แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านยางงาม

ชุมชน หมู่ที่ 10 ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

รหัสโครงการ ศรร.1412-114 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ต.3

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน พฤษภาคม 2559 ถึงเดือน ตุลาคม 2559

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การปลูกผักปลอดสารพิษ

วันที่ 6 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

นักเรียนนำผลผลิตขายผ่านสหกรณ์ให้กับโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน นักเรียนมีผลไม้รับประทาน มีปุ๋ยหมัก ปุ๋ยชีวภาพ ใส่แปลงเกษตร

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

นักเรียนนำผลผลิตขายผ่านสหกรณ์ให้กับโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน/นักเรียนมีความรู้ ทักษะในการปลูกผักปลอดสารพิษร้อยละ 100

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ครูดำเนินการจัดกิจกรรมดังนี้ 1.การให้ความรู้ 1. ครูนำเสนอความหมายของ การปลูกพืชผักสวนครัว หน้ากระดาน 2.แบ่งกลุ่มนักเรียนตามความสมัครใจ กลุ่มละ 5 – 6 คน
3. ครูให้นักเรียนในแต่ละกลุ่มระดมความคิดเพื่อบอกความสำคัญของการปลูกผักสวนครัว 4. นักเรียนสำรวจผักสวนครัวในท้องถิ่น ที่สามารถนำไปปลูกได้ แล้วเขียนสรุปเป็นผังความคิด 5. ครูให้นักเรียนทำใบงานเรื่อง ความหมายและความสำคัญของการปลูกผักสวนครัว 2. การเตรียมดินปลูกผักปลอดสารพิษ 1. วิธีการเตรียมดิน การเตรียมดิน หมายถึง การปรับปรุงดินให้มีความอุดมสมบูรณ์ มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการ ปลูกพืชแต่ละชนิด การเตรียมดินนั้นมี 2 อย่าง คือ การเตรียมดินแปลงเพาะเพื่อเพาะกล้า และ การเตรียมดินเพื่อปลูก การเตรียมดินเพื่อเพาะกล้าจะต้องเตรียมดินให้ละเอียดมากกว่า และต้องดูแลมากกว่าการเตรียมดินเพื่อปลูกพืช วิธีการเตรียมดินมีขั้นตอนดังนี้ 1.1 กำจัดวัชพืช โดยเก็บเศษวัสดุต่างๆออกจากหน้าดินให้หมด แล้วใช้จอบถาก หรือมีดฟันหญ้า ถ้าวัชพืชอยู่ลึกต้องใช้เสียมหรือพลั่วมือขุดออก 1.2 กำหนดพื้นที่ปลูก สำหรับแปลงปลูกผักต้องใช้ไม้ปัก 4 มุม โดยวัดความกว้างยาวได้ตามต้องการ 1.3 ขุดดินบริเวณที่กำหนดไว้ ถ้าเป็นแปลงผักควรขุดดินลึกประมาณ 15 เซนติเมตร พลิกดินด้านล่างขึ้นมาด้านบน ตากไว้ให้แห้ง 2-3 วัน แล้วจึงย่อยดินให้ขนาดเล็กลง และเก็บเศษวัชพืชที่ยัง ค้างอยู่ในดินออกทิ้ง 1.4 ตกแต่งร่องให้เป็นรูปทรงตามที่กำหนด พรวนดินอีกครั้ง ถ้าดินเป็นกรดใส่ปูนขาว โรยบางๆผสมคลุกเคล้าพร้อมปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ทิ้งไว้อย่างน้อย 1 สัปดาห์
3. การปลูกผักปลอดสารพิษ 1.เตรียมเมล็ดพันธ์ที่จะลงปลูกให้นักเรียนได้ลงมือทำ 2.ครูให้นักเรียนปลูกผักปลอดสารพิษ 3.นักเรียนดูแลรักษาพืชผักที่ปลูก 4.นักเรียนเก็บเกี่ยวผลผลิตที่ได้จากการปลูก นำส่งโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียนและเสริมสร้างรายได้แก่นักเรียนและจำหน่ายไปยังตลาดนัดนักเรียน

กิจกรรมที่ทำจริง

การจัดกิจกรรม 1.การให้ความรู้ 1. ครูนำเสนอความหมายของ การปลูกพืชผักสวนครัว หน้ากระดาน 2.แบ่งกลุ่มนักเรียนตามความสมัครใจ กลุ่มละ 5 – 6 คน
3. ครูให้นักเรียนในแต่ละกลุ่มระดมความคิดเพื่อบอกความสำคัญของการปลูกผักสวนครัว 4. นักเรียนสำรวจผักสวนครัวในท้องถิ่น ที่สามารถนำไปปลูกได้ แล้วเขียนสรุปเป็นผังความคิด 5. ครูให้นักเรียนทำใบงานเรื่อง ความหมายและความสำคัญของการปลูกผักสวนครัว 2. การเตรียมดินปลูกผักปลอดสารพิษ 1. วิธีการเตรียมดิน การเตรียมดิน หมายถึง การปรับปรุงดินให้มีความอุดมสมบูรณ์ มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการ ปลูกพืชแต่ละชนิด การเตรียมดินนั้นมี 2 อย่าง คือ การเตรียมดินแปลงเพาะเพื่อเพาะกล้า และ การเตรียมดินเพื่อปลูก การเตรียมดินเพื่อเพาะกล้าจะต้องเตรียมดินให้ละเอียดมากกว่า และต้องดูแลมากกว่าการเตรียมดินเพื่อปลูกพืช วิธีการเตรียมดินมีขั้นตอนดังนี้ 1.1 กำจัดวัชพืช โดยเก็บเศษวัสดุต่างๆออกจากหน้าดินให้หมด แล้วใช้จอบถาก หรือมีดฟันหญ้า ถ้าวัชพืชอยู่ลึกต้องใช้เสียมหรือพลั่วมือขุดออก 1.2 กำหนดพื้นที่ปลูก สำหรับแปลงปลูกผักต้องใช้ไม้ปัก 4 มุม โดยวัดความกว้างยาวได้ตามต้องการ 1.3 ขุดดินบริเวณที่กำหนดไว้ ถ้าเป็นแปลงผักควรขุดดินลึกประมาณ 15 เซนติเมตร พลิกดินด้านล่างขึ้นมาด้านบน ตากไว้ให้แห้ง 2-3 วัน แล้วจึงย่อยดินให้ขนาดเล็กลง และเก็บเศษวัชพืชที่ยัง ค้างอยู่ในดินออกทิ้ง 1.4 ตกแต่งร่องให้เป็นรูปทรงตามที่กำหนด พรวนดินอีกครั้ง ถ้าดินเป็นกรดใส่ปูนขาว โรยบางๆผสมคลุกเคล้าพร้อมปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ทิ้งไว้อย่างน้อย 1 สัปดาห์
3. การปลูกผักปลอดสารพิษ 1.เตรียมเมล็ดพันธ์ที่จะลงปลูกให้นักเรียนได้ลงมือทำ 2.ครูให้นักเรียนปลูกผักปลอดสารพิษ 3.นักเรียนดูแลรักษาพืชผักที่ปลูก 4.นักเรียนเก็บเกี่ยวผลผลิตที่ได้จากการปลูก นำส่งโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียนและเสริมสร้างรายได้แก่นักเรียนและจำหน่ายไปยังตลาดนัดนักเรียน

 

44 44

2. การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์

วันที่ 20 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

นักเรียนนำผลผลิตขายผ่านสหกรณ์ให้กับโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน นักเรียนมีผลไม้รับประทาน มีปุ๋ยหมัก ปุ๋ยชีวภาพ ใส่แปลงเกษตร

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

นักเรียนนำผลผลิตขายผ่านสหกรณ์ให้กับโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน/นักเรียนมีความรู้ ทักษะในการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

การจัดกิจกรรม 1.ครูอธิบายการปลูกพืชไร้ดินและเชิญวิทยากรที่มีความรู้ในการปลูกผักไฮโดรโปนิค วิทยากรอธิบายวิธีการปลูกพืชไร้ดินแบบ Hydroponics ตามขั้นตอนดังนี้ 1.เตรียมฟองน้ำที่ใช้โดยการผ่าแบ่งให้เหมาะสมกับรางปลูก ใช้ มีดคัตเตอร์ กรีดฟองน้ำเป็นเครื่องหมายคูณ ความลึกของรอยประมาณ 2-3 มิลลิเมตร 2.ใส่เมล็ดลงไปในรอยกรีด ประมาณ 2-3 เมล็ด นำไปใส่ในกระบะเพาะ รดน้ำให้ชุ่มแต่ห้ามไม่ให้ระดับน้ำสูงเกินไปจนท่วมเมล็ดเพราะ เมล็ดจะไม่งอกและเน่าในที่สุด 3.นำผ้าขาวบางหรือผ้าที่ไม่หนามากนักมาคลุมที่กระบะเพาะ เพื่อเป็นการรักษาความชื้น ทิ้งไว้ 3-4 วัน แต่ต้องมีการเปิดดูทุกๆ วัน 4.เมื่อต้นกล้าที่เพาะไว้เริ่มจะแข็งแรงหรือมีอายุได้ประมาณ 5-7 วัน ให้เปิดผ้าออก แล้วนำต้นกล้าออกจากที่ร่มเพื่อมารับแสงแดด 2-3วัน ก็จะได้ต้นกล้าที่สามารถลงในรางปลูกได้ 5.ย้ายต้นกล้าลงในรางปลูก ให้ฟองน้ำ จมลงในในระดับน้ำเพียงครึ่งหนึ่งของทั้งหมดเพื่อให้รากของต้นพืชได้มีการเจริญเติมโต หาอาหารเองตามธรรมชาติ โดยมีสารละลายธาตุอาหารไหลผ่านรากตลอดเวลา 6.ให้ธาตุอาหารตามความเข้มข้นที่เหมาะสม ต่อความต้องการของพืชชนิดนั้น และตามที่ผลิตภัณฑ์สารอาหารนั้นกำหนด 7.หมั่นดูแลรักษาทุกวัน สังเกตความต้องการสารอาหารของต้นพืชจากสีของลำต้นและสีของใบ ตามแต่ลักษณะของพืชชนิดนั้นๆ
8.ครูให้นักเรียนปลูกพืชไร้ดินแบบ Hydroponics 9.นักเรียนดูแลรักษาพืชผักที่ปลูก 10.นักเรียนเก็บเกี่ยวผลผลิตที่ได้จากการปลูก นำส่งโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียนและเสริมสร้างรายได้แก่นักเรียนและจำหน่ายไปยังตลาดนัดนักเรียน

กิจกรรมที่ทำจริง

การจัดกิจกรรม 1.ครูอธิบายการปลูกพืชไร้ดินและเชิญวิทยากรที่มีความรู้ในการปลูกผักไฮโดรโปนิค วิทยากรอธิบายวิธีการปลูกพืชไร้ดินแบบ Hydroponics ตามขั้นตอนดังนี้ 1.เตรียมฟองน้ำที่ใช้โดยการผ่าแบ่งให้เหมาะสมกับรางปลูก ใช้ มีดคัตเตอร์ กรีดฟองน้ำเป็นเครื่องหมายคูณ ความลึกของรอยประมาณ 2-3 มิลลิเมตร 2.ใส่เมล็ดลงไปในรอยกรีด ประมาณ 2-3 เมล็ด นำไปใส่ในกระบะเพาะ รดน้ำให้ชุ่มแต่ห้ามไม่ให้ระดับน้ำสูงเกินไปจนท่วมเมล็ดเพราะ เมล็ดจะไม่งอกและเน่าในที่สุด 3.นำผ้าขาวบางหรือผ้าที่ไม่หนามากนักมาคลุมที่กระบะเพาะ เพื่อเป็นการรักษาความชื้น ทิ้งไว้ 3-4 วัน แต่ต้องมีการเปิดดูทุกๆ วัน 4.เมื่อต้นกล้าที่เพาะไว้เริ่มจะแข็งแรงหรือมีอายุได้ประมาณ 5-7 วัน ให้เปิดผ้าออก แล้วนำต้นกล้าออกจากที่ร่มเพื่อมารับแสงแดด 2-3วัน ก็จะได้ต้นกล้าที่สามารถลงในรางปลูกได้ 5.ย้ายต้นกล้าลงในรางปลูก ให้ฟองน้ำ จมลงในในระดับน้ำเพียงครึ่งหนึ่งของทั้งหมดเพื่อให้รากของต้นพืชได้มีการเจริญเติมโต หาอาหารเองตามธรรมชาติ โดยมีสารละลายธาตุอาหารไหลผ่านรากตลอดเวลา 6.ให้ธาตุอาหารตามความเข้มข้นที่เหมาะสม ต่อความต้องการของพืชชนิดนั้น และตามที่ผลิตภัณฑ์สารอาหารนั้นกำหนด 7.หมั่นดูแลรักษาทุกวัน สังเกตความต้องการสารอาหารของต้นพืชจากสีของลำต้นและสีของใบ ตามแต่ลักษณะของพืชชนิดนั้นๆ
8.ครูให้นักเรียนปลูกพืชไร้ดินแบบ Hydroponics 9.นักเรียนดูแลรักษาพืชผักที่ปลูก 10.นักเรียนเก็บเกี่ยวผลผลิตที่ได้จากการปลูก นำส่งโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียนและเสริมสร้างรายได้แก่นักเรียนและจำหน่ายไปยังตลาดนัดนักเรียน

 

20 21

3. ค่ายเยาวชนสิ่งแวดล้อม

วันที่ 5 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

มีข้อมูลสารเทศ เป็นแหล่งศึกษาดูงานแก่สถานศึกษาอื่น
และชุมชน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมและมีจิตสำนึกเรื่องสิ่งแวดล้อม

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) วันที่ 20 กันยายน 2559 เวลา 08.30 – 16.30 น. ณ. โรงเรียนบ้านยางงาม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

เวลา 08.00 – 09.00 น. ลงทะเบียน 09.00 –09.30 น. พิธีเปิด การประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) และมอบเกียรติบัตรให้กับแกนนำนักเรียน
Zero Waste School (โดย นายอาจินต์ สุขศรีสังข์ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านยางงาม) 09.30 – 10.30 น. นโยบายและแนวทางการดำเนินการโรงเรียนปลอดขยะ
(Zero Waste School) 10.30 – 10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.45 – 12.00 น. กิจกรรมรู้จัก คัด แยก ตามแนวทางการดำเนินการโรงเรียนปลอดขยะ
(Zero Waste School)
12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น. กิจกรรมฐานความรู้ โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) 1. กิจกรรมอนุบาล 1-2 1.1. หนูน้อยพอเพียง ชั้นอนุบาล 1 1.2. กระดาษนี้มีคุณค่า หนูจ๋ามาแยกกัน ชั้นอนุบาล 2 2. กิจกรรมชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 2.1. “แกะ ตัด ล้าง เก็บ”ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-2 2.2. ประดิษฐ์ คืนร่าง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 3. กิจกรรมชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 2.1. แยกขยะ ลดมลพิษ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 2.2. ประดิษฐ์ คืนร่าง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 2.3. บิงโก คัดแยกขยะ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 15.00 – 15.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง 15.15 – 16.30 น. กิจกรรมฐานความรู้ โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School)(ต่อ) 16.30 น. ปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการโรงเรียนปลอดขยะ
(Zero Waste School) (โดย นายอาจินต์ สุขศรีสังข์ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านยางงาม)

กิจกรรมที่ทำจริง

กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) วันที่ 20 กันยายน 2559 เวลา 08.30 – 16.30 น. ณ. โรงเรียนบ้านยางงาม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

เวลา 08.00 – 09.00 น. ลงทะเบียน 09.00 –09.30 น. พิธีเปิด การประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) และมอบเกียรติบัตรให้กับแกนนำนักเรียน
Zero Waste School (โดย นายอาจินต์ สุขศรีสังข์ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านยางงาม) 09.30 – 10.30 น. นโยบายและแนวทางการดำเนินการโรงเรียนปลอดขยะ
(Zero Waste School) 10.30 – 10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.45 – 12.00 น. กิจกรรมรู้จัก คัด แยก ตามแนวทางการดำเนินการโรงเรียนปลอดขยะ
(Zero Waste School)
12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น. กิจกรรมฐานความรู้ โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) 1. กิจกรรมอนุบาล 1-2 1.1. หนูน้อยพอเพียง ชั้นอนุบาล 1 1.2. กระดาษนี้มีคุณค่า หนูจ๋ามาแยกกัน ชั้นอนุบาล 2 2. กิจกรรมชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 2.1. “แกะ ตัด ล้าง เก็บ”ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-2 2.2. ประดิษฐ์ คืนร่าง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 3. กิจกรรมชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 2.1. แยกขยะ ลดมลพิษ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 2.2. ประดิษฐ์ คืนร่าง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 2.3. บิงโก คัดแยกขยะ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 15.00 – 15.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง 15.15 – 16.30 น. กิจกรรมฐานความรู้ โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School)(ต่อ) 16.30 น. ปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการโรงเรียนปลอดขยะ
(Zero Waste School) (โดย นายอาจินต์ สุขศรีสังข์ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านยางงาม)

 

71 71

4. ประชาสัมพันธ์แหล่งเรียนรู้

วันที่ 10 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

มีข้อมูลสารเทศ เป็นแหล่งศึกษาดูงานแก่สถานศึกษาอื่น
และชุมชน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

นักเรียนได้รับความรู้โดยศึกษษข้อมูลจากป้ายประชาสัมพันธ์ที่จัดขึ้นในโรงเรียน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

จัดทำป้ายจุดประชาสัมพันธ์แหล่งเรียนรู้ดังนี้ 1.ขั้นตอนการปลูกผักปลอดสารพิษ 2.การปลูกผักไฮโดรโปนิค 3.การกำจัดยุงลาย 4.การลด ละ เลิกใช้โฟม

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดทำป้ายจุดประชาสัมพันธ์แหล่งเรียนรู้ดังนี้ 1.ขั้นตอนการปลูกผักปลอดสารพิษ 2.การปลูกผักไฮโดรโปนิค 3.การกำจัดยุงลาย 4.การลด ละ เลิกใช้โฟม

 

146 146

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 26 4                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 100,000.00 30,152.00                  
คุณภาพกิจกรรม 16 14                  

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. ประชุมรายงานสรุปงวดที่ 1 ( 13 ต.ค. 2559 )
  2. การจัดทำปุ๋ยหมัก ( 31 ต.ค. 2559 )
  3. ปลูกผักและผลไม้ปลอดสารพิษ ( 6 ก.พ. 2560 - 17 ก.พ. 2560 )
  4. การเลี้ยงปลาดุก ครั้งที่ 2 ( 17 ก.พ. 2560 - 17 เม.ย. 2560 )
  5. ไฮโดรโปนิก ครั้งที่ 2 ( 20 ก.พ. 2560 - 20 เม.ย. 2560 )
  6. อบรมเชื้อราไตรโคเดอมาร์ ( 20 ก.พ. 2560 )
  7. การอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส แก่โรงเรียนเครือข่าย ( 27 ก.พ. 2560 )
  8. การเพาะเห็ดครั้งที่ 2 ( 9 มี.ค. 2560 - 9 ก.พ. 2560 )
  9. zero Waste school ( 20 มี.ค. 2560 )
  10. ประชาสัมพันธ์แผล่งเรียนรู้ครั้งที่ 2 ( 3 เม.ย. 2560 )
  11. คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ ( 3 เม.ย. 2560 )
  12. ถอนเงินเปิดบัญชี ( 3 เม.ย. 2560 )

(................................)
นายอาจินต์ สุขศรีสังข์
ผู้รับผิดชอบโครงการ