ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านบ่อหิน จังหวัดตรัง

รหัสโครงการ ศรร.1412-103 รหัสสัญญา 58-00-2265-ต.24 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน
  1. ชื่อกิจกรรมย่อย : เลี้ยงไก่ -จัดซื้ออาหารไก่ และพันธุ์ไก่เพิ่มเติ่ม

-จัดเตรียมสถานที่สำหรับเลี้ยงไก่ -ซื้อพันธุ์ไก่พันธุ์ไข่จำนวน 100 ตัว -และจัดซื้ออาหารสำหรับไก่พันธุ์ไก่ -ไก่จะไข่ประมาน 72 ฟอง/วัน -นำไข่ไก่ที่ได้ไปขายสหกรณ์ แล้วนำไปประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียน

-นำไข่ที่ได้ไปแปรรูป เช่น ไข่เค็ม ไข่ลูกเขย เป็นต้น

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

กิจกรรมสหกรณ์นักเรียนมีนักเรียนเป็นสมาชิก

-มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานสหกรณ์โดยนักเรียน และรับซื้อผลผลิตจากกิจกรรมเกษตรในโรงเรียนเพื่อขายให้กิจกรรมอาหารกลางวัน

-พัฒนาระบบสหกรณ์นักเรียนให้มีประสิทธิภาพ โดยให้นักเรียนเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้นกว่าเดิม

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

ปรุง ประกอบอาหารถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาล และอาหารปลอดภัย

-เชิญวิทยากร จากสาธณะสุขอำเภอสิเกา มา ให้ความรู้แก่ ครูผู้รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวัน และแม่ครัว -โรงอาหารมีความพร้อม สะอาด ปลอดภัย และมีที่ดูดควัน เมื่อปรุงอาหาร ที่ถูกหลักอนามัยและโภชนาการ

-ปรับปรุง/ซื้อ อุปกรณ์การจัดการอาหารของโรงเรียน เช่น ปรับปรุงโต๊ะ เก้าอี้ของนักเรียน เป็นต้น

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

มีรายงานเฝ้าระวังการเจริญเติบโตและสมรรถภาพทางกายของนักเรียนทุกคน เทอมละ 1 ครั้ง

เฝ้าระวังการเจริญเติบโตและสมรรถภาพทางกายของนักเรียนทุกคน เทอมละ 1 ครั้ง โดยครูอนามัยและเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาล

-

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

-มีการบันทึกสุขภาพนักเรียนรายบุคคลและแบบประเมินพฤติกรรมสุขบัญญัติแห่งชาติ -มีการฝึกปฏิบัติใช้ช้อนกลาง ล้างมือ ในช่วงเวลาการรับประทานอาหาร

-บันทึกสุขภาพนักเรียนรายบุคคลและแบบประเมินพฤติกรรมสุขบัญญัติแห่งชาติ -นักเรียนฝึกปฏิบัติใช้ช้อนกลาง ล้างมือ ในช่วงเวลาการรับประทานอาหาร

-ควรส่งเสริมให้นักเรียนฝึกปฏิบัติใช้ช้อนกลาง ล้างมือ ในช่วงเวลาการรับประทานอาหาร ให้เกิดเป็นนิสัย

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

โรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและมาตรฐานคุณภาพน้ำบริโภคในโรงเรียน

-เชิญวิทยากร จากสาธณะสุขอำเภอสิเกา มา ให้ความรู้แก่ ครูผู้รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวัน และแม่ครัว -จัดทำ สื่อการเรียนรู้ (ป้ายไวนิลเพื่อให้ความรู้สู่ชุมชน)

-ควรขยายผลความรู้เกี่ยวสุขาภิบาลและมาตรฐานคุณภาพน้ำบริโภคให้กันักเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพนักเรียนทุกคนเทอมละ 1 ครั้ง และให้การดูแลช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างเหมาะสม

มีการการตรวจสุขภาพนักเรียนทุกคนเทอมละ 1 ครั้ง และให้การดูแลช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างเหมาะสม

-ควรส่งเสริมให้ผู้ปกครองนำสมาชิกในครอบครัวไปตรวจสุขภาพประจำปีด้วย

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

มีกิจกรรมเรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพ ที่บูรณาการจากภูมิปัญญาท้องถิ่น

-ครูมีแผนการสอนที่บูรณาการจากภูมิปัญญาท้องถิ่น -จัดกิจกรรมเรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพ ที่บูรณาการจากภูมิปัญญาท้องถิ่น -ใช้สื่อและนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย

-ควรส่งเสริมให้นักเรียนผลิตสื่อในการจัดการเรียนรู้ด้านเกษตร

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

  1. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขจังหวัด
  2. เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลสิเกา
  3. ปศุสัตว์อำเภอสิเกา
  4. ปราชญ์ชาวบ้าน
  5. กรมประมง

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

1.โรงเรียนมีสถานที่กว้างและเหมาะสมในการจัดการเกษตรในโรงเรียน 2.โรงเรียนมีความพร้อมในด้านของบุคลากร

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

-ความสามัคคีของคณะครูและนักเรียน -ความรู้ของบุคลากร

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

ครู นักเรียนและแม่ครัว มีความรู้พร้อมในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

ผู้ปกครองและชุมชนให้ความร่วมมือในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

-มีการปลูกผักกางมุ้ง และผลไม้ ผักปลอดสารพิษในร่องปลูก เพื่อนำมาทำเป็นอาหารกลางวันให้นักเรียนอย่างเพียงพอ

รายละเอียดของโครงการ

เพิ่มการปลูกพืช ผักให้หลากหลายมากกว่าเดิม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

มีการเลี้ยงไก่ไข่จำนวน 100 ตัว ได้ไข่จำนวนประมาณ 70 ฟอง/วัน เพื่อนำมาเป็นอาหารโปนตีน

รายละเอียดของโครงการ

แก้ปัญหาเกี่ยวกับไก่ตาย เพื่อหาสาเหตุการตายของไก่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

-มีการซื้อพันธุ์ปลานิล จำนวน ๒,๕๐๐ ตัว และซื้อพันธุ์ปลาจาระเม็ดน้ำจืด จำนวน ๑,๒๕๐ ตัว มาเลี้ยงในบ่อปลา เพื่อประกอบเป็นอาหารกลางวัน -มีการเลี้ยงกบ จำนวน 50 ตัวเพื่อนำมาประกอบอาหารกลางวัน

รายละเอียดของโครงการ

-

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

-

-

-

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

โรงเรียนได้นำผัก ผลไม้ที่ปลูกมาประกอบเป็นอาหารกลางวันให้เพียงพอต่อปริมาณที่ควรได้รับ

รายละเอียดของโครงการ

ควรมีการปลูกผักและผลไม้ที่หลากหลายมากกว่าเดิม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

โรงเรียนได้นำผัก ผลไม้ที่ปลูกมาประกอบเป็นอาหารกลางวันให้เพียงพอต่อปริมาณที่ควรได้รับ

รายละเอียดของโครงการ

ควรมีการปลูกผักและผลไม้ที่หลากหลายมากกว่าเดิม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

-

-

-

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมช

รายละเอียดของโครงการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

-

-

-

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วน

รายงานการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วน โดยครูอนามัย

ควรหั้ยผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียน

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/2
เตี้ย 1.55 1.55% 1.55 1.55% 1.55 1.55% 1.55 1.55% 2.17 2.17% 0.00 0.00% 2.17 2.17% 2.17 2.17%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 2.59 2.59% 2.59 2.59% 2.59 2.59% 2.59 2.59% 4.35 4.35% 3.87 3.87% 4.35 4.35% 4.35 4.35%
ผอม 1.55 1.55% 1.04 1.04% 1.55 1.55% 1.55 1.55% 1.63 1.63% 0.00 0.00% 1.63 1.63% 1.65 1.65%
ผอม+ค่อนข้างผอม 3.63 3.63% 3.63 3.63% 3.63 3.63% 3.63 3.63% 1.63 1.63% 7.18 7.18% 1.63 1.63% 1.65 1.65%
อ้วน 5.70 5.70% 4.15 4.15% 5.18 5.18% 5.18 5.18% 3.26 3.26% 0.00 0.00% 3.26 3.26% 3.30 3.30%
เริ่มอ้วน+อ้วน 10.88% 10.88% 7.25% 7.25% 7.25% 7.25% 7.25% 7.25% 7.07% 7.07% 3.31% 3.31% 7.07% 7.07% 6.59% 6.59%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

-มีการจัดกิจกรรม เต้นฮูลาฮูบ ตอนเช้าทุกวัน -มีการจัดอบรมให้ความรู้ กิจกรรมลดพุง ลดโรค

ดังรายละเอียดของโครงการ

ควรตระหนักให้ผู้ปกครอง มีความรู้เรื่อง สาเหตุของการเริ่มอ้วน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

-

-

-

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

-

-

-

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

โรงเรียนมีการจัดอาหารที่ีคุณค่า เพื่อเสริมให้กับนักเรียนที่มีปัหาภาะทุพโภชนาการ

ดังรายละเอียดของโครงการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา

ดังรายละเอียดของโครงการ

-

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

-

-

-

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

  1. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขจังหวัด
  2. เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลสิเกา
  3. ปศุสัตว์อำเภอสิเกา
  4. ปราชญ์ชาวบ้าน
  5. กรมประมง

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh