ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย

รหัสโครงการ ศรร.1212-046 รหัสสัญญา 58-00-2265-ก.14 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

ปลูกพืชผักสวนครัว/ประมง

ลักษณะเป็นการปลูกพืชแบบผสมผสาน การเลี้ยงไก่ กบ ปลา ขั้นตอน ปลูกพืชผักสวนครัว มีการเตรียมแปลงแบ่งสัดส่วนที่ชัดเจนเน้นให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมทุกระดับชั้นเรียนตั้งแต่อนุบาล 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้ลงมือปฏิบัติจริง หลักฐาน เอกสารบันทึกผลผลิตชั้นเรียน ภาพถ่าย

ด้านการเกษตรเน้นนักเรียนได้เรียนรู้และลงมือปฏิบัติ จัดไว้ในแผนงานของโรงเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน นักบัญชีน้อย

ลักษณะกิจกรรม จัดกิจกกรรมสหกรณ์นักเรียน แต่งตั้งประธาน เลขา ครูที่ปรึกษากิจกรรม ให้นักเรียนสมัครเข้าร่วมเป็นสมาชิก ได้เรียนรู้หลักการสหกรณ์ มีการซื้อขายแลกเปลี่ยนผลผลิตทางการเกษตรในแต่ละชั้นเรียน มีการประชุมระบบสหกรณ์ให้นักเรียน อ้างอิงจากกิจกรรมนักบัญชีน้อย ภาพถ่ายกิจกรรม

โรงเรียนดำเนินการต่อเนื่องมีการรับซือและจำหน่ายผลผลิตจากนักเรียนและชุมชนผ่านระบบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

สร้างความเข้าใจ ตระหนัก/ ในการจัดบริการอาหารกลางวัน

ลักษณะกิจกรรม 1จัดให้ครูได้รับการอบรม Thai School liunhโดยจัดเมนูอาหารเป็นรายเดือน จัดให้มีผลไม้สัปดาห์ละ 3 วัน เมนูไข่สัปดาห์ละ 2 วัน2 จัดประชุมชี้แจงผู้ปกครองนักเรียนสร้างความเข้าใจตระหนักในการจัดบริการอาหาร ประกอบด้วย ครู บุคคลากรทางการศึกษา แม่ครัว ผู้ปกครอง ผู้นำชุมชน และนักเรียน อ้างอิงจากกิจกกรรมภาพถ่ายกิจกรรม

โรงเรียนมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องมีการติดตามและประเมินผล มีให้ชุมชนนำผลไม้และผักมาจำหน่ายให้กับโครการ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

ติดตามภาวะโภชนากการ อาหารเสริมเพิ่มน้ำหนัก

1.จัดให้บริการอาหารเสริมเพื่อเพื่มน้ำหนักให้กับนักเรียนทุกคน (ผลไม้นม ไข่ )
2. มีการติดตามเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของนักเรียนรายบุคคล ภาคเรียนละ 2 ครั้งและแก้ไขปัญหา โดยให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วม มีการจัดกิจกรรมออกกำลังกายเพิ่มความสูง/ลดน้ำหนัก 4 ทดสอบสมรรถภาพนักเรียนรายบุคคล อ้างอิง สารสนเทศน้ำหนัก ส่วนสูง

โรงเรียนมีการดำเนินการติดตามและเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง มีการวัดผล ประเมินผล

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

1กิจกรรม ล้างมือกินร้อนช้อนกลาง2.กิจกรรมตรวจสอบสุขภาพนักเรียน3.สื่อกิจกรรมสุขภาพตามสุขบัญญัติ10ประการ 4.โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 5.มีเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลออกมาให้บริการในการตรวจสุขภาพนักเรียน 6. การตรวจเหา ฉีดวัคซีนป้องกันโรคอ้างอิงจากโครงการ กิจกรรม แบบตรวจสุขภาพนักเรียน

โรงเรียนจัดให้มีโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพเป็นโครงการต่อเนื่องจัดไว้ในแผนงานของโรงเรียน มีการติดตามประเมิน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

โรงเรียนได้จัดโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพไว้ในแผนงานของโรงเรียน เพื่อพัฒนาสุขภาพนักเรียน ให้สมบูรณ์แข็งแรง ทั้งทางร่างกาย และจิตใจ ในแผนงานโครงการก็ประกอบด้วยกิจกรรมหลายกิจกรรม ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาสภาพแวดล้อม ห้องน้ำ ห้องส้วมที่ถูกสุขลักษณะ มีการจัดให้นักเรียนได้ฝึกการรับผิดชอบในการดูแลรักษาความสะอาด มีเวรตรวจและรายงานผล มีครูเป็นที่ปรึกษา. กิจกรรมห้องพยาบาลมีเจ้าหน้าที่ห้องพยาบาลคอยบริการโดยครูให้คำแนะนำและเป็นที่ปรึกษา

โรงเรียนจัดให้เป็นโครงการต่อเนื่องในทุกปีการศึกษา มีการติดตาม ประเมินผลโครงการ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

นักเรียนสุขภาพดี

เป็นกิจกรรมที่อยู่ในแผนงานอนามัยโรงเรียน1.มีกิจกรรมตรวจสุขภาพนักเรียนรายบุคคล2.มีการตรวจสุขภาพช่องปาก สายตา การได้ยิน จากเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลตาพระยา 3.จัดให้นักเรียนได้แปลงฟันหลังรับประทานอาหารเที่ยง มีการสุ่มตรวจคราบจุลินทรีย์เพื่อให้เห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปาก4.มีห้องพยบาลที่ถูกสุขลักษณะและได้มาตรฐานไว้คอยบริการ5มีการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง ประเมินผล แก้ไขปัญหา 6.จัดสื่อ ป้ายนิเทศไว้ให้ความรู้กับนักเรียนอ้างอิง แบบตรวจสุขภาพต่างๆ

โรงเรียนจัดไว้ในแผนงานอนามัยโรงเรียน นำผลที่ได้มาประเมิน หาแนวทางแก้ไข การร่วมมือกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง โรงพยาบาล อสม ผู้ปกครอง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

กิจกรรมเรียนรู้ปฏิบัติได้

่กิจกรรมเรียนรู้ปฏิบัติได้ เป็นการบูรณาการการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์อาหารโภชนาการและสุขภาพอนามัย โดยจัดให้ทุกชั้นมีแผนการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ทุกชั้นเรียนและมีการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน นำมาจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้กับนักเรียน และนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติทุกคนเช่นเกษตรในโรงเรียน สหกรณ์นักเรียนการจำหน่ายพืชผักอ้างอิง แผนการจัดการเรียนรู้

เน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนบุคลากรทุกคน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

กิจกรรมกีฬาวอลเลย์บอล

มีการจัดตั้งชุมนุมกีฬาวอลเลย์ของโรงเรียน มีการฝึกซ้อมในตอนเย็นและเสาร์ อาทิตย์ มีคุณครูผู้รับผิดชอบได้รับรางวัลชนะเลิศในระดับกลุ่มเครือข่าย รางวัลรองชนะเลิศรายการวิทยุการมินิวอลเลย์บอลภาคกลาง

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

1รพ.สต.สระแก้ว 2อ.บ.ต ตาพระยา 3ชุมชนบ้านแก้วเพชรพลอย 4ศูนย์อนามัยที่6 หน่วยงานอื่นๆ เช่นกรมพัฒนาที่ดิน

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

-โรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอยมีพื้นที่เพียงพอในการจัดทำกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ บริเวณสะอาดร่มรื่น มีพื้นที่ในการจัดทำกิจกรรมเกษตรในโรงเรียน โยงไปสู่กิจกรรมอื่น -คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน ผู้ปกครอง ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนให้การสนับสนุนในการจัดการเรียนรู้ -บุคคลากรโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย ทุ่มเทและมุ่งมั่นในการปฏิบัติงาน มีความเสียสละ มีเป้าหมายร่วมกันในการพัฒนานักเรียนให้เป็นเด็กที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย สติปัญญา จิตใจ -ผู้บริหารมีการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล นำผลไปปรับปรุงพัฒนา

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

-ความสามัคคี ร่วมกันวางแผนการทำงาน ไว้วางใจมีความเป็นกัลยาณมิตร สร้างขวัญและกำลังใจทุกฝ่ายงาน

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

โรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอยเน้นการลงมือปฏิบัติจริง ตั้งแต่ละดับชั้นอนุบาลถึงชั้นประถมศึกษาปีที่6 ครูเป็นที่ปรึกษาสร้างองค์ความรู้ให้กับนักเรียน มีการจัดการเรียนแบบบูรณาการทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ จัดกิจกรรมที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ครูศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากการอบรม ศึกษาเอกสาร ลงมือปฏิบัติ มีการอบรมให้ความรู้กับแม่ครัวในการจัดบริการอาหาร

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

โรงเรียนได้รับการสนับสนุนจากชุมชนเป็นอย่างดี ผู้ปกครองได้นำผลผลิตทางการเกษตรมาจำหน่ายและบริจาคให้กับโรงเรียน การเข้าร่วมประชุมแก้ไขปัญหาของเด็กร่วมกันกับโรงเรียนซึ่งได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีถือเป็นส่วนหนึ่งในความสำเร็จของการดำเนินงานของโรงเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

โรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอยได้ปลูกผักหลายชนิดด้วยกัน เช่นบวบ ผักกวางตุ้ง คะน้า ผักบุ้ง ผัดชี หัวไชเท้า ฯ มีปริมาณที่เพียงพอมีการวางแผนการปลูกผักในระดับชั้นเรียนเพื่อจำหน่ายให้กิจกรรมสหกรณ์ นักเรียน นำไปจำหน่ายให้ชุมชน และนำกลับไปทานที่บ้านอีกด้วย

แปลงผัก บัญชีระดับชั้นเรียน. รูปภาพ

เน้นการลงมือปฏิบัติ เพื่อสร้างองค์ความรู้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

โรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอยได้เลี้ยงไก่ไข่เพื่อประกอบอาหารกลางวันโดยจำหน่ายผ่านกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน มีการเลี้ยงไก่ไข่จำนวน 122 ตัว

บัญชีบันทึกกิจกรรมภาพถ่าย

การจัดการบริหารที่ดีมีการหมุนเวียนของกองทุน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

โรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย เลี้ยงกบ และปลาดุก จัดให้นักเรียนรับผิดชอบครูเป็นที่ปรึกษา นำมาประกอบอาหารกลางวัน โดยจำหน่ายผ่านกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน

สภาพจริงเชิงประจักษ์ ภาพถ่าย

เน้นการปฏิบัติอย่างต่อเนื่องนำปัญหาที่เกิดมาปรับปรุงแก้ไข เน้นนักเรียนเป็นสำคัญ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

คาดว่าจะดำเนินการในปีการศึกษาที่จะถึง

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

จัดให้มีเมนูผักและผลไม้ที่เพียงพอกับช่วงอายุ ในทุกวัน

เมนูอาหารกลางวัน

ประเมินผลการเจริญเติบโตของเด็ก ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

จัดเมนูอาหารกลางวันที่มีผักและผลไม้ ให้เหมาะกับช่วงอายุของเด็กตามปริมาณที่จะต้องได้รับมีการชั่งตวงก่อนการประกอบอาหาร ให้ความรู้กับเด็กและแม่ครัวในการตักอาหารรับประทาน

เมนูอาหารกลางวัน

ประเมินผลการเจริญเติบโตของเด็ก ดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

โรงเรียนมีการจัดประชุมผู้ปกครองโดยร่วมกันกับสาธารณสุข ให้ความรู้ด้านโภชนาการ สุขภาพ การบริโภคและผลิตผักปลอดสารพิษรับประทานเอง ชุมชนได้นำผักผลไม้มาขาย พร้อมทั้งนำมาบริจาคให้กับโรงเรียน

ภาพกิจกรรมการประชุม

การร่วมมืออย่างเข้มแข็ง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

ทำได้ 80%

บันทึกอาหารกลางวัน

โปรแกรมต้องเน้นตามบริบทของพื้นที่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการประเมินผลเทอมละ2ครั้งในการพัฒนาเด็ก

แบบบันทึก

ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/2
เตี้ย 7.49 7.49% 2.29 2.29% 3.19 3.19% 3.35 3.35% 4.21 4.21% 3.37 3.37% 4.97 4.97% 3.89 3.89% 1.31 1.31% 1.31 1.31% 1.31 1.31% 1.31 1.31%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 14.97 14.97% 10.29 10.29% 10.11 10.11% 10.06 10.06% 11.05 11.05% 10.11 10.11% 13.26 13.26% 9.44 9.44% 4.58 4.58% 4.58 4.58% 4.58 4.58% 4.58 4.58%
ผอม 7.49 7.49% 7.22 7.22% 7.07 7.07% 4.55 4.55% 5.26 5.26% 3.95 3.95% 0.55 0.55% 2.78 2.78% 7.19 7.19% 7.84 7.84% 2.61 2.61% 14.38 14.38%
ผอม+ค่อนข้างผอม 17.65 17.65% 21.11 21.11% 18.48 18.48% 11.93 11.93% 12.11 12.11% 14.69 14.69% 8.29 8.29% 12.78 12.78% 13.73 13.73% 22.88 22.88% 13.73 13.73% 21.57 21.57%
อ้วน 3.74 3.74% 2.78 2.78% 2.72 2.72% 3.98 3.98% 2.63 2.63% 2.82 2.82% 2.76 2.76% 4.44 4.44% 2.61 2.61% 1.96 1.96% 2.61 2.61% 1.96 1.96%
เริ่มอ้วน+อ้วน 5.88% 5.88% 5.00% 5.00% 4.35% 4.35% 5.11% 5.11% 4.21% 4.21% 5.65% 5.65% 6.63% 6.63% 7.78% 7.78% 5.88% 5.88% 5.88% 5.88% 5.88% 5.88% 3.92% 3.92%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

นักเรียนอ้วนและเริ่มอ้วนลดลงเมื่อเทียบจากปีการศึกษาที่ผ่านมา ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2559 เทียบกับภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 ลดลงร้อยละ 0.23

งานอนามัยโรงเรียน

ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

นักเรียนมีภาวะผอมและคอนข้างผอมลดลงเมื่อเทียบจากปีการศึกษาที่ผ่านมา ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2559 เทียบกับภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 ลดลงร้อยละ 17.96

งานอนามัยโรงเรียน

ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

นักเรียนมีภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลงเมื่อเทียบกับปีการศึกษาที่ผ่านมาภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2559 เทียบกับภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.76

งานอนามัยโรงเรียน

ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

โรงเรียนลงลึกในการแก้ไขปัญหานักเรียนรายบุคคลในการแก้ไขปัญหาในแต่ละด้านของนักเรียน โดยมีการตรวจวัดภาคเรียนละ 2 ครั้ง ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการรับผู้ปัญหาและร่วมแก้ไข

งานอนามัยโรงเรียน

ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

มีการจัดประชุมผู้ปกครองนักเรียนที่มีปัญหาเพื่อวิเคราะห์ พูดคุยและหาแนวทางแก้ไขร่วมกัน

ภาพกิจกรรมการประชุม

ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

โครงการเด็กไทยแก้มใสเป็นโครงการที่พัฒนาเด็กในทุกด้านทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา

ผลสัมฤทธิ์นักเรียน บันทึกสุขภาพนักเรียน

ความต่อเนื่องของโครงการ

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

1รพ.สต.สระแก้ว 2อ.บ.ต ตาพระยา 3ชุมชนบ้านแก้วเพชรพลอย 4ศูนย์อนามัยที่6 หน่วยงานอื่นๆ เช่นกรมพัฒนาที่ดิน

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh