แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1. เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาสุขภาวะ และโภชนาการของเด็กและเยาวชน
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนเจริญเติบโตสมวัย โดยมี ภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน ไม่เกิน ๒% ภาวะค่อนข้างผอมและผอมไม่เกิน ๕% ภาวะค่อนข้างเตี้ย และเตี้ย ไม่เกิน ๒% (กรณีที่ภาวะโภชนาการไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดให้ลดลงจากเดิมไม่น้อยกว่า 0.5 ต่อปี) 2. นักเรียนได้กินผัก-ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้น ในมื้อกลางวัน เฉลี่ย 2.1 ผักวันละ ประมาณ 40-100 กรัม (อนุบาล 3 ช้อน (50 กรัม)ประถม4 ช้อน (70 กรัม)) 2.2 ผลไม้ (อนุบาล ½ ส่วน ประถม 1 ส่วน) ต่อมื้อต่อคน

 

 

 

2 2. เพื่อสร้างการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะเด็กและเยาวชน
ตัวชี้วัด : 2.1 เด็กมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินผักและผลไม้เพิ่มขึ้น เฉลี่ยประมาณ 40-100 กรัม ในมื้ออาหารเย็น และอาหารว่าง (ติตตามผลโดยครูและผู้ปกครอง) 2.2 นักเรียนประมาณ 80% มีพฤติกรรมสุขภาวะที่ดี ได้แก่ การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร มีการแปรงฟันหลังทานอาหาร รวมทั้งแปรงฟันก่อนเข้านอน และมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถัง 2.3 ทางโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมออกกำลังกาย ก่อนเรียน (อาจจะเน้นที่เด็กมีภาวะอ้วนเป็นพิเศษ) 2.4 นักเรียนประมาณ 80 % ของจำนวนเด็กในโรงเรียน ให้ความร่วมมือทำกิจกรรมศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

 

 

 

3 3. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : 3.1 โรงเรียนมีระดับความสำเร็จในด้านการเชื่อมโยงอาหารและสุขภาพ อยู่ในระดับ 4 3.2 จำนวนกิจกรรมที่มีส่วนร่วมของครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนเพิ่มขึ้น 40%