แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านบ่อหิน จังหวัดตรัง

ชุมชน หมู่ที่ 1 ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

รหัสโครงการ ศรร.1412-103 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ต.24

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน พฤษภาคม 2559 ถึงเดือน กันยายน 2559

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เชิญวิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับการผลิตปุ๋ยหมัก การเตรียมดิน

วันที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. นักเรียน จำนวน ๑๑๐ คนเข้าร่วมกิจกรรมศึกษาดูงานการปลูกผักกางมุ้ง

  2. นักเรียนทั้งหมด ครูและบุคลากรทั้งหมดในโรงเรียนผู้ปกครอง แกนนำชุมชนและคนในชุมชน ทั้งหมด จำนวน ๓๐    คนเข้าร่วมกิจกรรมการให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักกางมุ้ง

  3. นักเรียนทั้งหมด ครูและบุคลากรทั้งหมดในโรงเรียนผู้ปกครอง แกนนำชุมชนและคนในชุมชน ทั้งหมด จำนวน ๓๐    คนเข้าร่วมกิจกรรมการการผลิตปุ๋ยหมัก การเตรียมดิน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต นักเรียนและบุคลากรทั้งหมด ในโรงเรียน ผุ้ปกครอง แกนนำชุมชนและคนในชุมชน ทั้งหมดจำนวน 30 คน เข้าร่วมกิจกรรม การผลิตปุ๋ยหมัก การเตรียมดิน


ผลลัพธ์ นักเรียนสามารถทำการผลิตปุ๋ยหมักและการเตรียมดิน โดยความควบคุม ดูแลของครูผู้รับผิดชอบ 

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

วิทยากรสาธิต เชิญวิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับการผลิตปุ๋ยหมัก การเตรียมดิน 

กิจกรรมที่ทำจริง

เชิญวิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับการผลิตปุ๋ยหมัก การเตรียมดิน ให้กับนักเรียนและบุคลากร

 

15 30

2. พัฒนาสิ่งแวดล้อมรอบๆ บ่อปลา (ปลูกต้นชะอม)

วันที่ 13 มิถุนายน 2559 เวลา 14:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

นักเรียนชั้น ป.๕ จำนวน 20 คน เข้าร่วมกิจกรรจัดซื้ออาหารไก่และอาหารปลาดุก จำนวนอาหารไก่ 10 กระสอบ กระสอบละ 500 บาท รวม 5000 บาท จำนวนอาหารปลา 10 กระสอบ กระสอบละ 500 บาท รวม 5000 บาท นักเรียน ชั้น ป.๔ จำนวน ๒๕ คนเข้าร่วมกิจกรรม การเลี้ยงไก่ไข่ จำนวน 1๐๐ ตัว

นักเรียนชั้น ป.๕ จำนวน ๒๐ คน เข้าร่วมกิจกรรมการเลี้ยงปลาน้ำจืด ในบ่อดิน จำนวน ๓,๗๕๐ ตัว นักเรียนชั้น ป.๔- ป.๖ จำนวน ๗๐ คน เข้าร่วมกิจกรรม พัฒนาสิ่งแวดล้อมรอบๆ บ่อปลา (ปลูกต้นชะอม จำนวน ๓๐๐ ต้น)

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  นักเรียนชั้น ป4-6 จำนวน 70 คน เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาสิ่งแวดล้อมรอบๆ บ่อปลา (ปลูกต้นชะอม 300 ต้น) นักเรียนสามารถพัฒนาสิ่งแวดล้อมรอบๆ บ่อปลา (ปลูกต้นชะอม 300 ต้น) นำมาจัดบริการอาหารกลางวัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

เพื่อให้โรงเรียนมีสิ่งแวดล้อมที่ดี และสามารถนำมาประปอบอาหารกลางวันได้

กิจกรรมที่ทำจริง

เพื่อให้โรงเรียนมีสิ่งแวดล้อมที่ดี และสามารถนำมาประกอบอาหารกลางวันได้ นักเรียนร่วมกับครู ปลูกต้นชะอม บริเวณรอบบ่อปลาจำนวน 300 ต้น ในวันที่13/06/2016

 

64 84

3. จัดซื้อพันธุ์ปลาน้ำจืด

วันที่ 20 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

นักเรียนชั้น ป.๕ จำนวน 20 คน เข้าร่วมกิจกรรจัดซื้ออาหารไก่และอาหารปลาดุก จำนวนอาหารไก่ 10 กระสอบ กระสอบละ 500 บาท รวม 5000 บาท จำนวนอาหารปลา 10 กระสอบ กระสอบละ 500 บาท รวม 5000 บาท นักเรียน ชั้น ป.๔ จำนวน ๒๕ คนเข้าร่วมกิจกรรม การเลี้ยงไก่ไข่ จำนวน 1๐๐ ตัว

นักเรียนชั้น ป.๕ จำนวน ๒๐ คน เข้าร่วมกิจกรรมการเลี้ยงปลาน้ำจืด ในบ่อดิน จำนวน ๓,๗๕๐ ตัว นักเรียนชั้น ป.๔- ป.๖ จำนวน ๗๐ คน เข้าร่วมกิจกรรม พัฒนาสิ่งแวดล้อมรอบๆ บ่อปลา (ปลูกต้นชะอม จำนวน ๓๐๐ ต้น)

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

นักเรียนชั้น ป.5  จำนวน 20 เข้าร่วมกิจกรรมการเลี้ยงปลาน้ำจืดในบ่อดินตามจำนวนปลาที่ ครูจัดซื้อ โดยมีขั้นตอนในการดำเนินการเลี้ยงดังนี้ ครูและนักเรียนแกนนำร่วมกันแบ่งกลุ่ม สมาชิกนักเรียน ในการรับผิดชอบในด้าน การเลี้ยงดังนี้ - ให้อาหารปลาดุกในกระชังวันละ 2 ครั้ง จำนวน 200 ตัว โดยให้สัดส่วนอาหารตามตารางการให้อาหาร
- ให้อาหารปลาในบ่อดิน โดยนักเรียนให้อาหารวันละ 1 ครั้ง  ก่อนเลิกเรียน สัดส่วนการให้อาหาร นักเรียนจะให้ตามตารางที่ประมงจังหวัดตรังให้คำแนะนำ - การจับประเพื่อนำมาประกอบอาหารกลางวัน ได้รับความช่วยเหลือจากผู้ปกครองของนักเรียน

นักเรียนสามารถเลี้ยงปลากน้ำจืดในบ่อดินเพื่อใช้ในการบริการอาหารกลางวันของโรงเรียน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

จัดซื้อพันธุ์ปลาน้ำจืด เพื่ออาหารกลางวัน

กิจกรรมที่ทำจริง

ซื้อพันธุ์ปลาน้ำจืด -ลูกปลาแรด จำนวน 500  ตัว -ลูกปลาดุก จำนวน 2,000 ตัว -ลูกปลาหมอ จำนวน 1,000 ตัว -ลูกปลานิล จำนวน 690 ตัว

วิธีการ

 

12 12

4. จัดซื้ออาหารไก่

วันที่ 20 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

นักเรียนชั้น ป.๕ จำนวน 20 คน เข้าร่วมกิจกรรจัดซื้ออาหารไก่และอาหารปลาดุก จำนวนอาหารไก่ 10 กระสอบ กระสอบละ 500 บาท รวม 5000 บาท จำนวนอาหารปลา 10 กระสอบ กระสอบละ 500 บาท รวม 5000 บาท นักเรียน ชั้น ป.๔ จำนวน ๒๕ คนเข้าร่วมกิจกรรม การเลี้ยงไก่ไข่ จำนวน 1๐๐ ตัว

นักเรียนชั้น ป.๕ จำนวน ๒๐ คน เข้าร่วมกิจกรรมการเลี้ยงปลาน้ำจืด ในบ่อดิน จำนวน ๓,๗๕๐ ตัว นักเรียนชั้น ป.๔- ป.๖ จำนวน ๗๐ คน เข้าร่วมกิจกรรม พัฒนาสิ่งแวดล้อมรอบๆ บ่อปลา (ปลูกต้นชะอม จำนวน ๓๐๐ ต้น)

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

นักเรียนชั้น ป.5 จำนวน 20 คน เข้าร่วมกิจกรรม จัดซื้ออาหารไก่ 23 กระสอบ กระสอบละ 440 บาท รวม 10,120 บาท


นักเรียนดูแลให้อาหารไก่จนสามารถออกไข่  พร้อมจำหน่ายให้สหกรณ์โรงเรียนเพื่อเป็นอาหารกลางวัน และดูแลรักษาความสะอาดบริเวณที่เลี้ยงไก่

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

นักเรียนชั้น ป.๕ จำนวน 20 คน เข้าร่วมกิจกรรจัดซื้ออาหารไก่ จำนวนอาหารไก่ 10 กระสอบ กระสอบละ 500 บาท รวม 5000 บาท

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดซื้ออาหารไก่พันธ์ไข่

 

34 34

5. ซื้อพันธ์ุไก่ไข่เพิ่มเติม

วันที่ 24 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

นักเรียนชั้น ป.๕ จำนวน 20 คน เข้าร่วมกิจกรรจัดซื้ออาหารไก่และอาหารปลาดุก จำนวนอาหารไก่ 10 กระสอบ กระสอบละ 500 บาท รวม 5000 บาท จำนวนอาหารปลา 10 กระสอบ กระสอบละ 500 บาท รวม 5000 บาท นักเรียน ชั้น ป.๔ จำนวน ๒๕ คนเข้าร่วมกิจกรรม การเลี้ยงไก่ไข่ จำนวน 1๐๐ ตัว

นักเรียนชั้น ป.๕ จำนวน ๒๐ คน เข้าร่วมกิจกรรมการเลี้ยงปลาน้ำจืด ในบ่อดิน จำนวน ๓,๗๕๐ ตัว นักเรียนชั้น ป.๔- ป.๖ จำนวน ๗๐ คน เข้าร่วมกิจกรรม พัฒนาสิ่งแวดล้อมรอบๆ บ่อปลา (ปลูกต้นชะอม จำนวน ๓๐๐ ต้น)

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

นักเรียนชั้น ป4 จำนวน 25 คน เข้าร่วมกิจกรรม การเลี้ยงไก่ไข่ จำนวน 100 ตัว โดย แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบในการเลี้ยงไก่ดังนี้ 1. ให้อาหารไก่วันละ 1 ครั้ง เวลา15.00 น 2. เก็บไข่ไก่วันละ 1 ครั้งหลังจากการให้อาหารไก่ ไข่ไก่ที่ได้จะนำไปเก็บไว้ในธนาคารไข่ โดยเฉลี่ยแล้วจะได้ไข่ไก่ประมาณวันละ 70 ฟอง
3. ทำความสะอาดบริเวรโรงเรียนเลี้ยงไก่


นักเรียนสามารถเลี้ยงไก่ไข่และนำไข่มาใช้ในการประกอบอาหารกลางวันได้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

จัดซื้อพันธุ์ไก่ไข่เพื่อรองรับความต้องการที่เพิ่มขึ้นของนักเรียนและชดเชยในส่วนที่หมดสภาพไม่สามารถออกไข่ได้

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดซื้อพันธุ์ไก่ไข่เพื่อรองรับความต้องการที่เพิ่มขึ้นของนักเรียนและชดเชยในส่วนที่ไม่สามารถออกไข่ได้

 

2 31

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 16 5                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 100,000.00 40,000.00                  
คุณภาพกิจกรรม 20 18                  

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน
  • การจัดซื้อปลามีปลาตายบางส่วน
  • การจัดซื้อไก่พันธุ์ไข่ตอนแรกไก่จะตายโดยไม่ทราบสาเหตุ
  • อุปกรณ์ในการทำปุ๋ยหมักไม่เพียงพอ

 

  • จัดซื้ออุปกรณ์เพิ่มเพิม
  • ขอพันธุ์ปลาจากกรมประมง

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. การตรวจเอกสารการเงินและผลดำเนินงานปิดงวดที่1 ( 12 ต.ค. 2559 )
  2. การเลี้ยงกบ ( 6 ม.ค. 2560 )
  3. อบรมครูและนักเรียนเรื่องการปลูกผักกางมุ้ง การเลี้ยงไก่ การเลี้ยงปลาที่ถูกต้องตามหลักโภชานาการ ( 18 ก.พ. 2560 )
  4. เชิญวิทยากร จากสาธณะสุขอำเภอสิเกา มา ให้ความรู้แก่ ครูผู้รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวัน และแม่ครัว ( 20 ก.พ. 2560 )
  5. ครูและนักเรียนแกนนำศึกษาดูงานการปลูกผักกางมุ้งในชุมชน ( 21 ก.พ. 2560 )
  6. กิจกรรมเด็กไทยลดพุงลดโรค ( 24 ก.พ. 2560 - 28 ก.พ. 2560 )
  7. จัดทำ สื่อการเรียนรู้ (ป้ายไวนิลเพื่อให้ความรู้สู่ชุมชน) ( 24 ก.พ. 2560 )
  8. ซื้ออาหารปลาดุก ( 24 ก.พ. 2560 )
  9. ซื้ออาหารไก่(เพิ่มเติม) ( 29 มี.ค. 2560 )
  10. คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ ( 4 เม.ย. 2560 )
  11. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานสรุปการเงินปิดโครงการ ( 4 เม.ย. 2560 )

(................................)
นาย สุนทร ประเสริฐกุล
ผู้รับผิดชอบโครงการ