอบกับเครื่องชั่งน้ำหนัก และไม้วัดส่วนสูงให้นักเรียนชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูงด้วยตนเองและประเมินภาวะโภชนาการด้วยตนเองเป็นระยะๆว่า มีรูปร่างสมส่วนเหมาะสมตามวัยหรือไม่
  • การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนโดยชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูงนักเรียนภาคเรียนละ 2 ครั้ง เพื่อประเมินภาวะโภชนาการของนักเรียนและแก้ไขปัญหา และนักเรียนสามารถประเมินตัวเองได้เป็นระยะๆ โดยใช้สื่อสร้างสรรค์ “BODYPERFECTBYBANGJAK” ในการดูแลสุขภาพตนเองเบื้องต้น ให้มีรูปร่างสมส่วนตามวัย
  • การทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียนตามเกณฑ์ของกรมพลศึกษา และกรุงเทพมหานคร
  • หลักฐานอ้างอิงภาพถ่ายกิจกรรม
  • จัดทำนวัตกรรมในการออกกำลังกายที่ช่วยส่งเสริมภาวะโภชนาการของนักเรียนให้มีรูปร่างสมส่วนตามวัย
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน
  • การส่งเสริมการแปรงฟันหลังรับประทานอาหารทุกกวัน โดยใช้เพลงแปรงฟัน รณรงค์การแปรงฟัน
  • นักเรียนอสร.ฝึกสอนการล้างมือ 7 ขั้นตอน เพื่อสุขอนามัยที่ดี
  • การทำโครงงานสบู่กระดาษสมุนไพร เพื่อใช้ล้างมือป้องกันเชื้อโรค สบู่กระดาษสามารถพกพาได้สะดวก ใช้ได้ทุกสถานที่
    ทำให้มือของเราสะอาดปราศจากโรค
  • รณรงค์ให้นักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวันทุกวัน โดยการเปิดเพลงแปรงฟัน เมื่อถึงเวลาแปรงฟันของนักเรียน
  • ให้นักเรียนอสร.ฝึกสอนการล้างมือ 7 ขั้นตอน
  • หลักฐานอ้างอิง ภาพถ่ายกิจกรรม
  • ถุงสุขภาพประจำตัวนักเรียนส่งเสริมอนามัยของนักเรียน
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ
  • พัฒนาพื้นที่และสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้เป็นพื้นที่สุขภาวะ
  • ปลูกต้นไม้ให้ร่มรื่นสวยงาม
  • พัฒนาพื้นที่ด้านหลังบ้านพักครูที่รกร้างให้เป็นที่พื้นที่สุขภาวะ
  • การประเมินสุขาภิบาลอาหารและสิ่งแวดล้อม
  • พัฒนาพื้นที่และสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้เป็นพื้นที่สุขภาวะ โดยใช้ขยะรีไซเคิลในการปรับภูมิทัศน์ให้ร่มรื่นสวยงามที่เอื้อต่อการเรียนรู้
  • ปลูกต้นไม้ให้ร่มรื่นสวยงาม
  • พัฒนาพื้นที่ด้านหลังบ้านพักครูที่รกร้างให้เป็นที่พื้นที่สุขภาวะ โดยทำเป็นฐานการเรียนรู้การปลูกมะนาวในวงบ่อซีเมนต์ และฐานการเรียนรู้สวนผักคนเมือง
  • การดูแลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้สะอาดปลอดภัย โดยมีการประเมินสุขาภิบาลอาหารและสิ่งแวดล้อมอย่างสม่ำเสมอ หลักฐานอ้างอิง – ภาพถ่ายกิจกรรม
  • ปรับภูมิทัศน์ด้านข้างโรงเรียนให้เป็นพื้นที่สุขภาวะ
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน
  • การตรวจสุขภาพของนักเรียนโดย นักเรียน อสร. ทุกๆ วันจันทร์
  • การตรวจสุขภาพนักเรียน โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
  • การพัฒนาน้ำยากำจัดเหา โดยใช้สมุนไพรที่มีในชุมชน
  • การตรวจสุขภาพของบุคลากรในโรงเรียน ปีละ 1 ครั้ง
  • การตรวจสุขภาพของนักเรียนโดย นักเรียนอสร.ทุกๆ วันจันทร์ ตรวจสุขภาพและความสะอาดของร่างกายนักเรียน โดยมีทีมอสร.แต่ละชั้นเรียนดูแลนักเรียน
  • การตรวจสุขภาพนักเรียน โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ดูแลการตรวจสุขภาพ การฉีดวัคซีนป้องกันโรค การวัดสายตา และทันตแพทย์ดูแลสุขอนามัยในช่องปากของนักเรียน
  • การพัฒนาน้ำยากำจัดเหา โดยใช้สมุนไพรที่มีในชุมชน ในการกำจัดเหา
    นักเรียนหญิง ในการใช้น้ำสมุนไพรผสม ครีมนวดผม กำจัดเหานักเรียนปลอดภัยต่อนักเรียน
  • การตรวจสุขภาพของบุคลากรในโรงเรียน ปีละ 1 ครั้ง ดูแลสุขภาพแก่ บุคลากรในโรงเรียน หลักฐานอ้างอิง – ภาพถ่ายกิจกรรม

กิจกรรมเด็กไทยไร้พุง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย
  • จัดการเรียนรู้บูรณาการแบบ PBL ด้านเกษตร สหกรณ์ อาหารโภชนาการ และสุขภาพอนามัยทุกชั้นเรียน
  • ฐานการเรียนรู้สู่ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
  • ค่ายการเรียนรู้ “เด็กไทยแก้มใส”
  • การจัดกิจรรมพัฒนาทักษะชีวิต (Project Approach)
  • การศึกษาดูงานการเกษตร ณ สวนลุงรีย์ และศูนย์เรียนรู้ออร์แกนิคเวย์
  • จัดการเรียนรู้บูรณาการแบบ PBL ด้านเกษตร สหกรณ์ อาหารโภชนาการ และสุขภาพอนามัยทุกชั้นเรียน ให้นักเรียนเรียนรู้ตลอดปีการศึกษา
  • ฐานการเรียนรู้สู่ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส โดยพัฒนาพื้นที่ในโรงเรียนให้เป็นฐานการเรียนรู้ 7 ฐาน ให้นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนผู้สนใจได้เข้ามาเรียนรู้และนำไปต่อยอดในชีวิตประจำวัน
  • ค่ายการเรียนรู้ “เด็กไทยแก้มใส” ให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้นอกห้องเรียนหมุนเวียนในแต่ละฐานผ่านกิจกรรมค่ายใน 6 ฐานกิจกรรม ฐานที่ 1 Body Perfect ฐานที่ 2 อ่านเป็น กินเป็น ฐานที่ 3 มหัศจรรย์ 5 รหัสลับ ฐานที่ 4 กินเปลี่ยนชีวิต ฐานที่ 5 กินตามธงโภชนาการ ฐานที่ 6 ขยับเพลินๆ เบริ์นแคลอรี่
  • การจัดกิจรรมพัฒนาทักษะชีวิต (Project Approach) โดยแบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 3 คน มีครูที่ปรึกษา 1 คน ให้นักเรียนคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ หาข้อมูลที่จะดำเนินงานโครงการของกลุ่มตนเอง ภาคเรียนละ 1 ชิ้นงาน
  • การศึกษาดูงานการเกษตร ณ สวนลุงรีย์ และศูนย์เรียนรู้ออร์แกนิคเวย์ ศึกษาดูงานการเกษตรพอเพียง เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้จริง เพื่อนำความรู้มาพัฒนางานในโรงเรียนครอบครัว และชุมชน หลักฐานอ้างอิง – ภาพถ่ายกิจกรรม
  • บูรณาการการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
  • พัฒนาฐานการเรียนรู้ให้เป็นระบบมากขึ้นเชื่อมโยงในทุกมิติ
  • การศึกษาดูงานการเกษตรจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เพื่อนำมาพัฒนางาน
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

ปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จคือความร่วมมือในการทำงานร่วมกันทุกหน่วยงานภาคีเครือข่ายเป็นอย่างดีเยี่ยมในการแนะแนวทางและกิจกรรมพัฒนา สนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใสให้การดำเนินงานสัมฤทธิ์ผล จาก ศูนย์วิจัยเพื่อการพัฒนาชุมชน(ศวพช.) มหาวิทยาลัยสยามชุมชนศิรินทร์ และเพื่อนบริษัท ซีพีออลล์ (มหาชน)จำกัด ศูนย์บริการสาธารณสุข 47 มหาวิทยาลัยมหิดล สถานีตำรวจนครบาลภาษีเจริญ ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยมูลนิธิ Save the children ธนาคารออมสิน สาขาเนติบัณฑิตยสภา สำนักงานเขตภาษีเจริญ บริษัทสวนเงินมีมา กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกลุ่มผักปลอดสารพิษคลองทวีวัฒนา และผู้ปกครองนักเรียน

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

ปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จคือพื้นที่โรงเรียนมีขนาด 5 ไร่ กว้างขวางเพียงพอสำหรับให้นักเรียนได้ทำกิจกรรมต่างๆ อย่างเต็มที่สภาพแวดล้อมร่มรื่นสวยงาม บรรยากาศเอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียน ในการทำกิจกรรมฐานการเรียนรู้สู่ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส การผลิตผักปลอดสารพิษใช้ในโครงการอาหารกลางวัน

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

ปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จคือ บุคลากรทุกคนในโรงเรียนที่คอยขับเคลื่อนการทำงาน ฟันเฟืองทุกตัวทำให้งานเกิดประสิทธิผลและความร่วมมือร่วมใจในการทำงานเป็นทีมบุคลากรเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ซึ่งกันและกันและผู้บริหารสถานศึกษา คอยผลักดัน ส่งเสริม สนับสนุน ให้คำแนะนำแนวทางในการทำงาน ให้กำลังใจในการพัฒนางานต่างๆ ให้เป็นโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

ปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จคือ การเรียนรู้แบบบูรณาการ(PBL)การเรียนรู้โดยใช้ประสบการณ์จริง นักเรียนได้เรียนรู้และลงมือปฏิบัติงานด้วยตนเอง ส่งผลให้นักเรียนมีพัฒนาการทางการเรียนรู้ที่ดี สามารถนำความรู้ไปใช้นาการพัฒนางานในโรงเรียน และครอบครัว

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

ปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จคือ การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและคณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองที่คอยผลักดัน ส่งเสริม สนับสนุน ให้คำแนะนำแนวทางในการทำงาน การพัฒนางานต่างๆ ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีเยี่ยม ให้เป็นโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

กลุ่มผักปลอดสารพิษปลูกผักในแปลงเกษตรโดยนักเรียนชั้น ป.4-6 เป็นผู้ดูแล

  • ผักกวางตุ้งปริมาณเดือนละ 15 กก.
  • ผักบุ้งจีน ปริมาณเดือนละ 15 กก.
  • ผักบ๊อคฉ่อย ปริมาณ 7 กก.
  • ผักโขม ปริมาณ 5 กก.
  • ผักอ่อมแซบ ปริมาณ 10กก.
  • ผักหัวไช้เท้า ปริมาณ 14 กก.
  • ต้นอ่อนทานตะวันปริมาณ 5กก.

ปริมาณของผักที่ผลิตในโรงเรียนไม่เพียงพอ

บัญชีกิจกรรมผักปลอดสารพิษ

ผลิตผักให้หลากหลายและมีปริมาณเพิ่มมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

ทางโรงเรียนไม่มีการดำเนินงานเนื่องจากโรงเรียนอยู่ใกล้ชุมชน ไม่สามารถเลี้ยงได้

-

-

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

กลุ่มการเลี้ยงปลาดุก เลี้ยงปลาดุกในวงบ่อซีเมนต์ปริมาณ 10กก. ปริมาณไม่เพียงพอกับความต้องการ

บัญชีกิจกรรมการเลี้ยงปลาดุก

พัฒนาระบบการบริหารจัดการให้ดีขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

มีโครงการอาหารเช้าให้กับนักเรียน หัวละ 5 บาท โดยให้แม่ครัวประกอบอาหารหมุนเวียนรายการอาหารในแต่ละสัปดาห์

-โครงการอาหารเช้าของกรุงเทพมหานคร -ภาพถ่ายกิจกรรม

-จัดรายการอาหารให้หลากหลาย

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

 

-โครงการอาหารกลางวัน -ภาพถ่ายกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ ให้เด็กประถม 6-12 ปี ได้รับผัก ไม่น้อยกว่า 60 กรัม ผลไม้ 100 กรัม เป็นประจำสัปดาห์ละ 4 วัน อีก 1 วันเป็นขนมไทย

-โครงการอาหารกลางวัน -ภาพถ่ายกิจกรรม

-จัดผักและผลไม้ให้นักเรียนได้รับประทานหลากหลายชนิดมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

ทางโรงเรียนได้จัดหาเครือข่ายผักปลอดสารพิษจากคลองทวีวัฒนามาส่งผักให้กับทางโรงเรียนให้เพียงพอกับความต้องการ

-บิลใบเสร็จซื้อผักจากคุณอเนก เครือข่ายผักปลอดสารพิษจากคลองทวีวัฒนา

-ให้เครือข่ายผักปลอดสารพิษจากคลองทวีวัฒนามาส่งผักให้กับทางโรงเรียนอย่างสม่ำเสมอ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

-

-

-

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

ครูโภชนาการที่ดูแลโครงการอาหารกลางวันจัดทำรายการอาหารล่วงหน้า 1 สัปดาห์ ตามโปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์

 

-โปรแกรม Thai School Lunchควรมีรายการอาหารที่หลากหลายมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

ครูอนามัยมีการชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูงประเมินติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้งครบถ้วน เพื่อดูพัฒนาการและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน

-แฟ้มการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน

 

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/2
เตี้ย 2.18 2.18% 3.15 3.15% 0.90 0.90% 1.36 1.36% 0.92 0.92% 0.48 0.48% 1.92 1.92% 2.94 2.94% 0.95 0.95% 1.42 1.42%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 7.86 7.86% 9.01 9.01% 6.31 6.31% 5.91 5.91% 5.50 5.50% 5.26 5.26% 7.21 7.21% 7.84 7.84% 7.58 7.58% 7.11 7.11%
ผอม 1.75 1.75% 0.45 0.45% 2.25 2.25% 0.91 0.91% 0.92 0.92% 0.46 0.46% 2.40 2.40% 2.45 2.45% 2.37 2.37% 0.47 0.47%
ผอม+ค่อนข้างผอม 7.42 7.42% 4.05 4.05% 6.31 6.31% 4.55 4.55% 7.80 7.80% 9.13 9.13% 8.65 8.65% 9.31 9.31% 9.00 9.00% 4.27 4.27%
อ้วน 5.24 5.24% 4.95 4.95% 8.11 8.11% 5.91 5.91% 7.80 7.80% 6.39 6.39% 5.77 5.77% 5.39 5.39% 5.69 5.69% 5.21 5.21%
เริ่มอ้วน+อ้วน 7.86% 7.86% 8.56% 8.56% 13.51% 13.51% 12.73% 12.73% 13.30% 13.30% 12.79% 12.79% 11.54% 11.54% 11.76% 11.76% 10.90% 10.90% 11.37% 11.37%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร
  • นักเรียนที่ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนมีกิจกรรมการออกกำลังกายในโครงการเด็กไทยไร้พุง
  • นักเรียนที่ภาวะค่อนข้างผอมและผอมให้อาหารเสริมนม
  • โครงการเด็กไทยไร้พุง
  • โครงการอาหารนมเสริม
  • นักเรียนที่ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนมีกิจกรรมการออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้นในโครงการเด็กไทยไร้พุงและโครงการส่งเสริมการบริโภคลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผักและผลไม้
  • นักเรียนที่ภาวะค่อนข้างผอมและผอมให้อาหารเสริมนม และเพิ่มไข่ต้ม หรือกล้วยน้ำว้า
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร
  • ผู้ปกครองให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมกับทางโรงเรียนอย่างดี โดยทางโรงเรียนได้จัดตั้ง LINE กลุ่มเครือข่ายผู้ปกครองในการให้ข้อมูลด้านความรู้สุขภาพที่เป็นประโยชน์
  • จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ลดอ้วน ลดพุง หุ่นดี” ให้กับนักเรียนและผู้ปกครองนักเรียน โดยเชิญวิทยากรจากศูนย์บริการสาธารณสุข 47 คลองขวางมาให้ความรู้เพื่อดูแลนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการเกิน
  • โครงการ
  • ภาพถ่ายกิจกรรม
  • พัฒนาเครือข่าย LINE กลุ่มเครือข่ายผู้ปกครอง
  • ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพกับนักเรียนและผู้ปกครอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

-

-

-

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

ปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จคือความร่วมมือในการทำงานร่วมกันทุกหน่วยงานภาคีเครือข่ายเป็นอย่างดีเยี่ยมในการแนะแนวทางและกิจกรรมพัฒนา สนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใสให้การดำเนินงานสัมฤทธิ์ผล จาก ศูนย์วิจัยเพื่อการพัฒนาชุมชน(ศวพช.) มหาวิทยาลัยสยามชุมชนศิรินทร์ และเพื่อนบริษัท ซีพีออลล์ (มหาชน)จำกัด ศูนย์บริการสาธารณสุข 47 มหาวิทยาลัยมหิดล สถานีตำรวจนครบาลภาษีเจริญ ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยมูลนิธิ Save the children ธนาคารออมสิน สาขาเนติบัณฑิตยสภา สำนักงานเขตภาษีเจริญ บริษัทสวนเงินมีมา กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกลุ่มผักปลอดสารพิษคลองทวีวัฒนา และผู้ปกครองนักเรียน

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh