แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1) เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตาม เฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
ตัวชี้วัด : นักเรียนเจริญเติบโตสมวัยโดยมี - ภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน ไม่เกิน7% - ภาวะผอมไม่เกิน 7%ดูน้ำหนักตามเกณฑ์และส่วนสูง - ภาวะเตี้ย ไม่เกิน 7%

 

 

ผลการประเมินตามตัวชี้วัด พบว่า 1. นักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน อยู่ในระดับ 8.42% ซึ่งเกินระดับตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ แต่ผลการประเมินดังกล่าว มีแนวโน้มลดลง
2. นักเรียนมีภาวะผอมอยู่ในระดับ 4.21% เป็นไปตามตัวชี้วัดที่ตั้งไว้ 3. นักเรียนมีภาวะเตี้ย อยู่ในระดับ 2.11% เป็นไปตามตัวชี้วัดที่ตั้งไว้

2 2) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดำเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนได้กินผัก – ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้นในมื้อกลางวัน เฉลี่ย - ผักวันละประมาณ 40-100 กรัม (อนุบาล 3 ช้อน (50กรัม)ประถม4 ช้อน (70กรัม) - ผลไม้(อนุบาล 1/2ส่วนประถม 1ส่วน) ต่อมื้อ ต่อคน 2. ระดับความสำเร็จของโรงเรียนชุมชนในการพัฒนาด้านการจัดการเชื่อมโยงอาหาร โภชนาการ สุขภาพ อยู่ในระดับ 4

 

 

  1. โรงเรียนได้ดำเนินการบันทึกข้อมูลรายการอาหารโดยโปรแกรม Thai School Lunch
  2. โรงเรียนและชุมชนได้ประสานการดำเนินงาน สามารถสร้างเครือข่ายเชื่อมโยงอาหาร โภชนาการ สุขภาพ อยู่ในระดับ 4