แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่ส่งเสริมและพัฒนาการจัดบริการอาหารของโรงเรียนให้มีคุณภาพ และเหมาะสมตามมาตรฐานโภชนาการ และเพิ่มทักษะชีวิต
ตัวชี้วัด : 1. โรงเรียนจัดเมนูอาหารหมุนเวียนรายเดือนตามโปรแกรม TSL 2.แม่ครัวมีความรู้และสามารถตักอาหารให้นักเรียนที่เหมาะสมกับนักเรียนแต่ละกลุ่มชั้นเรียน 3.โรงครัวและสถานที่รับประทานอาหารของเด็กถูกหลักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ

 

 

  1. ประเมินความรู้แม่ครัวก่อนและหลังการฝึกอบรม
  2. ประเมินการตักอาหารจากสภาพจริงที่แม่ครัวจัดให้นักเรียนได้ตามมาตรฐานโภชนาการหรือไม่
  3. ประเมินตามมาตรฐานสุขาภิบาลอาหารโรงอาหารของกรมอนามัยโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
2 เพื่อพัฒนารูปแบบการแก้ปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียนที่มีภาวะอ้วน เตี้ย และผอม
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนที่มีภาวะอ้วน และผอม ได้รับการจัดรูปแบบอาหารกลางวันให้เหมาะสมเพื่อแก้ัปัญหาทุพโภชนาการของเด็กเป็นรายบุคคล 2. โรงเรียนมีระบบการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของนักเรียนทุกคน 3. นักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ไม่เกิน 9%

 

 

  1. ประเมินอาหารที่นักเรียนรับประทานตามที่ครูกำหนดให้และประเมินพฤติกรรมบริโภคตามแบบสอบถาม
  2. ประเมินโดยการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงแปรผลและวิเคราะห์ข้อมูลและส่งต่อแก้ไขปัญหาเปรียบเทียบก่อนหลัง
  3. ประเมินโดยเปรียบเทียบกับมาตรฐาน
3 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของพ่อแม่ ผู้ปกครองในการดูแลอาหารและสุขภาพที่บ้าน
ตัวชี้วัด : พ่อแม่ ผู้ปกครองและนักเรียนได้รับการอบรมในการปรับพฤติกรรมการบริโภคและการจัดการอาหารและสุขภาพให้ถูกต้อง

 

 

  1. ประเมินความรู้ก่อนและหลังการฝึกอบรม
  2. แบบสอบถามการจัดอาหารให้นักเรียนที่บ้าน
4 เพื่อสร้างกระแส การตื่นตัว ของชุมชนศรีวิชัย และพื้นที่ใกล้เคียง ให้ตระหนักถึงความสำคัญของอาหารและโภชนาการ และสุขภาพของเด็กในวัยเรียน
ตัวชี้วัด : ชุมชนศรีวิชัยและพื้นที่ใกล้เคียง จัดบริการอาหารตามหลักโภชนาการ

 

 

  1. ประเมินโดยการใช้แบบสอบถาม
  2. ประเมินจากการจัดกิจกรรมร่วมในงานเลี้ยงของชุมชน