แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ โรงเรียนชุมชนใหม่

ชุมชน ม.8 ตำบลไทยบุรี อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช

รหัสโครงการ ศรร.1412-096 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ต.13

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน พฤษภาคม 2559 ถึงเดือน กันยายน 2559

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การปลูกพืช ผัก ไม้ผล เกษตรอินทรีย์แบบผสมผสาน

วันที่ 2 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

นักเรียนครูบุคลากร ผู้ปกครอง และชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมการเกษตรในโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการเตรียมดิน การปลูก การดูแลรักษา การใส่ปุ๋ย การขยายพันธ์พืช การให้น้ำ การกำจัดวัชพืชศัตรูพืช การดูแลใส่ปุ๋ยหมักชีวภาพ การเก็บเกี่ยวผลผลิตและจำหน่ายผักเกษตรอินทรีย์
  2. นักเรียนได้จัดตั้งกลุ่มยุวเกษตรการปลูกพืช ผัก เกษตรอินทรีย์ในโรงเรียน
  3. เป็นแหล่งเรียนรู้และนำผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวัน
  4. นักเรียนมีความรับผิดชอบ มีความซื่อสัตย์สุจริต
  5. นักเรียนมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. อบรมนักเรียนให้ความรู้การเตรียมดิน การทำปุ๋ยหมัก การปลูก การดูแลรักษา การใส่ปุ๋ย การขยายพันธ์พืช การเก็บเกี่ยวผลผลิตพืช ผัก ผลไม้้ เกษตรอินทรีย์บผสแบมผสาน
  2. ให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ได้แก่ การเตรียมดิน การปลูกผัก เช่นผักบุ้ง กว้างตุ้ง คะน้า มะเขือ ผักกาด ถั่วฝักยาว ถั่วพลู การปลูกผักเขลียง การทำปุ๋ยหมัก การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีต่อยอด เช่น มะเขือ
  3. การดูแลรักษาระหว่างปลูก เช่น การใส่ปุ๋ย การให้น้ำ การกำจัดวัชพืชศัตรูพืช การดูแลปุ๋ยหมักชีวภาพ เช่น การพลิกปุ๋ย การให้น้ำ
  4. การเก็บเกี่ยวผลผลิตและสรุปกิจกรรมตามแผน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. อบรมนักเรียนให้ความรู้การเตรียมดิน การปลูก การดูแลรักษา การใส่ปุ๋ย การขยายพันธ์พืช การเก็บเกี่ยวผลผลิตพืช ผักเกษตรอินทรีย์แบบผสมผสาน
  2. ให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ได้แก่ การเตรียมดิน การปลูกผัก เช่นผักบุ้ง กว้างตุ้ง คะน้า มะเขือ ผักกาด ถั่วฝักยาว ถั่วพลู การปลูกผักเขลียงการ ขยายพันธุ์พืชโดยวิธีต่อยอด เช่น มะเขือ
  3. การดูแลรักษาระหว่างปลูก เช่น การใส่ปุ๋ย การให้น้ำ การกำจัดวัชพืชศัตรูพืช การดูแลปุ๋ยหมักชีวภาพ เช่น การพลิกปุ๋ย การให้น้ำ
  4. การเก็บเกี่ยวผลผลิตและจำหน่าย

 

35 104

2. การทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพและปุ๋ยหมัก

วันที่ 9 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

นักเรียนครูบุคลากร ผู้ปกครอง และชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมการเกษตรในโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. นักเรียนมีความรู้ มีทักษะ ในการทำปุ๋ยหมักน้ำชีวภาพและปุ๋ยหมัก
  2. นักเรียนได้จัดตั้งกลุ่มยุวเกษตรกรการทำปุ๋ยหมักน้ำชีวภาพและปุ๋ยหมักในนโรงเรียน
  3. เป็นแหล่งเรียนรู้
  4. นำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปประกอบอาชีพในอนาคต
  5. ได้ผลที่คุ้มค่า ประหยัด ปลอดภัย เนื่องจากนำเศษวัสดุ ปุ๋ยคอก เศษผัก เศษผลไม้ ที่เหลือใช้มาทำปุ๋ยหมักน้ำชีวภาพและปุ๋ยหมัก
  6. นักเรียนมีความรู้ มีทักษะ ในการทำปุ๋ยหมักน้ำชีวภาพและปุ๋ยหมัก ไปเผยแพร่ และขยายผลต่อชุมชน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. อบรมให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับการทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพและปุ๋ยหมัก
  2. การเตรียมสถานที่และ อุปกรณ์การทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพและปุ๋ยหมักและท่อซิเม็นต์ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1เมตร จำนวน 6 ลูก ถังน้ำขนาดบบจุ 200ลิตร
  3. เตรียมวัสดุที่ใช้ในการทำปุ๋ยหมัก เช่น ทะลายปาล์มน้ำมัน เศษหญ้าเศษผักใบไม้แห้งขุ๋ยมะพร้าว ปุ๋ยคอก กากน้ำตาล
  4. สาธิตการทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพและปุ๋ยหมัก
  5. ให้นักเรียนปฎิบัติการทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. อบรมให้ความรู้และปฏิบัติแก่นักเรียนเกี่ยวกับการทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพและปุ๋ยหมัก ตามลำดับขั้นตอนดังนี้
  2. การทำปุ๋ยน้ำชีวภาพเตรียมวัสดุอุปกรณ์ ได้แก่ เศษผัก เศษอาหารกลางวัน กากน้ำตาลและอีเอ็ม นำมาผสมกันด้วยอัตราส่วนผัก เศษผักเศษอาหาร 3 กิโลกรัม ต่อกากน้ำตาล 1 กิโลกรัม ทิ้งไว้ประมาณ2 สัปดาห์ก็นำมาใช้ได้
  3. การเตรียมสถานที่และ อุปกรณ์การทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพและปุ๋ยหมัก เตรียมวัสดุที่ใช้ในการทำปุ๋ยหมัก เช่น ทะลายปาล์มน้ำมัน เศษหญ้า เศษใบไม้แห้ง ผัก ขุ๋ยมะพร้าว ปุ๋ยคอกนำวัสดุมาผสมกันด้วยอัตราส่วน มูลวัว 1ส่วน เศษหญ้าแห้ง ทะลายปาล์มน้ำมัน 1 ส่วน ขุ๋ยมะพร้าม 1 ส่วน รดด้วยน้ำหมักปุ๋ยชีวภาพ พลิกปุ๋ยด้วยน้ำหมักชีวภาพ สัปดาห์ละครั้งทิ้งไว้ประมาณ 3-4 สัปดาห์ ก็สามารถนำมาใช้ได้

 

35 68

3. การเพาะเห็ดและการเพาะถั่วงอก

วันที่ 23 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

นักเรียนครูบุคลากร ผู้ปกครอง และชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมการเกษตรในโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการเพาะเห็ดนางฟ้า ได้แก่ การพักก้อนเชื้อ การวางก้อนเชื้อ การรดน้ำ การเก็บเห็ด การดูแลรักษา การป้องกันเชื้อราที่เกิดขึ้นในก้อนเชื้อ การกำจัดศัตรูที่มาทำลายก้อนเห็ด การทำโรงเรีอน การจำหน่ายเห็ด
    2.นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการเพาะถั่วงอก ได้แก่ การเพาะ การให้น้ำ การวางถั่วงอก ระยะเวลาการเพาะ
  2. นักเรียนได้จัดตั้งกลุ่มยุวเกษตรกรการเพาะเห็ดนางฟ้าและเพาะถั่วงอกในนโรงเรียน
  3. เป็นแหล่งเรียนรู้และนำผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวัน
  4. นำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปประกอบอาชีพในอนาคต
  5. นักเรียนมีความรับผิดชอบและมีความซื่อสัตย์สุจริต

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเพาะเห็ดนางฟ้า ได้แก่ การพักก้อนเชื้อ การวางก้อนเชื้อ การรดน้ำ การเก็บเห็ด การดูแลรักษา การจำหน่ายเห็ด และการเพาะถั่วงอก ได้แก่ การเพาะ การให้น้ำ การวางถั่วงอก ระยะเวลาการเพาะ
  2. การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ ได้แก่ กะลามัง โรงเรือน ผ้าสำหรับปิดคลุมถั่วงอก ถั่วเขียว ก้อนเชื้อเห็ดนางฟ้า
  3. อธิบายและสาธิตเกี่่ยวกับการเพาะเห็ดนางฟ้าและการเพาะถั่วงอก
  4. ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติจริง
  5. นักเรียนร่วมกันสรุปและและแสดงผลงาน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. อบรมให้ความรู้และปฏิบัติเกี่ยวกับการเพาะเห็ดนางฟ้าและการเพาะถั่วงอก ได้แก่ การพักก้อนเชื้อ การวางก้อนเชื้อ การรดน้ำ การเก็บเห็ด การดูแลรักษา การจำหน่ายเห็ด และการเพาะถั่วงอก ได้แก่ การเพาะ การให้น้ำ การวางถั่วงอก ระยะเวลาการเพาะ
  2. การเตรียมวัสดุอุปกรณ์การเพาะเห็ดนางฟ้า ได้แก่ โรงเรือน ก้อนเชื้อ สายยาง ช้อน การเตรียมวัสดุอุปกรณ์การเพาะถั่วงอก ได้แก่ กะลามัง โรงเรือน ผ้าสำหรับปิดคลุมถั่วงอก ถั่วเขียว
  3. ขั้ตอนการปฏิบัติเพาะเห็ดนางฟ้า นำก้อนเชื้อไปบ่มไว้ในโรงเรือน เมื่อเชื้อวิ่งเต็มก้อนเชื้อซึ่งใช้เวลาประมาณ 25-28 วัน ก็เปิดฝาจุกรดน้ำวันละ 3 ครั้ง ประมาณ 3-5 วัน เห็ดก็งอกสามารถเก็บเกี่ยวได้และขั้นตอนการเพาะถั่วงอก นำถั่วเขียวไปวางเพื่อเพาะเป็นชั้นๆ ตามต้องการด้วยกะละมังหรือถังโดยเจาะรูเพื่อไม่ให้น้ำขังได้ และรองด้วยผ้าปิดคลุมรดน้ำทุกๆ 3 ชั่วโมง ใช้เวลา 2-3 วันก็นำไปจำหน่ายได้แล้ว
  4. นักเรียนร่วมกันสรุปและและแสดงผลงาน

 

35 47

4. การเลี้ยงกบ,การเลี้ยงปลาไหลในสวนปาล์มและสวนฝรั่ง

วันที่ 18 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

นักเรียนครูบุคลากร ผู้ปกครอง และชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมการเกษตรในโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการคัดเลือกพันธุ์ อาหาร การทำความสะอาดบ่อ การดูแล การคัดไซส์ การเปลี่ยนถ่ายน้ำ การป้องกันโรค การจำหน่าย
  2. นักเรียนได้จัดตั้งกลุ่มยุวเกษตรกรในการเลี้ยงกบเลี้ยงปลาไหล
  3. เป็นแหล่งเรียนรู้และนำผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวัน
  4. นักเรียนนำความรู้ ประสบการณ์ที่ได้รับนำไปใช้ในการประกอบอาชีพ
  5. นักเรียนมีความรับผิดชอบ และความซื่อสัตย์สุจริต

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. อบรมให้ความรู้ในการเลี้ยงกบการเลี้ยงปลาไหลในสวนปาล์มและสวนฝรั่ง
  2. เตรียมสถานที่และวัสดุที่ใช้ในการเลี้ยงกบการเลี้ยงปลาไหลในสวนปาล์มและสวนฝรั่ง เช่น ดิน หยวกกล้วย ท่อพีวีซีเตรียมกบ ปลาไหล อาหารกบ และอาหารปลาไหล เช่น ปลา
  3. อธิบายและสาธิตการเลี้ยงกบการเลี้ยงปลาไหลในสวนปาล์มและสวนฝรั่ง
  4. ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติจริงตามกระบวนการ
  5. นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปผลการเลี้ยงกบการเลี้ยงปลาไหลในสวนปาล์มและสวนฝรั่ง

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. การเลี้ยงกบ 1.1 วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ ได้แก่ กบ อาหารกบ ปล้องบ่อ 1.2 เตรียมสถานที่เลี้ยงด้วยการวางปล้องบ่อและฝาปิดสำหรับเลี้ยงกบ 1.3 นำลูกกบตัวเล็กมาปล่อยให้อาหารวันละ 3 ครั้ง
  2. การเลี้ยงปลาไหล 2.1 วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ ได้แก่ ลูกปลาไหล บ่อซิเมนต์ถมดิน ท่อพีวีซ๊ หยวกกล้วย เศษปลา 2.2 เตรียมสถานที่เลี้ยงปลาไหลด้วยการถมดินในบ่อซิเมนต์เปิดน้ำขังทิ้งไว้แล้วนำหยวกกล้วยสับเป็นท่อน ท่อนละประมาณ 50 ซ.ม. หลายๆท่อนแช่ไว้ประมาณ 45 วัน เมื่อน้ำใสก็ปล่อยลูกปลาไหลลงในบ่อ 2.3 นำลูกปลาไหลมาปล่อยลงในบ่อที่เตรียมเอาไว้ให้อาหาร 5-7 วันต่อครั้ง ประมาณ 5-ุุ6 เดือนก็สามารถนำไปจำหน่ายได้

 

35 45

5. บ้านนี้มีรักปลูกผักกินเอง

วันที่ 20 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

นักเรียนครูบุคลากร ผู้ปกครอง และชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมการเกษตรในโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการเตรียมดิน การปลูก การดูแลรักษา การใส่ปุ๋ย การขยายพันธ์ุพืช การให้น้ำ การกำจัดวัชพืชศัตรูพืช การดูแลใส่ปุ๋ยหมักชีวภาพ การเก็บเกี่ยวผลผลิตและจำหน่ายผัก 2.ส่งเสริมอาชีพให้กับนักเรียน และนักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียน
  2. เป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชนและนำผลผลิตมาประกอบอาหารในครัวเรือนและจำหน่ายแก่สหกรณ์นักเรียนและชุมชน
  3. สร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างโรงเรียนและชุมชน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ชี้แจงทำความเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ของกิจกรรมบ้านนี้มีรักปลูกผักกินเองกับผู้ปกครองและนักเรียนที่สนใจ
  2. ให้ความรู้เกี่ยวกับ การเตรียมดิน การทำปุ๋ยหมัก การปลูก การดูแลรักษา การใส่ปุ๋ย การขยายพันธ์พืช การเก็บเกี่ยวผลผลิตพืช ผัก
  3. แจกเมล็ดพันธุ์พึชให้แก่ผู้ปกครองและนักเรียนเพื่อไปปลูกที่บ้านเมื่อได้ผลผลิตที่เหลือจากการบริโภคในครัวเรือนแล้วให้เอามาจำหหน่ายให้กับสหกรณ์นักเรียน สหกรณ์นักเรียนจำหน่ายให้โครงการอาหารกลางวันต่อไป
  4. เยี่ยมบ้าน ดูแล ช่วยเหลือ ให้กำลังใจ 5. สรุปผลงาน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. อบรมให้ความรู้และปฏิบัติชี้แจงทำความเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ของกิจกรรมบ้านนี้มีรักปลูกผักกินเองกับผู้ปกครองและนักเรียนที่สนใจ
  2. อธิบาย สาธิตและปฏิบัติเกี่ยวกับ การเตรียมดิน การทำปุ๋ยหมัก การปลูก การดูแลรักษา การใส่ปุ๋ย การขยายพันธ์พืช การเก็บเกี่ยวผลผลิตพืช ผัก
  3. แจกเมล็ดพันธุ์พึช และต้นพันธุ์พืชที่โรงเรียนได้เพาะไว้ให้ให้แก่ผู้ปกครองและนักเรียนเพื่อไปปลูกที่บ้านเมื่อได้ผลผลิตที่เหลือจากการบริโภคในครัวเรือนแล้วให้เอามาจำหหน่ายให้กับสหกรณ์นักเรียน สหกรณ์นักเรียนจำหน่ายให้โครงการอาหารกลางวันต่อไป
  4. เยี่ยมบ้าน ดูแล ช่วยเหลือ ให้กำลังใจ

 

25 50

6. การเลี้ยงไก่ไข่และเป็ดไข่

วันที่ 5 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

นักเรียนครูบุคลากร ผู้ปกครอง และชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมการเกษตรในโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการเลี้ยงไก่ไข่และเป็ดไข่ ได้แก่ การดูแลรักษา การให้อาหาร ลักษณะของโรงเรือน อุปกรณ์ที่ใช้ในโรงเรือน การทำความสะอาดโรงเรือน ภาชนะและอุปกรณ์ต่างๆ การให้วัคซีน การเก็บไข่
  2. นักเรียนได้จัดตั้งกลุ่มยุวเกษตรในการเลี้ยงไก่ไข่และเป็ดไข่ในโรงเรียน
  3. เป็นแหล่งเรียนรู้และนำผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวัน
  4. นำไปประกอบอาชีพที่บ้านมีรายได้ระหว่างเรียน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ประชุมชี้แจง ครูผู้เกี่ยวข้อง
  2. ปฏิบัติตามแผนการเลี้ยงเป็ดไข่ การเลี้ยงไก่ไข่
  3. ปรับปรุงแก้ไข
  4. ปรเมินผล

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. อบรมนักเรียนให้ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงเป็ดไข่ การเลี้ยงไก่ไข่ การดูแลรักษา การให้อาหาร ลักษณะของโรงเรือน อุปกรณ์ที่ใช้ในโรงเรือน การทำความสะอาดโรงเรือน ภาชนะและอุปกรณ์ต่างๆ การให้วัคซีน การเก็บไข่
  2. ให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ได้แก่ การนำเป็ดไว้ในโรงเรือน การนำไก่ไข่ไว้ในกรง การให้อาหาร อุปกรณ์ที่ใช้ในโรงเรือน การทำความสะอาดโรงเรือน การเก็บไข่
  3. การดูแลรักษา เช่น การล้างโรงเรือน การให้น้ำ การทำความสะอาดภาชนะและอุปกรณ์ต่างๆการให้วัคซีน4.การจำหน่ายผลผลิต

 

65 78

7. จัดทำป้ายกิจกรรมศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส

วันที่ 6 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

โรงเรียนชุมชนใหม่ มีป้ายสื่อสารประชาสัมพันธ์กิจกรรมการเกษตรในโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. นักเรียนได้รู้จักกิจกรรมฐานการเรียนรู้แต่ละฐานตามโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส 2. นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อกิจกรรมการเรียนรู้ตามโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
3. นักเรียนได้มีความรู้ มีทักษะ ลำดับขั้นตอน กระบวนการทำงานตามโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส 4. นักเรียนนำความรู้ที่ได้รับจากป้ายกิจกรรมฐานการเรียนและประชาสัมพันธ์ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ประชุมชี้แจง ครูผู้เกี่ยวข้อง 2. ปฏิบัติตามแผนทำป้ายกิจกรรมฐานการเรียนและประชาสัมพันธ์ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส3. ปรับปรุงแก้ไข 4. ปรเมินผล

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ประชุมครูผู้รับผิดชอบและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง 2. กำหนดรูปแบบป้ายกิจกรรม จำนวน และขนาด 3. จัดทำป้ายการเรียนรู้แต่ละฐาน  4. นำป้ายไปติดตั้งตามฐานการเรียนรู้แต่ละกิจกรรม

 

20 64

8. การเลี้ยงปลาในบ่อดินและในกระชัง

วันที่ 15 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

นักเรียนครูบุคลากร ผู้ปกครอง และชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมการเกษตรในโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการเลี้ยงปลาในบ่อดินและในกระชัง ได้แก่ การคัดเลือกพันธุ์ปลา การทำกระชังปลา อัตราการปล่อยปลา การให้อาหาร การถ่ายเทน้ำ การป้องกันโรคของปลา การจับปลา การจำหน่าย การดูแลรักษา
  2. นักเรียนได้จัดตั้งกลุ่มยุวเกษตรกรในการเลี้ยงปลาในบ่อดินและในกระชัง
  3. เป็นแหล่งเรียนรู้และนำผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวัน
  4. นักเรียนนำความรู้ ประสบการณ์ที่ได้รับนำไปใช้ในการประกอบอาชีพ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ประชุมชี้แจง ครูผู้เกี่ยวข้อง 2. ปฏิบัติตามแผน3. กำกับ ดูแล ติดตาม ปรับปรุงแก้ไข 4. ปรเมินผล

กิจกรรมที่ทำจริง

1.อบรมให้ความรู้ในการเลี้ยงปลาในบ่อดินและในกระชัง  2. เตรียมสถานที่ อุปกรณ์ และวัสดุที่ใช้ในการเลี้ยงปลาในบ่อดินและในกระชัง  อาหารการเลี้ยงปลาในบ่อดินและในกระชัง  3. อธิบายและสาธิตการเลี้ยงปลาในบ่อดินและในกระชัง  4. ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติจริงตามกระบวนการ 5. นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปผลการเลี้ยงปลาในบ่อดินและในกระชัง

 

35 45

9. อบรมผู้นำนักเรียน แม่ครัว แม่ค้า ผู้ปกครองนักเรียน ครู

วันที่ 22 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

นักเรียน แม่ครัว แม่ค้า ผู้ปกครองนักเรียน ครู เป็นผู้นำที่มีความรู้ความเข้าใจเรื่องสุขภาพอนามัย 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. นักเรียนนำความรู้และทักษะในการเลือกซื้ออาหาร ผัก และผลไม้ ส่งผลให้นักเรียนมีสุขภาพสมบูณ์ แข็งแรงดี
  2. ผู้นำนักเรียนนำความรู้และทักษะในการตรวจสุขภาพด้วยตนเองและนักเรียนคนอื่นๆได้
  3. นักเรียนมีพฤติกรรมที่ดีในการเลือกซื้ออาหารที่ปลอดภัยและถูกหลักอนามัย
  4. นักเรียนมีช่องปากฟัน มือ ที่สะอาด และไม่เป็นเหา
  5. นักเรียนมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ประชุมชี้แจง ครูผู้เกี่ยวข้อง
  2. ปฏิบัติตามแผนอบรมผู้นำนักเรียน แม่ครัว แม่ค้า ผู้ปกครองนักเรียน ครู
  3. กำกับ ติดตาม ปรับปรุงแก้ไข
  4. ปรเมินผล

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ลงทะเบียน
  2. พิธีเปิดอบรมอบรมผู้นำนักเรียน แม่ครัว แม่ค้า ผู้ปกครองนักเรียน
  3. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์/ทดสอบก่อนอบรม
  4. อบรมเรื่องหลักการเลือกซื้ออาหาร ผัก ผลไม้
  5. อบรมเรื่องการตรวจสุขภาพเบื้องต้น
    ึุ6. อบรมเรื่องอาหารปลอดภัยและถูกหลักอนามัย
  6. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
  7. ให้ความรู้และฝึกปฏิบัติ การล้างมือ 7 ขั้นตอน การแปรงฟันที่ถูกวิธี การกำจัดเหา ปฐมพยาบาลเบื้องต้น
  8. ทดสอบหลังอบรม/พิธีปิดหลังการอบรม

 

20 42

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 17 9                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 145,000.00 80,420.00                  
คุณภาพกิจกรรม 36 33                  

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. พัฒนาบุคลากร ประชุมงวดที่ 1 ( 13 ต.ค. 2559 )
  2. ทำโครงเหล็กคิดป้ายประชาสัมพันธ์ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ( 21 ต.ค. 2559 )
  3. ประชุมสัญจรครั้งที2 ที่โรงเรียนชุมชนใหม่(เจ้าภาพ) ( 24 ต.ค. 2559 - 28 ต.ค. 2559 )
  4. จัดทำเมนูอาหารกลางวัน ( 1 พ.ย. 2559 )
  5. อบรมผู้นำนักเรียนโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ( 18 ก.พ. 2560 )
  6. อบรมศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสโรงเรียนชุมชนใหม่ และโรงเรียนเครือข่าย ( 25 ก.พ. 2560 )
  7. คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ ( 3 เม.ย. 2560 - 4 เม.ย. 2560 )
  8. พัฒนาบุคลากรประชุมงวดที่ 2 ( 3 เม.ย. 2560 - 4 เม.ย. 2560 )

(................................)
นายสุจินต์ สุดคิด
ผู้รับผิดชอบโครงการ