ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนอนุบาลจอมบึง

รหัสโครงการ ศรร.1213-037 รหัสสัญญา 58-00-2265-ก.6 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

การปลูกพืชผักเพื่อการบริโภค

นักเรียนในแต่ละระดับชั้นมีส่วนร่วมในการเรียนรู้กิจกรรมเกษตรของโรงเรียนในการปลูกพืชแต่ละชนิดที่แตกต่างกันไปตามความเหมาะสมครูและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมแบ่งกลุ่มกันดูแลและรวมถึงการเก็บเกี่ยวผลผลิต

ขยายพื้นที่ในการเพาะปลูกพืชตามความสนใจของนักเรียนเพื่อการบริโภคและจำหน่ายรวมถึงมีการต่อยอดในการพัฒนานวัตกรรมจนได้รับรางวัลระดับประเทศ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

กิจกรรมร้านค้าแก้มใส

มีการจัดตั้งร้านค้าแก้มใสขึ้นเพื่อดำเนินการขายผลผลิตของโครงการเพื่อนำเงินที่ได้จากการขายสินค้ามาดำเนินการพัฒนาโครงการให้เลี้ยงตัวเองได้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่สามารถยืนได้ด้วยตนเอง

ฝึกปฏิบัติให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมและมีการดำเนินการตามรูปแบบสหกรณ์ให้ถูกต้องต่อไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

การบริการอาหารของโรงเรียนโดยคณะครูและนักเรียน

มีการหมุนเวียนให้ครูและนักเรียนร่วมกันตักอาหารอย่างถูกสุขลักษณะตามหลักอนามัยมีการตรวจสุขภาพของแม่ครัวเป็นประจำทุกภาคเรียนการแต่งกายที่ถูกสุขลักษณะ

พัฒนารูปแบบให้มีมาตรฐานถูกสุขลักษณะในการบริหารด้านอาหารมีการประเมินทุกเดือน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

ตรวจสอบสมรรถภาพของร่างกายนักเรียน

มีการชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูงในทุกภาคเรียนและมีแบบประเมินสุขภาพของนักเรียนในด้านต่าง ๆ เพื่อตรวจสอบสมรรถภาพของร่างกาย

ติดต่อกับศูนย์อนามัยในการตรวจสุขภาพของนักเรียนอย่างเป็นระบบ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

การรักษาความสะอาดของร่างกายและสุขภาพช่องปาก

มีการตรวจสอบการแต่งกายของนักเรียนทุกเช้ารวมถึงร่างกายและมีการให้นักเรียนทุกชั้นแปรงฟันทุกวันหลังรับประทานอาหารกลางวันโดยให้ครูประจำชั้นเป็นผู้ตรวจสอบมีการบันทึกในทุก ๆ วัน

ติดต่อกับศูนย์อนามัยในการตรวจสุขภาพช่องปากของนักเรียนอย่างเป็นระบบ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

การพัฒนาอาคารสถานที่ให้ถูกสุขอนามัยปลอดภัย

มีการพัฒนาสถานที่ต่าง ๆ ที่มีความเสี่ยงให้ถูกสุขลักษณะด้านสิ่งแวดล้อมรวมถึงการพัฒนาเรื่องของห้องน้ำให้สะอาด

มีการดำเนินการพัฒนาอาคารสถานที่ห้องน้ำให้ถูกสุขลักษณะและเข้าประกวดเพื่อขอรับรางวัลในระดับประเทศต่อไปและเป็นต้นแบบเพื่อพัฒนาสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

การตรวจสุขภาพนักเรียน

มีการดำเนินการโดยโรงเรียนร่วมกับโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชจอมบึงดำเนินการบริการด้านสุขภาพช่องปากเพื่อดูแลด้านฟันของนักเรียนร่วมถึงสุขภาพของร่างกาย

จัดทำฐานข้อมูลออนไล เพื่อสะวดกในการใช้ข้อมูลและพัฒนาเป็นแหล่งข้อมูลของสถานศึกษาในการพัฒนาสุขภาพของนักเรียนต่อไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

การจัดการเรียนรู้บูรณาการ เกษตรสหกรณ์อาหารและสุขภาพอนามัยของนักเรียน

มีการจัดการเรียนการสอนโดยบูรณาการวิชาต่าง ๆให้เชื่อมโยงความรู้จากกิจกรรม เกษตรสหกรณ์อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัยโดยให้ครูจัดการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้มีการประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้เกิดประสิทธิภาพ

จัดทำแผนการสอนออนไลเพื่อเป็นแหล่งข้อมูลให้กับครูและบุคลากรในการจัดการเรียนการสอนสะดวกรวดเร็วในการใช้งานและสามารถลดภาระงานของครูได้อย่างเป็นระบบ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

โรงเรียนอนุบาลจอมบึงได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่าง ๆ ในการพัฒนาสถานศึกษา เช่น วัดจอมบึง อำเภอจอมบึงสวนรุกขชาติถ้ำจอมพลการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคอำเภอจอมบึงเกษตรอำเภอจอมบึงมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงผู้ปกครองนักเรียน ให้ความร่วมมือในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน ในกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียนทำให้โรงเรียนประสบความสำเร็จในการพัฒนางานจนเป็นแหล่งงเรียนรู้ของหน่วยงานภายนอกและชุมชน

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

โรงเรียนอนุบาลจอมบึงได้รับความร่วมมือจากองค์กรภายนอกต่าง ๆให้การสนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของโรงเรียน

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

โรงเรียนอนุบาลจอมบึงมีทีมบุคลากรที่เข้มแข็งและพร้อมที่จะพัฒนาตนเองพัฒนางานเพื่อให้โรงเรียนฯประสบความสำเร็จโดยมีจุดหมายเดียวกันคือ การพัฒนานักเรียนให้มีสุขภาพอนามัยมีความรู้ความสามารถสมวัย โดยมีวิธีการต่าง ๆ ในการจัดการเรียนรู้

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

มีการเรียนรู้ร่วมกันในกิจกรรมต่าง ๆ ที่โรงเรียนได้ดำเนินการแบ่งตามกิจกรรมและครูผู้รับผิดชอบเป็นผู้ดูแลการจัดกิจกรรมต่าง ๆ

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนสนับสนุนส่งเสริมการเรียนรู้ในด้านต่าง ๆ ในโครงการเด็กไทยแก้มใสฯ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

มีการปลูกพืชกินใบตามแต่ละชั้นที่รับผิดชอบ

บันทึกการดำเนินกิจกรรมแต่ละชั้น

ขยายพื้นที่ในการเพาะปลูกเนื่องจากโรงเรียนมีเนื้อที่จำกัดอาจทำให้การเพาะปลูกไม่เพียงพอต่อการบริโภค

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

การเลี้ยงไก่ไข่

มีการเลี้ยงไก่ไข่เพื่อนำไข่ไก่มาใช้ในโครงการ อาหารกล่างวันของโรงเรียน

ขยายพื้นที่การเลี้ยงไก่ไข่เพื่อให้เพียงพอต่อการบริโภคของนักเรียนในแต่ละวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

การบริการอาหารว่าง

การจัดอาหารว่างซึ่งเป็นผลไม้ให้กับนักเรียนจำนวน3วัน

จัดให้นักเรียนบริโภคอาหารที่เป็นผักมากขึ้นและจัดผลไม้ให้นักเรียนรับประทาน5วัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

การบริการอาหารว่าง

การจัดอาหารว่างซึ่งเป็นผลไม้ให้กับนักเรียนจำนวน3วัน

จัดให้นักเรียนบริโภคอาหารที่เป็นผักมากขึ้นและจัดผลไม้ให้นักเรียนรับประทาน5วัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

การจัดซื้ออาหารจากตลาด

อาหารจากตลาดที่ผักและผลไม้ปลอดสารพิษ

โรงเรียนติดต่อกับผู้ขายโดยตรงโดยไม่ผ่านคนกลางในการจัดซื้อผักผลไม้ที่ปลอดสารพิษอย่างแท้จริง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

การใช้โปรแกรม ThaiSchoolLunch

แบบบันทึกรายการอาหาร ThaiSchoolLunch

พัฒนาให้นักเรียนเป็นผู้คิดเมนูอาหารในแต่ละวันแล้วนำเสนอครูผู้รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

การตรวจสุขภาวะโภชนาการ

บันทึกการเจริญเติบโตของนักเรียน

จัดทำบันทึกการเจริญเติบโตแบบออนไลเพื่อเป็นฐานข้อมูลในการพัฒนาต่อไป

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/2
เตี้ย 4.31 4.31% 3.12 3.12% 3.43 3.43% 3.35 3.35% 2.92 2.92% 2.46 2.46% 3.45 3.45% 3.68 3.68% 3.81 3.81% 2.81 2.81%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 10.78 10.78% 7.48 7.48% 8.15 8.15% 8.16 8.16% 7.52 7.52% 6.98 6.98% 9.00 9.00% 10.47 10.47% 9.42 9.42% 8.03 8.03%
ผอม 2.75 2.75% 5.42 5.42% 3.23 3.23% 5.23 5.23% 5.25 5.25% 4.56 4.56% 4.70 4.70% 4.65 4.65% 3.60 3.60% 5.79 5.79%
ผอม+ค่อนข้างผอม 7.84 7.84% 11.67 11.67% 6.88 6.88% 12.97 12.97% 13.03 13.03% 12.36 12.36% 12.41 12.41% 14.15 14.15% 9.20 9.20% 11.38 11.38%
อ้วน 6.67 6.67% 4.79 4.79% 5.38 5.38% 8.16 8.16% 8.19 8.19% 7.16 7.16% 9.02 9.02% 8.33 8.33% 9.40 9.40% 8.58 8.58%
เริ่มอ้วน+อ้วน 13.33% 13.33% 11.67% 11.67% 11.40% 11.40% 14.44% 14.44% 14.08% 14.08% 14.53% 14.53% 13.35% 13.35% 13.76% 13.76% 14.60% 14.60% 15.37% 15.37%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

การออกกำลังกายในทุกเช้า

บันทึกการมาเรียนของนักเรียน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

การจัดการอาหารเสริมในทุกเช้า

บันทึกการรับอาหารเสริมให้กับนักเรียนที่มีภาวะผอม

พัฒนาการจัดเมนูอาหารให้สามารถเพิ่มน้ำหนักกับนักเรียนได้โดยเร็ว

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

การออกกำลังกายและการบริโภคนม

การจัดให้นักเรียนบริโภคนมในช่วงบ่าย

การวัดการเจริญเติบโตระบบออนไลซึ่งนักเรียนสามารถดูพัฒนาการของตนเองได้ด้วยตนเอง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

การบันทึกภาวะทุพโภชนาการ

แบบบันทึกภาวะทุพโภชนาการ

พัฒนาระบบการจัดการอาหารให้นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการบริโภคและบันทึกพัฒนาการ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

การประชุมผู้ปกครองนักเรียน

บันทึกการประชุมผู้ปกครองนักเรียน

ให้ผู้ปกครองเสนอแนวทางในการพัฒนาแนวทางแก้ไขปัญหาด้านต่าง ๆ ของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

โรงเรียนอนุบาลจอมบึงได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่าง ๆ ในการพัฒนาสถานศึกษา เช่น วัดจอมบึง อำเภอจอมบึงสวนรุกขชาติถ้ำจอมพลการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคอำเภอจอมบึงเกษตรอำเภอจอมบึงมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงผู้ปกครองนักเรียน ให้ความร่วมมือในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน ในกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียนทำให้โรงเรียนประสบความสำเร็จในการพัฒนางานจนเป็นแหล่งงเรียนรู้ของหน่วยงานภายนอกและชุมชน

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh