แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนสารอาหารและการพัฒนาภาวะโภชนาการและสุขภาพระยะยาว
ตัวชี้วัด : นักเรียนทำเกษตรปลอดสารพิษได้ผลผลิตสนับสนุนโครงการอาหารกลางวันอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้นักเรียนได้รับประทานอาหารปลอดภัยมีสารอาหารครบถ้วนทำให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย นักเรียนได้รับกินผัก – ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้นในมื้อกลางวัน เฉลี่ย ผัก วันละประมาณ40 – 100 กรัมอนุบาล3ช้อน (50 กรัม) ประถม 4 ช้อน (70กรัม)ผลไม้ (อนุบาล ½ ส่วน ประถม1ส่วน ) ต่อมื้อต่อคน

 

 

  1. แหล่งผลิตวัตถุดิบด้ายเกษตร เช่น ไข่ไก่ ผักสวยครัว เก็ดนางฟ้า ต้นอ่อนทานตะวัน ถั่วงอก ปลาดุกผลิตที่ได้ส่งผ่านสหกรณ์โรงเรียนเป็นวัตถุดิบส่งต่อยอดสู่โครงการอาหารกลางวันเพื่อประกอบอาหารกลางวันให้แก่นักเรียน
  2. นักเรียนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคผักและผลไม้เพิ่มขึ้นทั้งการบริโภคที่โรงเรียนและที่บ้าน
  3. ประเมินจากรายการอาหารกลางวันที่จัด และประเมินจากปริมาณการตักอาหารและการบริโภคของนักเรียนและเอกสารการจัดซื้อวัตถุดิบ
2 เพื่อสร้างกระบวนการประเมิน ติดตามและเฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
ตัวชี้วัด : เกิดกระบวนการประเมิน ติดตามเฝ้าระวังแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน ส่งผลให้ภาวะโภชนาการของนักเรียนลดลงนักเรียนเจริญเติบโตสมวัยโดยมี ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ไม่เกิน7% ภาวะค่อนข้างผอมและผอม ไม่เกิน7% ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ย ไม่เกิน7%

 

 

  1. ชั่งน้ำหนัก - วัดส่่วนสูงนักเรียนภาคเรียนละ 2 ครั้ง ประมวลผลตามโปรแกรมคำนวณภาวโภขชนาการ สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
  2. นักเรียนเจริญเติบโตสมวัยโดยมี ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ไม่เกิน7% ภาวะค่อนข้างผอมและผอม ไม่เกิน7% ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ย ไม่เกิน7%
  3. นักเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนทำกิจกรรมโครงการเด็กไทยไร้พุง
  4. ดูความเปลี่ยนแปลงภาะวะโภชนาการก่อน-หลังดำเนินการจากการเฝ้าระวังโดยการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงแปรผลเปรียบเทียบ
3 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวการดำเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร
ตัวชี้วัด : ชุมชน/หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการพัฒนาการเกษตรการจัดการบริการอาหาร และโภชนาการ

 

 

การประเมินการมีส่วนร่่วมของชุมชน/หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาการเกษตรการจัดการบริการอาหาร และโภชนาการโดยให้ความและแนะนำด้านการเกษตร ได้แก่ 1. ชุมชนหวังหนับอุทิศ 2. ชุมชนสุเหร่าซีรอ หมู 8 3. ฝ่ายพัฒนาชุมชน เขตสะพานสูง 4. ฝ่ายสิงแวดล้อม เขตสะพานสูง 5. กรมประมง 6. ศูนย์ยริการสาธารณสูข 68 สะพานสูง 7. ตณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนสุเหร่าซีรอ(ราษฎร์สามัคคี)

-