แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 3 จังหวัดชุมพร

ชุมชน หมู่ที่ 6 ถนน เขาปีบ-ปากตะโก ตำบลทุ่งตะไคร อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร

รหัสโครงการ ศรร.1413-094 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ต.11

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน พฤษภาคม 2559 ถึงเดือน กันยายน 2559

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการเพาะเห็ดนางฟ้า

วันที่ 4 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

-เห็ดนางฟ้าใช้ในการประกอบอาหารกลางวัน -เห็ดนางฟ้าสามรส -น้ำพริกเห็ดกิ๊กเทวดา -ร่องผักเพิ่มเติม จำนวน 20 ร่อง -น้ำพริกปลาดุกสวรรค์ -ปลาดุกเค็อร่อย -หมู

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.ผลผลิตของเห็ดนางฟ้าใช้ในการประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียนในโรงเรียน

2.เด็กนักเรียนในโรงเรียนมีความรู้ในการเพาะเห็ดนางฟ้า

3.เด็กนักเรียนสามารถเชื่อมโยงวิชาเรียนคณิตศาสตร์ (การบันทึกรับ จ่าย ) เพื่อใช้ในการคิดคำนวนผลผลิตที่ได้จากเห็ดนางฟ้า และการจำหน่ายเห็ดนางฟ้าในชุมชน

4.นักเรียนได้รับการปลูกผังคุณธรรม จริธรรมในการทำงานร่วมกัน

5.นักเรียนมีความรู้ในการบริหารจัดการด้านตลาด และสหกรณ์ร้านค้า

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  • เชิญวิทยากรมาให้ความรู้เรื่องการเพาะเห็ดแก่แกนนำนักเรียนที่อยู่ในชมรมเพาะเห็ดนางฟ้า
  • เชิญวิทยากรมาให้ความรู้เรื่องแปรรูปการเพาะเห็ดแก่แกนนำนักเรียน ที่อยู่ในชมรมเพาะเห็ดนางฟ้าและชมรมการเลี้ยงปลาดุก

กิจกรรมที่ทำจริง

1.เชิญวิทยากร นายชัยนนอารีเสวต ปราชญ์ชุมชนที่มีความรู้เกี่ยวกับการเพาะเห็ดนางฟ้า เช่น การจัดทำโรงเรือน การดูแลรักษาการเก็บผลผลิตและการเพ็กกิ้งเพื่อจำหน่ายตลาด ให้กับแกนนำนักเรียนที่อยู่ในชมรมเพาะเห็ดนางฟ้า

2.มีการซื้อก้อนเห็ดนางฟ้า จำนวน 914 ก้อน เพื่อผลิตให้กับโรงเรียนในการประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียน

3.มีการแบ่งกลุ่มนักเรียน 20 คน เป็นเวรประจำวันจันทร์ถึงอาทิตย์ ในการดูแลรดน้ำเช้า เที่ยง เย็น เพื่อให้มีความชื้น ไม่ให้ก้อนแห้ง ทำให้ผลผลิตที่ได้มีคุณภาพ

 

20 20

2. การเลี้ยงหมูหลุม

วันที่ 20 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

-เห็ดนางฟ้าใช้ในการประกอบอาหารกลางวัน -เห็ดนางฟ้าสามรส -น้ำพริกเห็ดกิ๊กเทวดา -ร่องผักเพิ่มเติม จำนวน 20 ร่อง -น้ำพริกปลาดุกสวรรค์ -ปลาดุกเค็อร่อย -หมู

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต มีลูกหมู จำนวน 5 ตัว

ผลลัพธ์
1. นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการเลี้ยงหมู

  1. นักเรียนมีเนื่อหมูไว้สำหรับทำอาหารกลางวันให้กับนักเรียน

  2. นักเรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้กับวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการคำนวณปริมาณอาหารที่ให้กับลูกหมูในแต่ละวัน วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องระบบย่อยอาหารในสัตว์ และการย่อยสลายของจุลินทรีย์ (EM) วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การเลี้ยงหมูหลุม

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

การเลี้ยงหมูหลุม

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. จัดซื้อลูกหมู จำนวน 5 ตัว
  2. เตรียมคอกหมูโดยใช้แกลบและรดน้ำ EM เพื่อดับกลิ่นเหม็น
  3. ปล่อยลูกหมูลงคอกหมู
  4. นักเรียนหมุนเวียนกันมาดูแลโดยการให้อาหารและคอยราดน้ำ EM

 

41 43

3. จัดอบรมนักเรียนแปรรูปอาหารโดยภูมิปัญญาท้องถิ่น

วันที่ 22 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

-เห็ดนางฟ้าใช้ในการประกอบอาหารกลางวัน -เห็ดนางฟ้าสามรส -น้ำพริกเห็ดกิ๊กเทวดา -ร่องผักเพิ่มเติม จำนวน 20 ร่อง -น้ำพริกปลาดุกสวรรค์ -ปลาดุกเค็อร่อย -หมู

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต คือ นักเรียน 50 คน ร่วมเรียนรู้การแปรรูปอาหารท้องโดยการนำผลผลิตในโรงเรียนมาแปรรูป ดังนี้

  1. การทำแหนมเห็ดนางฟ้า ได้ผลผลิตที่นักเรียนได้ฝึกปฎิบัติ จำนวน 2 กิโลกรัม

  2. การทำน้ำพริกตาแดงจากปลาดุก ได้ผลผลิตที่นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติจริง จำนวน 2 กิโลกรัม

ผลลัพธ์
1. นักเรียนสามารถแปรรูปอาหารจากปลาดุกได้และสมารถผลิตจำหน่ายเพื่อสร้างรายได้ให้กับครอบครัวได้

  1. นักเรียนได้เรียนรู้และเชื่อมโยงความรู้กับวิชาคณิตศาสตร์ในเรื่องของอัตราส่วน วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีในเรื่องการแปรรูปอาหาร

  2. นักเรียนได้ฝึกการทำงานเป็นทีม

  3. นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรุงอาหารให้ก้บครอบครัวของตนเอง และผลิตเป็นสินค้าเพื่อจำหน่ายเป็นรายได้เสริมได้อีกทางหนึ่่ง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

เชิญวิทยากรมาให้ความรู้การแปรรูปอาหารท้องถิ่น 1. การทำแหนมเห็ดนางฟ้า 2. การทำน้ำพริกตาแดงจากปลาดุก

กิจกรรมที่ทำจริง

1.เชิญวิทยากรในท้องถิ่น คือ นางธัญญา  วงศ์สุวัฒน์ มาให้ความรู้การทำแหนมเห็ดนางฟ้า และน้ำพริกตาแดง 2. นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติการทำแหนมเห็ดนางฟ้าและน้ำพริกตาแดงจาดปลาดุก โดยใช้ผลผลิตของเห็ดนางฟ้าที่นักเรียนเพาะเอง และปลาดุกที่นักเรียนลงมือเลี้ยงเอง และมีส่วนผสมของเกลือ กระเทียม สำหรับน้ำพริกปลาดุกมีส่วนผสมของพริก กะปิ เป็นต้น

 

50 50

4. ขยายแปลงเกษตรให้มีผักเพียงพอสำหรับอาหารกลางวันที่โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓

วันที่ 30 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

-เห็ดนางฟ้าใช้ในการประกอบอาหารกลางวัน -เห็ดนางฟ้าสามรส -น้ำพริกเห็ดกิ๊กเทวดา -ร่องผักเพิ่มเติม จำนวน 20 ร่อง -น้ำพริกปลาดุกสวรรค์ -ปลาดุกเค็อร่อย -หมู

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต 1. มีแปลงผักเพิ่มมากขึ้นและเพียงพอต่อความต้องการ 2. มีผักหมุนเวียน เพียงพอกับความต้องบริโภคของนักเรียน

ผลลัพธ์ 1. นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการปลูกผักปลอดสารพิษโดยใช้น้ำหมักชีวภาพ 2. นักเรียนในโรงเรียนได้บริโภคผักที่ปลอดสารพิษ 3. นักเรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้กับวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การหาพื้นที่และการคำนวณรายรับ-รายจ่าย  วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องการเตรียมแปลงเพาะปลูก

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ขยายแปลงผักจำนวน 20 ร่อง

กิจกรรมที่ทำจริง

ขยายแปลงผักเพิ่ม 20 ร่อง เพื่อปลูก ผักกวางตุ้ง ผักบุ้ง แตงกวา ถั่วฝักยาว บวบ ส่งผลผลิตให้กับอาหารกลางวันโดยผ่านกิจกรรมสหกรณ์

 

550 577

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 13 4                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 120,000.00 49,840.00                  
คุณภาพกิจกรรม 16 15                  

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน
  1. ขาดความต่อเนื่องของโครงการเนื่องจากผู้รับผิดชอบเดิมเกษียณอายุราชการ
  2. สภาพดินไม่เหมาะต่อการเพาะปลูก ต้องมีการปรับสภาพดินก่อนเริ่มทำโครงการ ทำให้งบประมาณเพิ่มมากขึ้น

 

-

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. จัดทำรายงานปิดงวด 1 ( 12 ต.ค. 2559 )
  2. กิจกรรม Big Cleaning Day ( 4 พ.ย. 2559 )
  3. พัฒนาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนเปลี่ยนก๊อกน้ำอ่างล้างหน้าแปรงฟัน ( 7 พ.ย. 2559 )
  4. โครงการพัฒนาสหกรณ์นักเรียน ( 26 ธ.ค. 2559 - 26 ธ.ค. 2560 )
  5. โครงการอาหารปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ ( 9 ม.ค. 2560 )
  6. โครงการอบรมผู้ปกครองและนักเรียนที่มีแนวโน้มเสี่ยงต่อการเป็นโรคอ้วน ( 16 ม.ค. 2560 )
  7. อบรมขยายผลโปรมแกรม Thai School Lunch ( 6 ก.พ. 2560 )
  8. ประชุมติดตามการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 2 ( 3 เม.ย. 2560 )
  9. คืนดอกเบี้ยโครงการ ( 3 เม.ย. 2560 )

(................................)
นายดุลสฤษดิ์รัตนูปกรณ์
ผู้รับผิดชอบโครงการ