ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านหนองงูเหลือม (ประชารัฐบำรุง)

รหัสโครงการ ศรร.1213-035 รหัสสัญญา 58-00-2265-ก.4 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

กิจกรรมปลูกผักและผลไม้ปลอดสารพิษ

กิจกรรมการปลูกผักและผลไม้ปลอดสารพิษนั้เป็นกิจกรรมที่นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตัวเองลงมือทำจริงทำซ้ำๆจากเดิมพื้นฐานของนักเรียนบางคนไม่เคยทำงานเกษตรมาก่อนเลยเมื่อนักเรียนได้ทำก็ก่อให้เกิดความรู้และทักษะเป็นองค์ความรู้ที่ติดตัวนักเรียนไปเป็นการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญอีกทั้งยังเป็นแหล่งเรียนรู้ของนักเรียนชั้นอื่นๆในโรงเรียน

ขยายพื้นที่ในการปลูกผักผลไม้มีการจัดแปลงหรือสถานที่ปลูกให้เป็นสถานที่พักผ่อนของนักเรียนและประดับตบแต่งเป็นสวนผักที่ร่มรื่นนักเรียนที่มาเรียนก็มีความสุขจะทำสวนผักให้เป็นห้องเรียน แบบวิถีธรรมชาติเน้นความพอเพียงเรียบง่ายเป็นแหล่งเรียนรู้การเกษตรแบบครบวงจรโดยให้นักเรียนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการอย่างสร้างสรรค์โดยมีคุณครูเ)ป็นผู้ให้คำแนะนำและที่ปรึกษา

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

กิจกรรมสวัสดิการร้านค้า

  • ให้นักเรียนร่วมเป็นสมาชิกสวัสดิการร้านค้าของโรงเรียนทุกคน
  • จัดสวัสดิการร้านค้าโรงเรียนให้เป็นแหล่งเรียนรู้สหกรณ์ในโรงเรียน

จัดกิจกรรมนี้อย่างต่อเนื่องเพราะเป็นกิจกรรมที่ดีทำให้นักเรียนเกิดความตระหนักในการใช้จ่ายอย่างประหยัด

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

การให้นักเรียนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดบริการอาหารกลางวันโดยมีการสำรวจรายการอาหารที่นักเรียนส่วนใหญ่ชื่นชอบแลัวนำมาจัดโดยใช้โปรแกรมThai school lunch

ให้ครูประจำชั้นรวบรวมชื่ออาหารที่นักเรียนชอบแล้วนำมาสรุปส่งให้คุณครูด้านอาหารกลางวันเพื่อสรุปเป็นข้อมูลต่อไป

จัดอาหารตามความต้องการของนักเรียนเป็นลำดับ และจัดกิจกรรมตอบปํญหาที่เกี่ยวกับอาหารกลางวันของโรงเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

กิจกรรมการเต้นออกกำลังกายและการเล่นกีฬาตามอัธยาศัยของนักเรียน

จัดให้มีชมรมเต้นเพื่อสุขภาพชมรมเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพโดยมีนักเรียนที่ผ่านการอบรมมาเป็นแกนนำในการเต้นออกกำลังกาย

จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องให้เด็กได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆที่ได้รับมอบหมาย

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน
  • กิจกรรมการทำท่าทางประกอบเพลงล้างมือ
  • กิจกรรมประกวดฟันสวยสุขภาพดี

-จัดกิจกรรมโดยใหันักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมโดยครูประจำชั้น คัดเลือกทีมที่ชนะระดับห้องเรียนมาประกวดกับห้องอื่นๆ

จัดกิจกรรมนี้อย่างต่อเนื่องเพราะเป็นกิจกรรมที่ทำให้นักเรียนเกิดความตระหนักในการพัฒนาดูแลอนามัยส่วนบุคคลและส่งเสริมสุขนิสัยที่ดีในการชีวิตประจำวันจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนาต่อไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

กิจกรรมการทำน้ำยาอเนกประสงค์และการทำสบู่เสริมสมุนไพร

หลังจากจัดกิจกรรมอบรมไปแล้วนั้นทำให้นักเรียนเกิดความตระหนักในการรักษาความสะอาดสถานที่ต่างๆเช่น ห้องน้ำห้องส้วมและได้ความรู้ในการทำผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัยและประหยัด

จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องโดยให้นักเรียนที่ผ่านการอบรมเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ให้กัรุ่นน้องโดยครูเป็นที่ปรึกษาในการทำกิจกรรม

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

จัดกิจกรรมพี่สอนน้องให้ความรู้ด้านสุขภาพขั้นพื้นฐานให้กับนักเรียนที่เด็กกว่ารวมถึงการดูแลเกี่ยวกับสุขภาพเช่นการตรวจมือเสื้อผ้ากำจัดเหา การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ เป็นต้น

-จัดให้มีชมรม อ.ย. น้อยให้ความรู้ด้านสุขภาพขั้นพื้นฐานที่นักเรียนต้องรู้และสามารถนำไปถ่ายทอดได้ปฏิบัติได้
-จัดให้มีการออกกำลังกาย กีฬาสี มีการบริการด้านสุขภาพ การตรวจวัดสายตา การตรวจรัษาฟัน

พัฒนาชมรมให้เข้มแข็งมากยิ่งขึ้นและสร้างขวัญกำลังใจให้การสนับสนุนอย่างใกล้ชิด

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

จัดฐานการเรียนรู้บูรณาการเกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

  • จัดเป็นฐานเรียนรู้การแปรรูปอาหารจากผลผลิตการเกษตร ได้แก่ เห็ดสามรส เห็ดหยอง
  • ผลิตภัณฑ์จากสวนสมุนไพร ได้แก่ นำ้ยาเอนกประสงค์จากมะกรูด ยาหม่องไพล น้ำยาล้างจานจากมะกรูด สบู่เสริมสมุนไพร
  • ขยายสู่ชุมชนให้เกิดการนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ซึ่งสามารถช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนได้ และยังเป็นการหารายได้ของนักเรียนในระหว่างเรียน
  • สามารถฝึกนักเรียนให้เป็นแกนนำวิทยากรให้ความรู้กับคนในชุมชนได้
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

โรงเรียนธนาคาร

เป็นธนาคารโรงเรียนโดยประสานงานกับธนาคาร ธกส.ดังนี้

  1. ประชาสัมพันธ์ให้นักเรียนเปิดบัญชีออมทรัพย์กับโรงเรียน
  2. ส่งเสริมการใช้จ่ายอย่างประหยัดของนักเรียน
  3. สร้างความภาคภูมิใจให้กับนักเรียนและครอบครัว
  4. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการจะมีสมุดบัญชีเงินฝากทุกคน และมีสมุดบัญชีรวมของโครงการ

จัดประกวดนักออมเงินรุ่นจิ๋ว เพื่อสร้างแรงจูงใจในการออมเงินให้กับนักเรียน

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

  • องค์การบริหารส่วนตำบล เข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน
  • โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองงูเหลือม สนับสนุนให้ความรู้การดูแลสุขภาวะ และตรวจสุขภาพนักเรียน รวมทั้งเข้าร่วมกิจกรรมที่จัด
  • ปราชญ์ชาวบ้าน เป็นวิทยาการด้านการเกษตรและเข้าร่วมกิจกรรม
  • เกษตรอำเภอให้ความรู้เรื่องการเกษตรและเข้าร่วมกิจกรรม
  • ปศุสัตว์ให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงปลา และเข้าร่วมกิจกรรม

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

สังคมโดยรอบโรงเรียนเป็นเกษตรกรที่ปลูกพืชผักหลากหลายและเป็นแหล่งเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

การเอาใจใส่ดูแลซึ่งกันและกันโดยมีท่านผู้อำนวยการเป็นผู้ให้คำปรึกษาทำงานด้วยความโปร่งใสยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นไม่มีกลไกลอะไรมาก คณะทำงานต้องไว้ใจซึ่งกันและกันมีความจริงใจต่อกัน

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

ครูต้องมีความรู้มากกว่านักเรียนและแม่ครัวโดยครูต้องศึกษาหาความรู้จากแหล่งต่างๆแล้วนำมาถ่ายทอดใหักับนักเรียนและแม่ครัว ให้คำปรึกษาแก่คณะตรูและผู้ปกครองอื่นๆส่วนนักเรียนในโรงเรียนเราต้องให้ความรู้และทักษะกระบวนการเรียนรู้อย่างหลากหลายทั้งที่นักเรียนกระทำเองและที่คุณครูจัดกระบวนการให้จนกระทั่งนักเรียนเกิดองค์ความรู้และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

จัดกิจกรรมต่างๆโดยให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในกิจกรรมนั้นๆ เช่นกิจกรรมกีฬาสีกิจกรรม เปิดบ้านวิชาการ การประชุมผู้ปกครองและบุคลากรในชุมชนที่เกี่ยวข้องในการจัดอาหารให้นักเรียน เป็นต้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

กิจกรรมปลูกผักและผลไม้ไร้สารต้านทานโรคโดยนักเรียนทุกระดับชั้นมีการปลูกผักต่างๆตามบริบทของวัยของตน

ปลูกผักที่เด็กๆชอบรับประทานรับประทานเช่นกวางตุ้งผักบุังคะน้าและพืชผักสวนครัว

เพิ่มปริมาณผลผลิตให้มากยิ่งขึ้นโดยขยายพื้นที่การเพาะปลูกให้มากขึ้นใช้ประโยชน์พื้นที่ให้มากที่ สุด

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

มีการเลี้ยงไก่ไข่อินทรีย์โดยจัดกลุ่มนักเรียนที่มีความสนใจและชอบเลี้ยงไก่ไข่มาเป็นผู้ดูแลโดยจะได้รับไข่เป็นค่าตอบแทน

มีโรงเลี้ยงไก่ไข่ตั้งแต่โครงการเด็กไทยแก้มใสปีที่1โดยใช้วัสดุที่มีอยู่แล้ว ในโรงเรียน

เลี้ยงไก่ไข่มาแล้วหนึ่งปี ปี2560 เป็นปีที่ 2

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

มีการเลี้ยงปลาชนิดเดียวที่ไม่สามารถนำมาประกอบเป็นอาหารกลางวันได้ทุกมื้อ จะนำมาทำเป็นอาหารได้เมื่อปลาที่เลี้ยงโตเต็มวัยเท่านั้น

กิจกรรมเลี้ยงปลาน้ำจืดในบ่อในบ่อซีเมนต์

สร้างความร่วมมือกับชุมชนให้เข้ามามีส่วนร่วมในการร่วมกันผลิตอาหารปลอดภัยสู่ครัวโรงเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

มีการจัดบริการอาหารกลางวันให้นักเรียนโดยจัดให้มีเมนูที่เป็นผักและผลไม้สัปดาห์ละ อย่างน้อย 3-4 วัน

เมนูจากโปรแกรม Thai School Lunch

ประยุกต์เมนูอาหารให้สอดคล้องผลไม้ตามฤดูกาลในท้องถิ่น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

มีการจัดบริการอาหารกลางวันให้นักเรียนโดยจัดให้มีเมนูที่เป็นผักและผลไม้สัปดาห์ละ อย่างน้อย 3-4 วัน

เมนูจากโปรแกรม Thai School Lunch

ประยุกต์เมนูอาหารให้สอดคล้องผลไม้ตามฤดูกาลในท้องถิ่น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

มีการจัดบริการอาหารกลางวันให้นักเรียนโดยจัดให้มีเมนูที่เป็นผักและผลไม้สัปดาห์ละ อย่างน้อย 3-4 วัน

เมนูจากโปรแกรม Thai School Lunch

ประยุกต์เมนูอาหารให้สอดคล้องผลไม้ตามฤดูกาลในท้องถิ่น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

มีเกษตรกรที่ให้ความร่วมมือกับโรงเรียนโดยเชิญครูและนักเรียนเข้าร่วมอบรมให้ความรู้ในเรื่องการเกษตรตามรอยพระบาทยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงที่ศุนย์เรียนรู้ปลักไม้ลาย

รูปภาพกิจกรรม ใบประกาศนียบัตร

ขยายความร่วมกับเกษตรกรที่ผลิดอาหารปลอดสารพิษในชุมชนเพื่อขยายพื้นที่เพาะปลูกพืชผักปลอดสารพิษในโรงเรียนให้มากยิ่งขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

การใช้โปรแกรม Thai School Lunch จัดเมนูอาหารให้กับนักเรียนทุกระดับชั้นตามหลักโภชนาการ

รายการเมนูอาหารจากโปรแกรม Thai School Lunch

ส่งเสริมให้นร.นำเมนูอาหารจากโปรแกรม Thai School Lunch มาใช้ที่บ้าน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงของนร.เทอมละ 2 ครั้ง ต้นเทอมกับปลอดภัย

รายงานการชั่งน้ำหนักและส่วนสูง

นำผลที่ได้มาสรุปและติดตามภาวะโภชนาการอย่างต่อเนื่อง และวางแผนแก้ปัญหานร.ที่มีภาวะทุพโภชนาการ

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/2
เตี้ย 2.48 2.48% 0.38 0.38% 1.36 1.36% 3.10 3.10% 2.89 2.89% 2.69 2.69%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 7.66 7.66% 4.40 4.40% 11.31 11.31% 7.23 7.23% 6.82 6.82% 6.40 6.40%
ผอม 5.17 5.17% 1.15 1.15% 0.58 0.58% 9.09 9.09% 6.20 6.20% 5.99 5.99%
ผอม+ค่อนข้างผอม 14.67 14.67% 12.02 12.02% 12.67 12.67% 17.15 17.15% 13.02 13.02% 11.78 11.78%
อ้วน 7.02 7.02% 2.48 2.48% 2.73 2.73% 6.61 6.61% 6.40 6.40% 5.99 5.99%
เริ่มอ้วน+อ้วน 14.46% 14.46% 5.34% 5.34% 6.63% 6.63% 12.81% 12.81% 10.33% 10.33% 9.92% 9.92%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

ลดลงเล็กน้อย เนื่องจากนักเรียนส่วนใหญ่ยังไม่ตระหนักในการบริโภคอาหาร

รายงานสถานการณ์ภาวะโภชนาการ

ส่งเสริมนร.ในกลุ่มภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

ลดลงเล็กน้อย เนื่องจากนักเรียนส่วนใหญ่ยังไม่ตระหนักในการบริโภคอาหารมากนัก

รายงานสถานการณ์ภาวะโภชนาการ

ส่งเสริมนร.ในกลุ่มภาวะค่อนข้างผอมและผอมได้รับอาหารตามหลักโภชนาการ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

ภาวะเตี้ยลดลงตามภาวะการเจริญเติมโตของวัย

รายงานสถานการณ์ภาวะโภชนาการ

ส่งเสริมให้นร.ดื่มนมสม่ำเสมอ รับประทานอาหารครบ 5 หมู่ในสัดส่วนที่พอเหมาะ และควรออกกำลังกายด้วยการวิ่งหรือกระโดดอย่างสม่ำเสมอ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

จ้ดกิจกรรมออกกำลังกาย และรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการแก่นักเรียน

รูปภาพ และรายงานการดำเนินกิจกรรม มีบันทึกการเช่าร่วมกิจกรรม

ส่งเสริมกิจกรรมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องและให้มีอย่างสม่ำเสมอ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

ประชุมปกครองแจ้งให้ทราบถึงภาวะโภชนาการของนร.

รายงานการดำเนินกิจกรรมมีการเข้าร่วมการประชุม มีรางานการประชุม

ส่งเสริมให้ผู้ปกครองจัดเมนูอาหารให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

  • องค์การบริหารส่วนตำบล เข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน
  • โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองงูเหลือม สนับสนุนให้ความรู้การดูแลสุขภาวะ และตรวจสุขภาพนักเรียน รวมทั้งเข้าร่วมกิจกรรมที่จัด
  • ปราชญ์ชาวบ้าน เป็นวิทยาการด้านการเกษตรและเข้าร่วมกิจกรรม
  • เกษตรอำเภอให้ความรู้เรื่องการเกษตรและเข้าร่วมกิจกรรม
  • ปศุสัตว์ให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงปลา และเข้าร่วมกิจกรรม

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh