ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านพรุจูด

รหัสโครงการ ศรร.1411-123 รหัสสัญญา 58-00-2265-ต.26 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

การเลี้ยงไก่ไข่เพื่ออาหารกลางวัน เนื่องจากการเลี้ยงไก่ไข่ในเชิงพาณิชย์มีต้นทุนที่ค่อนข้างสูง โรงเรียนจึงไม่มีงบประมาณในการปฏิบัติกิจกรรม แต่หลังจากได้รับอนุมัติโครงการจาก สสส. ทำให้โรงเรียนมีต้นทุนในการดำเนินการ ซึ่งจากการปฏิบัติดังกล่าว ทำให้นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการเลี้ยงไก่ไข่ จากผู้เชี่ยวชาญ และได้ลงมือปฏิบัติจริงอย่างครบวงจร ทำให้นักเรียนสามารถนำไปต่อยอดในการสร้างอาชีพในครอบครัวได้

  1. โครงการ
  2. ภาพถ่่าย
  3. บันทึกรายรับ-รายจ่าย
  4. บันทึกจำนวนไข่ไก่ในแต่ละวัน

ให้ผู้ปกครองหรือชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแล บริหารจัดการร่วมกัน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

การจัดกิจกรรมอาหารกลางวัน โดยใช้โปรแกรม Thai School lunch

  1. ผู้รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวัน จัดทำรายการอาหารเป็นรายเดือน บันทึกวัสดุตามรายการอาหารลงในโปรแกรมอาหารกลางวัน Thai School lunch แล้วตรวจสอบวัตถุดิบ และคุณค่าอาหาร ให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ นำรายการอาหารไปติดป้ายประกาศที่โรงอาหาร ครูที่รับผิดชอบ จัดซื้อ จัดหาวัตถุดิบที่ปลอดสารพิษเป็นประจำทุกวัน และมอบให้ผู้ประกอบการอาหารกลางวัน ผู้ประกอบการอาหารกลางวัน ได้รับการอบรมจาก โรงพยาบาลประจำอำเภอ และผ่านการตรวจสุขภาพ

ประชาสัมพันธ์ ให้ผู้ปกครองและชุมชนเข้าร่วมกิจกรรม "อาหารปลอดภัย สุขภาพแข็งแรง" เพื่อพัฒนาและส่งเสริมสุขภาวะของนักเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

คัดกรองนักเรียน

  1. ครูประจำชั้นดำเนินการคัดกรองนักเรียนตามแบบฟอร์มของโรงเรียน ประกอบด้วย SDQ และการคัดกรองด้านสุขภาพของนักเรียน
  2. ครูอนามัยโรงเรียนสรุปผลการคัดกรองในภาพรวมของโรงเรียน
  3. ผู้บริหารวางแผนการแก้ไขปัญหา โดยบูรณาการดำเนินงานกับภาคีเครือข่าย

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

กิจกรรมแม่ไม้มวยไทย

เป็นกิจกรรมออกกำลังกายในตอนเช้าหลังกิจกรรมเข้าแถวเคารพธงชาติ ซึ่งนักเรียนทุกคนจะได้ออกกำลังกาย โดยเต้นแอโรบิคในท่าแม่ไม้มวยไทย

ประกวดเต้นแอโรบิคแม่ไม้มวยไทย และรณรงค์ให้ชุมชนได้มี่ส่วนร่วมใจกิจกรรม

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

กิจกรรมคัดแยกขยะ

โรงเรียนได้รับการสนุนสนุนจากภาคีเครือข่าย คือ องค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหิน ให้ดำเนินกิจกรรมแยกขยะ โดยขยะทั้งหมดจะแบ่งเป็นขยะที่สามารถนำไปขายได้ ส่วนขยะเปียกที่เกิดจากเศษอาหาร จะนำไปทำเป็นปุ๋ยจุลินทรีย์ เพื่อใช้ในการเกษตรในโรงเรียน

กิจกรรมขยะแลกไข่ เนื่องจากโรงเรียนมีผลผลิตคือ ไข่ จากกิจกรรมเลี้ยงไก่ไข่เพื่ออาหาารกลางวัน ซึ่งมีปริมาณเกินความต้องการบริโภคของนักเรียนในแต่ละวัน จึงเห็นควรจัดกิจกรรมขยะแลกไข่ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนและชุมชนได้คัดแยกขยะ และให้ได้บริโภคไข่ไก่ที่มีคุณภาพต่อไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน
  1. ตรวจสุขภาวะทั่วไปของนักเรียน
  2. กำจัดเหา
  3. ตรวจสุขภาพประจำภาคเรียน

โรงเรียนได้ดำเนินกิจกรรมที่เป็นการบริการสุขภาพของนักเรียน เพื่อให้สามารถดูแลสุขภาวะของนักเรียนได้อย่างครบถ้วน ซึ่งมีกิจกรรมที่ดำเนินการประกอบด้วย กิจกรรมตรวจสุขภาวะทั่วไปของนักเรียน ซึ่งจะดำเนินการทุกสัปดาห์ ประกอบด้วย ตรวจผม ตรวจเหา ตรวจเล็บ ตรวจฟัน ตรวจความสะอาดทั่วไปของร่างกาย หลังจากนั้น หากพบนักเรียนเป็นเหา จะดำเนินกิจกรรมกำจัดเหา โดยได้รับความร่วมมือจากโรงพยาบาลสิเกา และผู้ปกครองนักเรียนกลุ่มที่มีปัญหาช่วยดำเนินกิจกรรม และสุดท้ายจะมีการตรวจสุขภาพนักเรียนประจำภาคเรียน ดำเนินการโดยเจ้าหน้าที่พยาบาลจากโรงพยาบาลสิเกา ครูประจำชั้น

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

ได้จัดการเรียนเรียนรู้เกษตรทั้งภายในโรงเรียนและขยายสู่ชุมชน จัดตั้งสหกรณ์นักเรียน มีนักเรียนเป็นผู้ดำเนินการ แต่ยังไม่มีการรับซื้อผลผลิตจากเกตรในโรงเรียนและชุมชนยังไม่มาก

รับผลผลิตจากเกษตรในโรงเรียนและชุมชน มาและจัดส่งสู่อาหารลางวัน

จะทำเกษตรแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนและชุมชนที่ต่อเนื่อง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

มีภาคีเครือข่ายให้ความร่วมมือที่หลากหลาย เช่น องค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหิน ศูนย์วิเพาะพันธุ์เนื้อเยื่อ จังหวัดตรัง สำนักงานส่งเสริมสหกรณ์จังหวัดตรัง โรงพยาบาลสิเกา

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

ชุมชนเข้มแข็ง ผู้ปกครอง ตกลงให้ความร่วมมือดีมีภาคีเครือข่ายให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

ผู้บริหารให้ความสำคัญ ได้ชี้แจงนโยบาย และมอบหมายภาระงานที่ชัดเจน มีการติดตามสอบถาม ให้กำลังใจในการทำงาน คณะครูทุกคนให้ความสำคัญ และร่วมมือเป็นอย่างดี ผู้ปกครองมีความตระหนัก หันมาใส่ใจสุขภาพของบุตรหลานของตนเองมากขึ้น นักเรียนมีวินัย มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ และให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ผู้นำชุมชนให้ความสนับสนุน

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

ศึกษาแหล่งเรียนรู้้ด้วยตนเอง ศึกษาเรียนรู้จากวิทยากร ศึกษาเรียนรู้จากการทดลอง ศึกษาเรียนรู้โดยการปฏิบัติจริง

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

ผู้นำชุมชน เชิญผู้ปกครองนักเรียน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง มาประชุมชี้แจงถึงสภาพปัจจุบัน ปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อหาวิธีการแก้ปัญหาร่วมกัน ผู้นำชุมชนสนับสนุนงบประมาณ และจัดทำโครงการการพัฒนาสุขภาพบุคคลในชุมชน เพื่อให้สอดคล้องกับกิจกรรมในโรงเรียน เป็นการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ชุมชนเข้ามาช่วยเหลือ ให้ความรู้ จัดกิจกรรมพัฒนาสุขภาวะให้ผู้ปกครอง และนักเรียน ผู้ปกครองมีบทบาทในการเป็นผู้ประกอบอาหารกลางวัน เพื่อศึกษาข้อมูลวัตถุดิบ วิธีการที่ถูกหลักอนามัย ผู้ปกครองมีบทบาทในการตรวจสุขภาพของบุตรหลานของตนเอง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

เนื่องจากพื้นที่โรงเรียนมีจำกัดการผลิตผักและผลไม้ในโรงเรียนจึงไม่เพียงพอ จึงมีการจัดซื้อเพิ่มเติมเพื่อให้เพียงพอ

โครงการอาหารกลางวัน ภาพถ่าย

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

เลี้ยงไก่ไข่เพื่ออาหารกลางวัน จำนวน 50 ตัว

โครงการอาหารกลางวัน ภาพถ่าย

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

เลี้ยงปลาดุก จำนวน 300 ตัว

โครงการอาหารกลางวัน ภาพถ่าย

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

เนื่องจากโรงเรียนไม่มีงบประมาณเพียงพอ แต่ได้บริหารจัดการโดยกำหนดให้นักเรียนดื่มนมโรงเรียนในตอนเช้าทุกวัน

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

อาหารกลางวันทุกมื้อจะเป็นเมนูที่มีผักเป็นส่วนประกอบ

จัดผลไม้ให้นักเรียนได้รับประทานสัปดาห์ละ 3 วัน เมนูอาหารตามโปรแกรม Thai School Lunch

จัดบริการให้เด็กได้รับประทานผลไม้ให้ครบ 5 วัน ต่อสัปดาห์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

อาหารกลางวันทุกมื้อจะเป็นเมนูที่มีผักเป็นส่วนประกอบ

จัดผลไม้ให้นักเรียนได้รับประทานสัปดาห์ละ 3 วัน เมนูอาหารตามโปรแกรม Thai School Lunch

จัดบริการให้เด็กได้รับประทานผลไม้ให้ครบ 5 วัน ต่อสัปดาห์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

อาหารกลางวันทุกมื้อจะเป็นเมนูที่มีผักเป็นส่วนประกอบ

จัดผลไม้ให้นักเรียนได้รับประทานสัปดาห์ละ 3 วัน เมนูอาหารตามโปรแกรม Thai School Lunch

จัดบริการให้เด็กได้รับประทานผลไม้ให้ครบ 5 วัน ต่อสัปดาห์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

เนื่องจากในชุมชน ยังไม่มีแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษที่จะสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้และเครือข่ายการดำเนินการได้

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

มีการอบรมให้ความรู้การใช้โปรแกรม Thai School Lunchให้กับผู้ปกครอง ครู แม่ครัว นักเรียนแกนนำ เพื่อจัดเมนูอาหาร

เมนูอาหารจากโปรแกรม Thai School Lunch

จัดหาภาชนะให้เพียงพอ และจัดรูปแบบอาหารให้น่ารับประทานมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่
  1. ครูอนามัยกำหนดตารางการดำเนินงาน
  2. ครูประจำชั้นติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียน โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
  3. เจ้าหน้าที่สาธารณะสุขจากโรงพยาบาลสิเกา ตรวจคัดกรองนักเรียน
  4. งานอนามัยสรุปผลการดำเนินงาน

สมุดบันทึกการติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียน

 

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/2
เตี้ย 4.17 4.17% 1.09 1.09% 2.13 2.13% 4.17 4.17% 2.08 2.08% 2.08 2.08% 2.11 2.11% 2.11 2.11% 2.20 2.20% 2.20 2.20%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 11.46 11.46% 7.61 7.61% 6.38 6.38% 8.33 8.33% 11.46 11.46% 9.38 9.38% 10.53 10.53% 10.53 10.53% 5.49 5.49% 5.49 5.49%
ผอม 3.13 3.13% 5.88 5.88% 2.13 2.13% 1.04 1.04% 2.08 2.08% 2.11 2.11% 4.21 4.21% 4.21 4.21% 0.00 0.00% 0.00 0.00%
ผอม+ค่อนข้างผอม 10.42 10.42% 14.12 14.12% 4.26 4.26% 4.17 4.17% 7.29 7.29% 9.47 9.47% 10.53 10.53% 8.42 8.42% 3.30 3.30% 3.30 3.30%
อ้วน 7.29 7.29% 8.24 8.24% 8.51 8.51% 8.33 8.33% 7.29 7.29% 5.26 5.26% 6.32 6.32% 5.26 5.26% 12.09 12.09% 8.79 8.79%
เริ่มอ้วน+อ้วน 13.54% 13.54% 15.29% 15.29% 17.02% 17.02% 14.58% 14.58% 13.54% 13.54% 11.58% 11.58% 11.58% 11.58% 8.42% 8.42% 17.58% 17.58% 17.58% 17.58%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง
  1. ครูประจำชั้น จัดตรวจสุขภาพของนักเรียน โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และบันทึกข้อมูล
  2. ครูอนามัย สรุปเป็นภาพรวมของโรงเรียน
  3. นำส่งข้อมูลให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขโรงพยาบาลสิเกา เพื่อแปลผล
  4. โรงเรียนจัดกิจกรรมเพื่อสนองตอบต่อผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการแปลผล หากพบว่านักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ไม่เหมาะสม เช่น อ้วน ผอม เตี้ย จะดำเนินการจัดกิจกรรมเพื่อปรับพฤติกรรม เช่น จัดอบรมให้ความรู้ เพิ่มกิจกรรมออกกำลังกายในช่วงเช้า ควบคุมปริมาณและประเภทของอาหาร
  5. ติดตามผลการดำเนินการ
  1. สมุดบันทึกการตรวจสุขภาพของนักเรียน
  2. สถานการณ์ภาวะโภชนาการของนักเรียน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง
  1. ครูประจำชั้น จัดตรวจสุขภาพของนักเรียน โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และบันทึกข้อมูล
  2. ครูอนามัย สรุปเป็นภาพรวมของโรงเรียน
  3. นำส่งข้อมูลให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขโรงพยาบาลสิเกา เพื่อแปลผล
  4. โรงเรียนจัดกิจกรรมเพื่อสนองตอบต่อผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการแปลผล หากพบว่านักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ไม่เหมาะสม เช่น อ้วน ผอม เตี้ย จะดำเนินการจัดกิจกรรมเพื่อปรับพฤติกรรม เช่น จัดอบรมให้ความรู้ เพิ่มกิจกรรมออกกำลังกายในช่วงเช้า ควบคุมปริมาณและประเภทของอาหาร
  5. ติดตามผลการดำเนินการ
  1. สมุดบันทึกการตรวจสุขภาพของนักเรียน
  2. สถานการณ์ภาวะโภชนาการของนักเรียน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง
  1. ครูประจำชั้น จัดตรวจสุขภาพของนักเรียน โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และบันทึกข้อมูล
  2. ครูอนามัย สรุปเป็นภาพรวมของโรงเรียน
  3. นำส่งข้อมูลให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขโรงพยาบาลสิเกา เพื่อแปลผล
  4. โรงเรียนจัดกิจกรรมเพื่อสนองตอบต่อผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการแปลผล หากพบว่านักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ไม่เหมาะสม เช่น อ้วน ผอม เตี้ย จะดำเนินการจัดกิจกรรมเพื่อปรับพฤติกรรม เช่น จัดอบรมให้ความรู้ เพิ่มกิจกรรมออกกำลังกายในช่วงเช้า ควบคุมปริมาณและประเภทของอาหาร
  5. ติดตามผลการดำเนินการ
  1. สมุดบันทึกการตรวจสุขภาพของนักเรียน
  2. สถานการณ์ภาวะโภชนาการของนักเรียน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

โรงเรียนจัดกิจกรรมเพื่อสนองตอบต่อผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการแปลผล หากพบว่านักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ไม่เหมาะสม เช่น อ้วน ผอม เตี้ย จะดำเนินการจัดกิจกรรมเพื่อปรับพฤติกรรม เช่น จัดอบรมให้ความรู้ เพิ่มกิจกรรมออกกำลังกายในช่วงเช้า ควบคุมปริมาณและประเภทของอาหาร

  1. สมุดบันทึกการตรวจสุขภาพของนักเรียน
  2. สถานการณ์ภาวะโภชนาการของนักเรียน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

โรงเรียนได้ดำเนินโครงการอบรมนักเรียนและผู้ปกครอง เพื่อให้ความรู้ และแนวทางการปฏิบัติตน ในเรื่องโภชนาการและการดูแลรักษาช่องปาก

  1. ภาพถ่าย
  2. ใบลงทะเบี่ยน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

มีภาคีเครือข่ายให้ความร่วมมือที่หลากหลาย เช่น องค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหิน ศูนย์วิเพาะพันธุ์เนื้อเยื่อ จังหวัดตรัง สำนักงานส่งเสริมสหกรณ์จังหวัดตรัง โรงพยาบาลสิเกา

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh