ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล)


“ โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล) ”

ตำบลสำโรงใต้ อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ

หัวหน้าโครงการ
นายธวัช โพธิ์แก้ว

ชื่อโครงการ โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล)

ที่อยู่ ตำบลสำโรงใต้ อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัด สมุทรปราการ

รหัสโครงการ ศรร.1213-042 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ก.11

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2016 ถึง 30 เมษายน 2017


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล) จังหวัดสมุทรปราการ" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสำโรงใต้ อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล)



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสำโรงใต้ อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ รหัสโครงการ ศรร.1213-042 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,000.00 บาท จาก โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 982 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล)จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นฟ

โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล)ได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการตามเกณฑ์และรู้จักเลือกรับประทานอาหาร
  2. เพื่อให้นักเรียนเกิดทักษะในด้านการเกษตร สหกรณ์โรงเรียน ธนาคารโรงเรียน และสามารถนำทักษะไปใช้ในการดำรงชีวิตประจำวัน
  3. เพื่อให้นักเรียนมีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงในการดำเนินชีวิต

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและรู้จักเลือกรับประทานอาหาร
    2. เป็นแหล่งเรียนรู้การเกษตรครบวงจรให้กับนักเรียนครูผู้ปกครองและชุมชน
    3. นักเรียนมีทักษะในด้านการเกษตร สหกรณ์โรงเรียน และสามารถนำทักษะไปใช้ในการดำรงชีวิตประจำวัน
    4. นักเรียนนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนินชีวิต

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ให้ความารู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ

    วันที่ 1 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    บรรยายขั้นตอนการปลูกผัก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน300 โดยเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่4-6เรียนรู้เกี่ยวกับการปลูกพืช ผลผลิตที่ได้ในแต่ละครั้งประมาณ10-15 กิโลกรัม

    นักเรียนได้รับความรู้เรื่องการปลูกผักตั้งแต่การเตรียมแปลงปลูกการดูแลรักษาการจัดจำหน่ายและการจัดการหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต

     

    300 270

    2. เลี้ยงปลาดุก

    วันที่ 31 ตุลาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เตรียมบ่อ ปล่อยพันธุ์ปลา อยู่ระหว่างการเลี้ยง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต (Output)อยู่ระหว่างการเลี้ยงปลานักเรียนมีส่วนร่วมในการดูแล
    / ผลลัพธ์ (Outcome) ที่เกิดขึ้นจริง นักเรียนเกิดความรักเอาใจใส่หน้าที่ เกิดการเรียนรู้การทำงานตามหลักการสหกรณ์

     

    47 57

    3. เพาะเห็ด

    วันที่ 2 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต  ผลผลิตเข้าสู่โครงการอาหารกลางวัน
    ผลลัพธ์ นักเรียนได้รับประทานเห็ดจากการปลูกของโรงงเรียน
    นักเรียนมีความรับผิดชอบ  

     

    480 482

    4. ส่งเอกสาร

    วันที่ 7 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ส่งเอกสาร

     

    0 0

    5. การประชุมเชิงปฎิบัติการจัดทำรายงานโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

    วันที่ 21 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รับทราบข้อมูลการจัดทำกิจกรรม

     

    2 0

    6. การเลี้ยงไก่ไข่

    วันที่ 21 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดซื้ออาหารไก่ไข่จำนวน 15 กระสอบการซื้ออาหารไก่ไข่เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการและไม่ขาดแคลนไก่ได้รับอาหารที่มีคุณค่าสูงนักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานเกิดการวางแผนทำงานได้สำเร็จ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รับอาหารไก่ไข่

     

    30 26

    7. ปลูกผัก

    วันที่ 27 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -การปลูกผัก  ตั่งแต่การเตรียมแปลง  การควบคุมโรคแมลงศัตรูพืช  การเลือกใช้วัสดุป้องกำจัด  การดูแลรักษา และการเก็ยเกี่ยว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนจำนว 55 คนได้เรียนรู้กระบวนการและขั้นตอนที่ถูกต้องและเหมาะสม  นำไปใช้มนชีวิตประจำวันได้

     

    150 52

    8. อบรมผู้นาอนามัย และอย.น้อย

    วันที่ 14 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดกิจกรรมโดยแบ่งครูและวิทยาการออกเป็นฐานการเรียนรู้  จำนวน  9  ฐาน  จากนั้นแบ่งนักเรียน  ออกเป็น 9  กลุ่มๆละเท่าๆกัน โดยใช้วิธีการเวียนฐานการเรียนรู้ให้ครบทั้งหมด โดยแต่ละฐานมีการให้ความรู้ เช่น  การใช้ยา การเลือกรับประทานอาหาร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต นักเรียนจำนวน 165 คนได้เรียนรู้เกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ นักเรียนจำนวน 165 คนได้เรียนรู้เกี่ยวกับการใช้ยาให้ถูกวิธี  การป้องกันตนเอง  การปฐมพยาบาลเบื้องต้น ผลลัพธ์ นักเรียนจำนวน 165  สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันและสามารถแนะนำเพื่อนนักเรียน  ผู้ปกครอง  ญาติ  และผุ้อื่นในชุมชนของตนเอง

     

    174 174

    9. วัสดุการเลี้ยงไก่

    วันที่ 14 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดซื้อปูนขาวและแกลบดิบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต ได้ปูนขาวและแกลบดิบ ผลลัพธ์ ได้แกลบดิบมาใช้ในการรองรับมูลไก่ไข่และใช้ปูนขาวเพื่อลดกลิ่นที่เกิดจากมูลไก่ทำให้นักเรียนสามารถเข้าปฏิบัติงานทั้งในโรงเรือนเลี้ยงไก่และบริเวณโดยรอบ

     

    38 39

    10. การเลี้ยงไก่ไข่

    วันที่ 9 มกราคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การซื้ออาหารไก่ไข่เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการและไม่ขาดแคลนไก่ได้รับอาหารที่มีคุณค่าสูงนักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานเกิดการวางแผนทำงานได้สำเร็จ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รับอาหารไก่ไข่แต่ทั้งนี้มีการปรับเปลี่ยนยี่ห้ออาหารไก่ไข่เพื่อเปรียบเทียบดูผลผลิตไข่ที่ได้  พบว่าไข่มีขนาดใหญ่ขึ้น  สีของไข่แดงสวยขึ้น

     

    0 0

    11. อบรม ผู้ปกครอง ครู ชุมชน

    วันที่ 22 มกราคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดกิจกรรม โดยเน้นบรรยาบเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพด้านร่างกายและจิตใจ  การออกกำลังกาย การจัดอาหารให้ครบทั้ง5 หมู่ ของผู้ปกครองและ การจัดบริการอาหารของโรงเรียนการตักอาหารให้นักเรียนของครู การจัดทำอาหารให้เหมาะสม  การดูแลสถานที่  บุคลากรที่ประกอบอาหารให้สะอาดและปลอดภัย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้ปกครอง  ครู ชุมชน และแม่ครัวจำนวน 230 คน ได้รับทราบและเข้าใจการดูแลบุตรหลาน  นักเรียน  เพื่อได้จัดการการดูแลบุตรหลานให้ได้สุขภาพและอนามัยที่ดี   ครูได้ดูแลนักเรียนด้านสุขภาพอนามัยได้เหมาะสม  แม่ครัวประกอบอาหารที่สะอาด ปลอดภัยต่อนักเรียน

     

    165 218

    12. เลี้ยงกบ

    วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดซื้อพ่อแม่พันธุ์กบ  เพื่อผลิตลูกพันธุ์  ในการเพาะเลี้ยงให้ได้ตามปริมาณที่ต้องการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนโรงเรียนวัดสวนส้มได้เรียนรู้และเกิดทักษะการเลี้ยงกบที่  เหมาะสมกับสภาพพื้นที่หรือชุมชนที่อยู่เนื่องจากอยู่ในชุมชนเมืองมีพื้นที่จำกัด  นักเรียนเกิดทักษะการเพาะเลี้ยงกบในบ่อซีเมนต์

     

    150 211

    13. การเลี้ยงกบ

    วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดซื้ออาหารกบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ไดรับอาหารกบตามที่ต้องการ  กบได้รับอาหารทำให้เกิดการเจริญเติบโต  มีอาหารเพื่อทำให้กบใหม่ที่นำเข้ามามีความพร้องในการเพาะพันธุ์

     

    117 159

    14. สหกรณ์นักเรียน

    วันที่ 8 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำป้ายให้ความรู้เกี่ยวกับสหกรร์นักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทำข้อมูลเกี่ยวกับความเป็นมา  หลักการ  การให้ความรู้เรื่องเกี่ยวกับสหกรณ์เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสหกรณ์ที่ถูกต้อง

     

    52 50

    15. การเลี้ยงไก่

    วันที่ 10 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การซื้ออาหารไก่ไข่เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการและไม่ขาดแคลนไก่ได้รับอาหารที่มีคุณค่าสูงนักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานเกิดการวางแผนทำงานได้สำเร็จ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รับอาหารไก่  ไก่ได้รับอาหารที่เหมาะสม

     

    0 0

    16. อาหารปลา

    วันที่ 15 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดซื้ออาหารปลาดุก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้จัดซื้ออาหารปลาดุกเพื่อใช้เป็นอาหารสำหรับปลาดุกที่เลี้ยงไว้นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการเลี้ยงปลาที่สภาวะแวดล้อมที่สอดคล้องกัับวิถีชุมชนเมืองที่มีพื้นที่น้อยสามารถนำไปประยุกค์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

     

    40 46

    17. ค่ายแกนนำนักเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง

    วันที่ 16 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดกิจกรรมการอบรมนักเรียนเพื่อให้นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจในหลักการของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง  ทั้งนี้นักเรียนสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ที่ได้ไปสู่  นักเรียนด้วยกันไม่ว่าจะเป็น รุ้นพี่หรือรุ่นน้องตลอดจนเพื่อนนักเรียนในชั้นเดียวกัน  และสามารถถ่ายทอดให้กับบุลคลภายนอกที่สนใจหรือเข้ามศึกษาดุูงานภายในโรงเรียนอีกด้วย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -นักเรียนเข้าอบรมจำนวน 55 คน  ได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง  เน้นการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม  เกิดความเข้าใจที่ถูกต้อง สามารถถ่ายทอดให้กับผู้ที่สนใจได้

     

    140 102

    18. การเลี้ยงไก่ไข่

    วันที่ 28 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การซื้ออาหารไก่ไข่เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการและไม่ขาดแคลนไก่ได้รับอาหารที่มีคุณค่าสูงนักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานเกิดการวางแผนทำงานได้สำเร็จ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ไดรับอาหารไก่

     

    0 0

    19. จัดทำรายงานปิดโครงการ งวด 2 พร้อมคืนดอกเบี้ย

    วันที่ 6 เมษายน 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนดอกเบี้ยให้ สสส. จำนวน 29.43 บาท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ยอดเงินในบัญชีเท่ากับ 0 บาท

     

    1 3

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการตามเกณฑ์และรู้จักเลือกรับประทานอาหาร
    ตัวชี้วัด : นักเรียนเจริญเติบโตสมวัย โดยมี ภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน ไม่เกิน 7 % ภาวะค่อนข้างผอมและผอม ไม่เกิน 3 % ภาวะค่อนข้างเตี้ย และเตี้ยไม่เกิน 4 %

    นักเรียนได้เจริญเติบโตสมวัย ตามตัวชี้วัด

    2 เพื่อให้นักเรียนเกิดทักษะในด้านการเกษตร สหกรณ์โรงเรียน ธนาคารโรงเรียน และสามารถนำทักษะไปใช้ในการดำรงชีวิตประจำวัน
    ตัวชี้วัด : นักเรียนได้กินผัก-ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้น ในมื้อกลางวัน เฉลี่ย ผักวันละ (อนุบาล40กรัม ประถม60กรัม)ผลไม้(อนุบาล 4ส่วน ประถม 6 ส่วนๆละพอดีคำ) ต่อมื้อต่อคน

    นักเรียนได้กินผัก-ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้น ในมื้อกลางวัน เฉลี่ย ผัก อนุบาลวันละ 40 กรัม ประถม วันละ ุ60 กรัม และกินผลไม้ อนุบาล 4 ส่วน ต่อมื้อต่อคน ประถม 6 ส่วน ต่อมื้อต่อคน

    3 เพื่อให้นักเรียนมีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงในการดำเนินชีวิต
    ตัวชี้วัด : นักเรียนเกิดความรับผิดชอบโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือมีความรู้มีคุณธรรมใช้ความพอประมาณอยู่บนพื้นฐานความมีเหตุผลและมีความรอบครบจากการสร้างภูมิคุ้มกัน

    นักเรียนเกิดความรับผิดชอบโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือมีความรู้ มีคุณธรรม ใช้ความพอประมาณ อยู่บนฐานความมีเหตุผลและมีความรอบครบจากการสร้างภูมิคุ้มกัน นำสู่ 4 มิติ คือ วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม สร้างความสมดุล พร้อมรับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตลอดเวลา

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการตามเกณฑ์และรู้จักเลือกรับประทานอาหาร (2) เพื่อให้นักเรียนเกิดทักษะในด้านการเกษตร สหกรณ์โรงเรียน ธนาคารโรงเรียน และสามารถนำทักษะไปใช้ในการดำรงชีวิตประจำวัน (3) เพื่อให้นักเรียนมีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงในการดำเนินชีวิต

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

    ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล)

    รหัสโครงการ ศรร.1213-042 รหัสสัญญา 58-00-2265-ก.11 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

    วันที่เริ่มประเมิน

    1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    (ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    1. การเกษตรในโรงเรียน

    การปลูกผักลอยฟ้าการปลูกผักในขวด เป็นการปลูกผักในภาชนะที่ใช้เพื่อที่น้องเหมาะกับวิถีชุมชนเมือง

    ลักษณะ ปลูกพืชผักสวนสครัว ผักตารางฟุต ผักกางมุ้ง ผักไฮโดรโฟรนิค ขั้นตอน ให้นักเรียนเตรียมดินและวัสดุอุปกรณ์ในการปลูกผัก รายละเอียด แบ่งเป็นฐานการเรียรู้ นักเรียนได้รับมอบหมายจากครูและแบ่งกลุ่มรับผิดชอบในแต่ละฐานการเรียนรู้ หลักฐาน ภาพถ่าย การนำเสนอ แผ่นพับ โรดแม็บ แหล่งอ้างอิง ฐานการเรียนรู้ที่จัดทำเป็นแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน รายชื่อคณะที่มาศึกษาดูงาน

    โรงเรียนได้น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการในการจัดการเรียนการสอน ได้จัดทำแหล่งเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีใหม่ และได้ขยายผลไปยังเครือข่ายโดยมีคณะต่างๆมาศึกษาดูงานเป็นจำนวนมาก

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    2. สหกรณ์นักเรียน

    สหกรณ์ครบวงจร มีสหกรณ์การผลิตสหกรณ์ร้านค้า สหกรณ์ออมทรัพย์ และสหกรณ์บริการ

     

    พัฒนาเข้าสู่ระบบสหกรณ์ออนไลน์โดยอาจมีการซื้อขายผลผลิตทั้งของโรงเรียนและผู้ปกครอง ชุมชนผ่านโรงเรียนออกสู่ภายนอก ใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตที่มีอยู่

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน
    1. กิจกรรมแม่ลูกสูตรเด็ด เคล็ดลับสุขภาพดี

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน
    1. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพทอง
    2. กิจกรรม กีฬาพาสนุก สู่ความเป็นเลิศ

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน
    1. กิจกรรมเข้าค่ายแกนนำเด็กไทยแก้มใส

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ
    1. กิจกรรมอย.น้อย

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน
    1. กิจกรรมตรวจสุขภาพนักเรียน
    2. กิจกรรมรพสต.พบนักเรียนและผู้ปกครอง

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย
    1. กิจกรรมตลาดนัดพอเพียง

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    9. อื่น ๆ
    1. กิจกรรมไร้พุงไร้โรคความสุขครอบครัว
    2. กิจกรรมชีวาหรรษาอาหารพาสุข
    3. กิจกรรมกีฬาแสนสุขไร้พุง ไร้โรค
    4. ชีวามีสุข ลดหวาน มัน เค็ม เติมเต็ม ผักและผลไม้

     

     

    2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

    1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

    ได้รับการสนับสนุนจากองค์กร ทั้งภาครัฐ เช่น เทศบาลเมืองปู่เจ้าสมิงพรายสำนักงานเขตพื้นที่ สพฐ. โรงไฟฟ้าพระนครใต้ โรงเรียนในกลุ่มปู่เจ้าฯ ภาคเอกชน เช่น โรงงาน บริษัท ห้างหุ้นส่วน ที่อยู่รอบๆโรงเรียน ได้ให้งบประมาณในการจัดทำแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนส่งผลให้ได้รับรางวัลเหรียญทองในการประกวดผลงานหนึ่งผลงานหนึ่งนวัตกรรมของกระทรวงศึกษาธิการ และที่สำคัญได้รับงบประมาณสนับสนุน และได้รับเงินรางวัลที่ไปประกวดแข่งขันได้เงินรางวัล รวมทั้งการจัดหาระดมทรัพยากรร่วมกับผู้ปกครองและชุมชน องค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนเช่นการจัดงานทอดผ้าเพื่อการศึกษา การจัดงานสวนส้มสังสรรค์ และขอรับบริจาคจากหน่วยงานต่างๆที่อยู่รอบๆโรงเรียน

    2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

    โรงเรียนวัดสวนส้มมีพื้นที่ประมาณ 11 ไร่ จึงมีความเหมาะสมมี่จะปรับปรุงภูมิทัศน์ สิ่งแวดล้อมให้เป็นป่าที่อยู่ในเมือง ทั้งนี้เนื่องจากพื้นที่รอบๆบริเวณโรงเรียนเป็นโรงงานอุตสาหกรรม ดังนั้น เพื่อให้นักเรียนได้มีบรรยากาศของโรงเรียนที่ร่มรื่น มีต้นไม้ และแหล่งเรียนรู้ภายนอกห้องเรียนที่ช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง จะทำให้การเรียนรู้เกิดความคงทนและสามารถนำไปปฏิบัติได้จริงและอาจช่วยเสริมรายได้ให้กับครอบครัวได้ด้วยนอกจากนี้ยังได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองและชุมชน บริษัทห้างร้านต่างๆที่อยู่รอบๆโรงเรียน และการขอความอนุเคราะห์จากเทศบาลเมืองปู่เจ้าสมิงพรายในเรื่องต่างๆเช่น ตัดกิ่งไม้ ขอใช้รถขนสิ่งของ ขอรถนำ้ล้างทำความสะอาด สนับสนุนงบประมาณนอกจากนี้คณะครูและนักเรียนต่างให้ความร่วมมือรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย ฝ่ายบริหารให้การสนับสนุนและอำนวยความสะดวก การระดมทรัพยากร เพื่อนำมาใช้ในการดำเนินงาน

    3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

    1. ผู้บริหารให้การสนับสนุนและส่งเสริม
    2. ได้รับความร่วมมือจากคณะครูด้วยความเต็มใจและพร้อมที่จะช่วยปฏิบัติงาน
    3. ได้ประชุมและวางแผนในการปฏิบัติงาน การมอบหมายงาน และการแต่งตั้งให้รับผิดชอบงาน
    4. การติดตามประเมินผลทั้งก่อนปฏิบัติ ระหว่างปฏิบัติ และหลังปฏิบัติงานเสร็จแล้ว
    5. การสรุปผลและนำผลที่ได้มาปรับปรุงแก้ไขพัฒนาให้ดีขึ้น ุ6. การยกย่องชมเชย การสร้างแรงบันดาลใจและแรงจูงใจ ให้กับผู้ปฏิบัติที่ดีให้เป็นครูต้นแบบเพื่อเป็นแบบอย่างที่ดี และส่งผลให้ได้รับรางวัลต่างๆมากมาย

    4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

    แบ่งกระบวนการออกเป็นส่วนดังนี้ครูผู้สอนจัดการเรียนเรียนการสอนบูรณาการด้านสหกรณ์กับวิชาที่สอนครูพละและสุขศึกษาจัดการเรียนการสอนที่เพิ่มทักษะการออกกำลังกายที่ถูกต้องและการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ครูสายชั้นที่ทำหน้าที่ตักอาหารให้นักเรียนได้รับทราบวิะีและจัดการตักอาหารที่เหมาะสมกับผู้เรียนของสายชั้นตนเองครูผู้รับผิดชอบฏารประกอบอาหารนำโปรแกรมThaiSchoolLunch มาใช้เพื่อจัดบริการให้กับนักเรียน นักเรียนมีส่วนร่วมในเรื่องเมนูอาหารที่ต้องการและเรียนรู้ผ่านกระบวนการเอบรมและคำแนะนำจากแกนนำสุขภาพ และอย.น้อยที่ใช้ความรู้เกี่ยวกับการรับประทานอาหาร แม่ครัวเรียนรู้การจัดบริการอาหารด้วยปรับวิธีการประกอบอาหารตามแนวทาวแนะนำจากโปรแกรมThaiSchoolLunch และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

    5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

    1. เชิญผู้ปกครองนักเรียนและชุมชนเข้าร่วมการประชุมของโรงเรียนอย่างน้อยภาคเรียนละ2 ครั้ง
    2. มีกิจกรรมให้ผู้ปกครองเข้าร่วมเช่นกิจกรรมตลาดนัดพอเพียง กิจกรรมค่ายคุณธรรมกิจกรรมสายใยรักกิจกรรมแม่ลูกสูตรเด็ด ไร้พุง ไร้โรค กิจกรรมงานสวนส้มสังสรรค์ กิจกรรมปฐมนิเทศ และ ปัจฉิมนิเทศ
    3. ให้ผู้ปกครองได้แสดงความคิดเห็น และให้ข้อเสนอแนะในการพัฒนาสิ่งแวดล้อม การศึกษา และเสนอความต้องการของผู้ปกครองและชุมชน ให้โรงเรียนได้รับทราบ
    4. ผู้ปกครองนักเรียนและชุมชน เข้ามาศึกษาหาความรู้ตามแหล่งเรียนรู้ ห้องสมุด การใช้อินเตอร์เน็ตที่โรงเรียนได้
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

    ผลผลิตทางการเกษตรที่เกิดขึ้นนั้นโดยส่วนใหญ่นำเข้าสหกรณ์และส่งต่อโครงการอาหารกลางวันแม้ปริมาณจะไม่มากพอต่อจำนวนนักเรียนที่มากกว่าพื้นที่การผลิตจึงมีการจัดซื้อจากแหล่งภาคนอกโดยคัดเลือกผุ้ประกอบการที่ไว้ใจได้

     

    ปรับรูปแบบการผลิตผลผลิตทางการเกษตรหรือผลิตผลผลิตทางการเกษตรที่มีมูลค่าสู่เพื่อนำเงินมาช่วยส่งเสริมการจัดซื้อวัตถุดิบจากแหล่งอืนๆเพิ่มเติม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

    มีการเลี้ยงไ่ก่ไข่ได้ผลผลิตประมาณ 90 ฟองต่อวันเพราะมีไก่ไข่จำนวน 100 ตัวแม้จะมีปริมาณที่น้อยกว่านักเรียนจึงมีการจัดซื้อจากแหล่งอื่นทที่เชื่อถือได้

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

    มีการเลี้ยงกบและปลาดุกในส่วนของกบสามารถผลิตลูกพันธุ์เพื่อสร้างรายได้ ปลาใช้ลูกปลาดุกจากผู้ประกอบการ ผลผลิตมีจำนวนน้อยไม่เพียงพอ

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

     

     

     

    5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

    การประกอบอาหารทุกมื้อมีผักเป็นส่วนประกอบหลักเน้นจัดเมนูอาหารตามโปรแกรมไทยสคูลลั้น

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

    จัดทำเมนูอาหารรายเดือนทุกเดือนโดยใช้โปรแกรม ThaiSchoolLunchแต่ทั้งนีทีการปรับเมนูอาหารบางชนิดให้สอดคล้องกับสภาะแวดล้อมและพื้นที่

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

     

     

     

    3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

    สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

    ภาวะ2558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22561 1/1
    เตี้ย 2.06 2.06% 2.15 2.15% 2.61 2.61% 1.58 1.58% 1.24 1.24% 1.54 1.54%
    เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 6.58 6.58% 6.78 6.78% 7.37 7.37% 5.98 5.98% 5.19 5.19% 5.61 5.61%
    ผอม 4.21 4.21% 3.95 3.95% 2.73 2.73% 3.67 3.67% 2.48 2.48% 3.77 3.77%
    ผอม+ค่อนข้างผอม 10.38 10.38% 10.28 10.28% 8.20 8.20% 9.16 9.16% 8.68 8.68% 10.06 10.06%
    อ้วน 8.22 8.22% 8.70 8.70% 10.59 10.59% 9.62 9.62% 10.26 10.26% 9.78 9.78%
    เริ่มอ้วน+อ้วน 15.72% 15.72% 17.63% 17.63% 18.11% 18.11% 17.30% 17.30% 18.26% 18.26% 19.55% 19.55%
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

    ได้รับการสนับสนุนจากองค์กร ทั้งภาครัฐ เช่น เทศบาลเมืองปู่เจ้าสมิงพรายสำนักงานเขตพื้นที่ สพฐ. โรงไฟฟ้าพระนครใต้ โรงเรียนในกลุ่มปู่เจ้าฯ ภาคเอกชน เช่น โรงงาน บริษัท ห้างหุ้นส่วน ที่อยู่รอบๆโรงเรียน ได้ให้งบประมาณในการจัดทำแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนส่งผลให้ได้รับรางวัลเหรียญทองในการประกวดผลงานหนึ่งผลงานหนึ่งนวัตกรรมของกระทรวงศึกษาธิการ และที่สำคัญได้รับงบประมาณสนับสนุน และได้รับเงินรางวัลที่ไปประกวดแข่งขันได้เงินรางวัล รวมทั้งการจัดหาระดมทรัพยากรร่วมกับผู้ปกครองและชุมชน องค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนเช่นการจัดงานทอดผ้าเพื่อการศึกษา การจัดงานสวนส้มสังสรรค์ และขอรับบริจาคจากหน่วยงานต่างๆที่อยู่รอบๆโรงเรียน

    หมายเหตุ *

    • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล) จังหวัด สมุทรปราการ

    รหัสโครงการ ศรร.1213-042

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายธวัช โพธิ์แก้ว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด