ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

directions_run

โครงการสร้างเสริมศักยภาพศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสขยายผลสู่ชุมชน

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1. เพื่อเสริมพลังและพัฒนาศักยภาพ ยกระดับศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ในระดับดีมากและดีเยี่ยม (HKHF Smart Learning Center)
ตัวชี้วัด : เกิดโรงเรียนที่พัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการที่มีคุณภาพ *ระดับดีมาก – ระดับดีเยี่ยมจำนวนไม่น้อยกว่า 50 แห่ง ที่สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ และนำไปขยายผลต่อได้จำนวนไม่น้อยกว่า 200 แห่ง

 

 

 

2 2. เพื่อขับเคลื่อนขยายผลไปสู่โรงเรียนในเครือข่ายเด็กไทยแก้มใสให้สามารถดำเนินงานที่มีความเข้มแข็งขึ้น และ ขยายผลสู่ชุมชนและโรงเรียนอื่นๆในพื้นที่
ตัวชี้วัด : เกิดศูนย์เรียนรู้ระดับยอดเยี่ยม The Smart Learning Center จำนวนไม่น้อยว่า 20 โรงเรียน ที่สามารถดำเนินงานในโรงเรียนได้ในระดับที่ดีมากทั้ง 8 องค์ประกอบตามกรอบแนวทางการพัฒนาอาหารและสุขภาพในโรงเรียน รวมถึงมีการขยายผลสู่ชุมชนได้อย่างโดดเด่น

 

 

 

3 3. เพื่อสื่อสารสร้างกระแสให้เป็นที่รับรู้และเกิดความตระหนักของผู้บริหารท้องถิ่น ผู้ปกครอง และ ชุมชน ในการกำหนดนโยบายด้านการบริโภคอาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาวะของเด็กและเยาวชน
ตัวชี้วัด : เกิดนโยบายท้องถิ่น หรือนโยบายชุมชน หรือนโยบายจังหวัด ไม่น้อยกว่า 10 นโยบายจากการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานสู่โรงเรียนจากผลสำเร็จของโครงการเด็กไทยแก้มใส

 

 

 

4 4. เพื่อพัฒนาการจัดอาหารกลางวันให้ได้มาตรฐานโภชนาการและการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ รวมทั้งการกระตุ้นติดตามผลการดำเนินกิจกรรมของโรงเรียน เพื่อให้เกิดการดำเนินงานอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด : มีครูโภชนาการที่มีความรู้และประสบการณ์ในการแก้ปัญหาจากการนำโปรแกรม Thai School Lunch ไปปฏิบัติจริง สามารถทำหน้าที่เป็นวิทยากรในท้องถิ่นได้ อย่างน้อย 80 โรงเรียน และ เกิดการกระตุ้นติดตามผลการดำเนินงานโดยใช้ระบบเครือข่ายของการศึกษา อย่างต่อเนื่อง