ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านมาบตาพุด


“ โรงเรียนบ้านมาบตาพุด ”

ตำบลมาบตาพุด อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง

หัวหน้าโครงการ
นายโอฬาร บุญมี

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านมาบตาพุด

ที่อยู่ ตำบลมาบตาพุด อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง จังหวัด ระยอง

รหัสโครงการ ศรร.1213-041 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ก.10

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2016 ถึง 30 เมษายน 2017


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านมาบตาพุด จังหวัดระยอง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมาบตาพุด อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านมาบตาพุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านมาบตาพุด



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านมาบตาพุด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมาบตาพุด อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง รหัสโครงการ ศรร.1213-041 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านมาบตาพุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 2538 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงเรียนบ้านมาบตาพุด ได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยใน พระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ
1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
(สรุปผลการดำเนินงาน ของโครงการฯ ปีที่ 1 พร้อมสถานการณ์ด้านอาหารและโภชนาการของเด็กนักเรียน ก่อน-หลัง เข้าร่วมโครงการ และกิจกรรมที่ประสบความสำเร็จที่เห็นผลผลิต ผลลัพธ์ หรือนวัตกรรม อย่างเป็นรูปธรรม ตามข้อมูลใน ใบสมัครส่วนที่3) จากการร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสปีที่ ๑ โรงเรียนของท่านได้ดำเนินกิจกรรมใดที่ประสบความสำเร็จที่เห็นผลผลิต ผลลัพธ์ หรือนวัตกรรม อย่างเป็นรูปธรรมจากการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานด้านการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (ตอบได้มากกว่า ๑ กิจกรรม) สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของโรงเรียนบ้านมาบตาพุดจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียน อายุ ๔ - 12 ปี จำนวน ๒,๐๐๓ คนพบว่านักเรียนโรงเรียนบ้านมาบตาพุดมีภาวะอ้วน ร้อยละ 5.74 เตี้ย ร้อยละ 2.50
ผอม ร้อยละ 7.24และระบุว่านักเรียนอายุ ๔-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 78.73 ซึ่งจะนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ 1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงสภาพแวดล้อม ที่อยู่ในเขตนิคมอุตสาหกรรมไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารพิษและสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็ก มีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย
  2. เพื่อพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใสเป็นแหล่งเรียนรู้โดยตรงไปสู่โรงเรียนเครือข่าย
  3. เพื่อจัดแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนและชุมชนที่ต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้บริหารครูนักเรียนโรงเรียนบ้านมาบตาพุดได้เจริญรอยตามพระยุคลบาทสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีโดยการน้อมนำรูปแบบที่ดีด้านการจัดการอาหารโภชนาการและสุขภาพนักเรียนอย่างครบวงจรในโครงการพระราชดำริมาปฏิบัติและพัฒนาโรงเรียนต้นแบบแบบเด็กไทยแก้มใส
    2. นักเรียนมีความรู้ทักษะและทัศนคติที่ดีทางการเกษตรเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิต
    3. โรงเรียนบ้านมาบตาพุด มีวัตถุดิบส่งให้โรงครัว สำหรับจัดอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการสะอาดปลอดภัยและสุขนิสัยที่พึงปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหารให้นักเรียนและปลูกฝังอุดมการณ์ทักษะความรู้คุณธรรมในการดำรงชีวิตร่วมกันในสังคมโดยกิจกรรมสหกรณ์
    4. นักเรียนโรงเรียนบ้านมาบตาพุดได้รับการติดตามแก้ไขนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการและช่วยเหลือแก้ไขการเจ็บป่วยเบื้องต้นอย่างเหมาะสม
    5. นักเรียนโรงเรียนบ้านมาบตาพุดรู้จักอนุรักษ์ดูแลสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะและสามารถ สร้างสุขนิสัยที่ดีด้วยตนเอง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมวางแผนการดำเนินงานโครงการศนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโชนาการ

    วันที่ 1 กรกฎาคม 2016 เวลา 12:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมวางแผนการดำเนินงานโครงการศนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส  ให้ความรู้เกี่ยวกับการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการดำเนินงานโครงการศนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับดำเนินงานตามโครงการศูนย์เรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

     

    22 12

    2. ปรับปรุงโรงเรือนเพาะเห็ดนางฟ้า

    วันที่ 2 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมวางแผน
    2. แต่งตั้งคณะทำงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โรงเรือนเพาะเห็ดนางฟ้า เข้าร่วมโครงการอาหารกลางวัน ผลผลิตสู่ผู้ปกครองและชุมชน

     

    51 49

    3. อบรมให้ความรู้บุคลากรเกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใส และการใช้โปรแกรม Thai School Lunch

    วันที่ 2 พฤศจิกายน 2016 เวลา 07:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ชี้แจงการดำเนินงานโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสโรงเรียนบ้านมาบตาพุดจังหวัดระยอง ตามโครงการที่เสนอใน ปี 2559 สรุปผลการดำเนินงานของโครงการเด็กไทยแก้มใสปีที่ 1
    2. อบรมให้ความรู้เรื่องโภชนาการอาหาร  จากโดยวิทยากรโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี  ระยอง  ดังนี้
          2.1 การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียน
          2.2 มาตรฐานอาหารกลางวันกับประสิทธิภาพการเรียนรู้ของนักเรียน         - สารอาหารกับประสิทธิผลการเรียนของนักเรียน         - มาตรฐานอาหารกลางวันในโรงเรียนกับคะแนนคุณภาพสารอาหาร         - แนวทางการจัดอาหารกลางวันที่มีคุณภาพ
    3. แนะนำการใช้โปรแกรม Thai School  Lunch  และแนวทางการจัดอาหารหมุนเวียนให้ได้มาตรฐานอาหารกลางวัน และให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำเมนูอาหารโดยใช้โปรแกรม TSL แก่ ครู บุคลากรทางการศึกษา แม่ครัว
        จากครูที่รับผิดชอบ   

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ครูและบุคลากรโรงเรียนบ้านมาบตาพุดมีความเข้าใจในวัตถุประสงค์ของการดำเนินโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการโรงเรียนบ้านมาบตาพุดจังหวัดระยอง
    2. ครูและบุคลากรมีความรู้เกี่ยวกับโปรแกรมสำเร็จรูป Thai School Lunch
    3. ครูและบุคลากรนำไปประยุกต์ใช้กับการประกอบอาหารให้ได้คุณภาพและถูกสุขลักษณะอันจะนำไปสู่การแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน

     

    100 100

    4. ปรับปรุงแหล่งเรียนรู้โครงการเด็กไทยแก้มใส

    วันที่ 1 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. บันทึกเสนอขออนุมัติใ้ชจ่ายเงินตามโครงการฯ
    2. ดำเนินการจัดซื้อ จัดหาวัสดุอุปกรณ์ตามรายละเอียดการใช้งบประมาณ
    3. ดำเนินการจ้างเหมาทำป้ายอะคริลิคและโรอัพ  พร้อมซื้อวัสดุอุปกรณ์ กิจกรรม พัฒนาอนามัยสู่ความยั่งยืนนักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน
    4. ดำเนินการกิจกรรม พัฒนาอนามัยสู่ความยั่งยืนนักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน  4  ประการตามแนวพระราชดำริ  คือ  มีพุทธศึกษา  จริยศึกษา  หัตถศึกษา  และพละศึกษา  มีภาวะโภชนาการดี  สุขภาพแข็งแรงไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อ ต่อการมีสุขภาวะและคุณภาพชีวิตที่ดี  ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing)  และเพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้

     

    24 96

    5. การปลูกมะนาวในตะกร้า

    วันที่ 13 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. บันทึกเสนอขออนุมัติใ้ชจ่ายเงินตามโครงการฯ
    2. ประชุมคณะกรรมการ ดำเนินการจัดซื้อจัดหาวัสดุอุปกรณ์ตามรายละเอียดการใช้งบประมาณ
    3. ดำเนินการซื้ออุปกรณ์ทำงานเกษตร
    4. ดำเนินการปรับปรุงดินในแปลงเกษตร(ปลูกมะนาวในตะกร้า)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการปลูกมะนาว
    2. ครู นักเรียนได้ทำกิจกรรมร่วมร่วมกัน
    3. นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงเกี่ยวกับการปลูกมะนาว
    4. ได้ต้นมะนาว  30 ต้น  จากผลงานนักเรียน

     

    48 100

    6. การปลูกผักสวนครัวและปรับปรุงดินในแปลงเกษตร

    วันที่ 13 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. บันทึกเสนอขออนุมัติใ้ชจ่ายเงินตามโครงการฯ
    2. ประชุมคณะกรรมการ ดำเนินการจัดซื้อ จัดหาวัสดุอุปกรณ์ตามรายละเอียดการใช้งบประมาณ
    3. ดำเนินการซื้ออุปกรณ์ทำงานเกษตร
    4. ดำเนินการปรับปรุงดินในแปลงเกษตร (ปลูกผักสวนครัว)
    5. เก็บเกี่ยวผลผลิต

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนแกนนำมีความรู้เกี่ยวกับการปรับปรุงดินเพื่อทำการเกษตร
    2. ครู นักเรียนได้ทำกิจกรรมรร่วมกัน
    3. นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงเกี่ยวกับการเรียนรู้ด้านการเกษตรสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

     

    84 102

    7. มาออกกำลังกายกันเถอะ

    วันที่ 23 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. บันทึกเสนอขออนุมัติใ้ชจ่ายเงินตามโครงการฯ
    2. ดำเนินการจัดซื้อ จัดหาวัสดุอุปกรณ์ตามรายละเอียดการใช้งบประมาณ
    3. ดำเนินการซื้ออุปกรณ์ออกกำลังกายโดยใช้อุปกรณ์ออกกำลังกายทีมเทรนเนอร์ดีสโคน UP ๘๖๐๖ ชุด ๔๐ อันและอุปกรณ์ออกกำลังกาย (กรวยจราจร)
    4. นักเรียนมีอุปกรณ์ออกกำลังกายใช้ในการฝึกทักษะทางกีฬา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีอุปกรณ์ออกกำลังกายทีมเทรนเนอร์ดีสโคน UP 8606 ชุด 40 อันและอุปกรณ์ออกกำลังกาย (กรวยจราจร) 1 ชุด
    2. นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง
    3. นักเรียนมีทักษะในการเลี้ยงลูกฟูตบอลโดยใช้อุปกรณ์ออกกำลังกาย (กรวยจราจร) เป็นอุปกรณ์ช่วยในการฝึกฝน

     

    221 225

    8. อบรมพัฒนานักเรียนFit & Firm

    วันที่ 20 มกราคม 2017 เวลา 07:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. บันทึกเสนอขออนุมัติใ้ชจ่ายเงินตามโครงการฯ
    2. ดำเนินการจัดซื้อ จัดหาวัสดุอุปกรณ์ตามรายละเอียดการใช้งบประมาณ
    3. ประชุมคณะกรรมการ  จัดเตรียมสถานที่  เชิญวิทยากร
    4. ดำเนินการตามแผนที่วางไว้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผู้เข้าอบรมตระหนักถึงปัญหาโรคอ้วน และโรคที่เกิดจากภาวะอ้วน
    2. ผู้เข้าอบรมมีความรู้และความสามารถในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสามารถควบคุมการบริโภคที่เป็นสาเหตุของโรคอ้วนได้อย่างถูกต้อง
    3. ผู้เข้าอบรมมีทักษะในการรับประทานอาหาร และการออกกำลังกายที่ถูกต้องเหมาะสมกับสภาวะของร่างกาย

     

    231 0

    9. รายงานผลผลิต การเพาะเห็ด

    วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การเก็บเกี่ยวผผลิต(เห็ดนางฟ้า)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เห็ดนางไฟ้า จำนวน 280  กิโลกรัม

     

    0 15

    10. จัดทำรายงานปิดโครงการ งวด 2 พร้อมคืนดอกเบี้ย

    วันที่ 7 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนดอกเบี้ย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คืนดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร ให้แก่ สอส. 43.83 บาท

     

    1 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย
    ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 85 มีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย

     

    2 เพื่อพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใสเป็นแหล่งเรียนรู้โดยตรงไปสู่โรงเรียนเครือข่าย
    ตัวชี้วัด : โรงเรียนเป็นต้นแบบเด็กไทยแก้มใสสู่โรงเรียนเครือข่ายอย่างน้อย 3 โรงเรียน

     

    3 เพื่อจัดแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนและชุมชนที่ต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของนักเรียนมีฐานการเรียนรู้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงและพื้นที่เพื่อการเกษตร

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย (2) เพื่อพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใสเป็นแหล่งเรียนรู้โดยตรงไปสู่โรงเรียนเครือข่าย (3) เพื่อจัดแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนและชุมชนที่ต่อเนื่อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

    ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านมาบตาพุด

    รหัสโครงการ ศรร.1213-041 รหัสสัญญา 58-00-2265-ก.10 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

    วันที่เริ่มประเมิน

    1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    (ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    1. การเกษตรในโรงเรียน

    โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    2. สหกรณ์นักเรียน

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

    กิจกรรม อย.น้อย กิจกรรม ขยับกายสบายชีวี กิจกรรมโตไปไม่อ้วนกิจกรรมวันใสไร้พุง

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

    กิจกรรม เด็กไทยทำได้

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

    กิจกรรม Eco-School (โรงเรียนเชิงนิเวศ)

    กิจกรรม Bin Man กิจกรรม Water Kids กิจกรรม ห้องเรียนสีเขียว กิจกรรม 5 ส.

    มีการปรับรายละเอียดของกิจกรรมการดำเนินงานปีการศึกษา 2559 จากชื่อโรงเรียนเชิงนิเวศเป็นโรงเรียนสิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ในปีการศึกษา 2560โดยได้รับการสนับสนุนจากกรมส่งเสริมและพัฒนาสิ่งแวดล้อม

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

    การตรวจสุขภพาประจำปีของโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ระยอง

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    9. อื่น ๆ

     

     

     

    2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

    1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

    องค์การท้องถิ่นและเอกชน

    2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

     

    3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

     

    4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

     

    5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

    ซื้อจากชุมชน 12 ชุมชนเขตพื้นที่บริการ

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

    ซื้อจากชุมชน 12 ชุมชนเขตพื้นที่บริการ

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

    ซื้อจากชุมชน 12 ชุมชนเขตพื้นที่บริการ

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

    ร้านอาหารในโรงเรียน

     

     

    5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    นักเรียนอายุไม่เกิน 12 ปี

    โรงเรียนระดับประถมศึกษา

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

     

    รายการอาหารประจำเดือน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

    ดำเนินการติดตามโดยคุณครูประจำชั้น

    แบบบันทึกน้ำหนัก ส่วนสูง

     

    3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

    สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

    ภาวะ2558 1/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/2
    เตี้ย 2.56 2.56% 2.51 2.51% 2.49 2.49% 2.66 2.66% 3.37 3.37% 2.93 2.93%
    เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 7.01 7.01% 7.01 7.01% 7.31 7.31% 8.20 8.20% 8.59 8.59% 8.02 8.02%
    ผอม 10.33 10.33% 7.26 7.26% 5.28 5.28% 5.17 5.17% 4.10 4.10% 3.49 3.49%
    ผอม+ค่อนข้างผอม 18.67 18.67% 10.33 10.33% 8.55 8.55% 9.89 9.89% 9.39 9.39% 8.84 8.84%
    อ้วน 6.09 6.09% 5.73 5.73% 5.65 5.65% 5.64 5.64% 4.75 4.75% 5.14 5.14%
    เริ่มอ้วน+อ้วน 12.02% 12.02% 8.95% 8.95% 9.84% 9.84% 9.84% 9.84% 9.55% 9.55% 9.82% 9.82%
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

    องค์การท้องถิ่นและเอกชน

    หมายเหตุ *

    • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    โรงเรียนบ้านมาบตาพุด จังหวัด ระยอง

    รหัสโครงการ ศรร.1213-041

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายโอฬาร บุญมี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด