ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 3 จังหวัดชุมพร

รหัสโครงการ ศรร.1413-094 รหัสสัญญา 58-00-2265-ต.11 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

กิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษ
กิจกรรมแปลงทดลองสตรอว์เบอร์รี่

1)กิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษ(แตงกวาถั่วฝักยาวกวางตุ้ง ผักกาดขาว บวบผักบุ้ง ) เป็นการปลูกผักของนักเรียนในระดับชั้น ม.๑-ม.๓ โดยใช้น้ำหมักชีวภาพในการผสมน้ำเปล่ารดเช้า เย็นและมีการใช้พืชที่มีรสขมมาทำน้ำยาไล่แมลงศัตรูพืช ทั้งนี้ น้ำหมักชีวภาพ ได้จากการนำเศษผักที่เหลือจากอาหารกลางวัน มาหมักไว้ประมาณ 3เดือนจนย่อยสลายเป็นน้ำ แล้วจึงนำมาใช้รดผัก ตามส่วนผสมนำหมัก1ส่วนต่อน้ำเปล่า 50 ส่วน คนให้เข้ากันจะช่วยให้ผักที่ปลูกโตเร็วสามารถเก็บผลผลิตได้เร็วขึ้น รวมทั้งน้ำหมักดังกล่าวยังมีคุณสมบัติในการเก็บรักษาคุณภาพให้พืชผักหลังเก็บเกี่ยวคงอยู่ได้นาน (แช่ในน้ำหมักชีวภาพประมาณ ๑๐ นาที จะทำให้ผักดูสด และกรอบรสชาดดี) นอกจากนี้การทำน้ำยาไล่แมลงศัตรูพืช ก็ใช้วิธีทำอย่างเดียวกันกับน้ำหมักชีวภาพ แต่เปลี่ยนมาใช้พืชที่มีรสขมแทน 2)กิจกรรมปลูกสตรอว์เบอร์รี่ เป็นกิจกรรมที่ทดลองปลูกเพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้การเจริญเติบโตและการดำรงชีวิตของสตรอว์เบอร์รี่ซึ่งเป็นไม้เมืองหนาว ผลการทดลองปลูกมีการเจริญเติบโตเป็นที่พอใจให้ผลผลิตแปลงละ ๐.๕กก.(15ต้นต่อแปลง) แต่มีขนาดของผลเล็กกว่าที่ปลูกทางภาคเหนือ การให้ปุ๋ย เป็นการใช้น้ำหมักชีวภาพผสมในน้ำ รดเช้า-เย็นพร้อมให้โฮโมนส์เร่งการออกดอกและผลผลิต(หลักฐานภาพถ่ายในกิจกรรมข้อที่ 1 )

เพิ่มปริมาณผักที่ปลูกและให้มีความหมากหลายเพื่อให้ประกอบอาหารให้ครอบคลุมตามเมนูอาหารกลางวันของโรงเรียน (TSL : Thai School Lunch)

ปลูกผลไม้เพิ่มเช่น ชมพู่ ฝร่ง กล้วย เพื่อเพิ่มผลไม้ให้กับนักเรียน

-เผยแพร่ความรู้ขยายผลให้กับชุมชนเพื่อปลูกผักปลอดสารพิษส่งเข้ามายังครัวอาหารกลางวันของโรงเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

การจัดอบรมให้นักเรียนแกนนำสหกรณ์

คัดเลือกนักเรียนที่เป็นแกนนำที่ทำหน้าที่ในร้านสหกรณ์ มาอบรมเพื่อให้ความรู้กระบวนการของสหกรณ์ การจัดทำบัญชีการคุมสินค้าการเลือกสินค้าที่มีประโยชน์มาจำหน่าย

ควรมีการจัดทำบํชีในการเฉี่ยคืนให้กับสมาชิก

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

การบริการอาหารกลางวัน

การบริการอาหารกลางวันของโรงเรียน มีการจ้างเหมาทำอาหารเป็นรายวันเนื่องจากปริมาณของนักเรียนมีจำนวนมาก วัตถุดิบส่วนหนึ่งได้มาจากเกษตรในโรงเรียน เช่น ผัก และส่วนหนึ่งซื้อมาจากตลาดที่เป็นร้านประจำของโรงเรียนสำหรับกเมนูอาหารจะทำตามเมนู (TSL : Thai School Lunch) และการอบรมการตักอาหารให้กับ นักเรียนชั้น ป.6-ม.3

วัตถุดิบที่ใช้ปรุงอาหารควรเป็นของผู้ปกครองหรือได้จากชุมชน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

การชั่งน้ำหนัก- วัดส่วนสูง และหาดัชนีมวลกาย

โรงเรียนมีการติดตามเฝ้าระวังภาวะโชนาการและทดสอบสมรถนะทางกายภาคเรียนละ 2 ครั้ง พร้อมวิเคราะห์แปรผลข้อมูล พร้อมนำนักเรียนและผู้ปกครองที่มีภาวะเสี่ยงเกิดโรคอ้วนมาอบรมและแก้ปัญหาโดยประสานกับครูพลศึกษา เพื่อจัดกิจกรรมลดอ้วนให้กับนักเรียน

จัดกิจกรรมที่มีความสอดคล้องและเหมาะสมกับคนเป็นโรคอ้วนเพื่อความปลอดภัย

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

กิจกรรมออกกำลังกายยามเช้า

ในช่วงของทุกวันโรเงรียนได้มีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพคือการออกกำลัง(แอโรบิค )เป็นเวลา 10 นาที และหลังจากนั้นการตรวจสุขภาพกายเช่น ความสะอาดของร่างกาย เล็บ ผม เสื้อผ้า จะทำโดยครูประจำชั้นแล้วรายงานต่อผู้บริหาร ทราบสัปดาห์1 ครั้งสำหรับการตรวจสุขภาพในช่องปาก จะทำในทุกวันตอนเที่ยงหลังจากการแปรงฟัน เพื่อตรวจสอบการทำความสะอาดในช่องปากของนักเรียน

ควรมีกิจกรรมออกกำลังกายที่มีความหลากหลาย และให้นักเรียนเป็นผู้นำในการออกกกำลังกาย และใช้แกนนำนักเรียนในการตรวจสุขภาพ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

กิจกรรมพัฒนาสิ่่งแวดล้อมในโรงเรียน

โรงเรียนได้จัดกิจกรรมพัฒนาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนโดยแบ่งนักเรียนรับผิดชอบตามจุดต่าง ๆเช่น ห้องน้ำห้องเรียน และอาคารประกอบต่าง ๆ มีการจัดทำBig CleaningDay ภาคเรียนละ2 ครั้งมีการแยกขยะในแต่ละอาคารเรียนมีการประกวดแข่งขันเป็นสัญญลักษณ์ ธงขาวและธงแดงอาคารใดมีการแยกขยะได้ถูกต้องจะได้รับธงขาวและอาคารไหนไม่มีการแยกขยะจะได้รับธงแดง มีการรายงานหน้าเสาธงทุกวัน

ควรประสานงานกับกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเพื่อมาให้ความรู้เกี่ยวกับอนามัยและสิ่งแวดล้อม

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

กิจกรรมบูรณาการในหน่วยการเรียน ผักปลอดสารพิษ

-ครูได้จัดทำแผนการบูรณาการในเรื่องผักปลอดสารพิษโดยแบ่งเป็นระดับชั้น ดังนี้การปลูกถั่วฝักยาว ม.1 เป็นผู้รับผิดชอบ การปลูกแตงกวา นักเรียรชั้น ม. 2 เป็นผู้รับผิดชอบการปลูกผักกวางตุ้ง นักเรียน ม.3 เป็นผู้รับผิดชอบซึ่งพอได้ผลผลิตนักเรียนจะนำผลไปส่งสหกรณ์ ครูก็ให้ความรู้เรื่องสหกรณ์ กับนักเรียนพร้อมให้นักเรียนลงมือปฏิบัติจริง ในการจัดทำบัญชี รายรับ-รายจ่าย หลังจากนั้น ผักของโรงเรียนจะนำเข้าสู่โรงอาหารเพื่อประกอบ อาหารกลางวันให้กับนักเรียน กระบวนการเรียนรูัเกี่ยวกับโภชนาการครูในวิชาสุขศึกษา ก็ได้จัดการเรียนการสอนในสาระนี้และวิทยาศาสตร์ก็ทดลองหาสารอาหารเช่น หาโปรตีนหาคาร์โบไฮเดรตหาน้ำตาลในอาหารสามารถเชื่อมโยงสู่ตัวชี้วัดของกลุ่มสาระในหลักสูตรได้ -กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ให้นักเรียนได้เลือกทำกิจกรรมเกี่ยวกับเกษตร เช่นการจัทำน้ำหมักไล่แมลง การปลูกสตรอว์เบอร์รี่การเลี้ยงหมูหลุมการเลี้ยงปลาในกระชังเป็นต้น

การวัดและประเมินผลให้มีหลากหลายและดำเนินการจัดหน่วยบูรณาการในหน่วยที่นักเรียนสนใจท้าทายและตั้งคำถามเพื่อหาคำตอบ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

1.1เทศบาลตำบลทุ่งตะไคร 1.2 โรงพยาบาลทุ่งตะโก 1.3 สำนักงานสาธารณสุขอำเภอทุ่งตะโก 1.4 ภูมิปัญญาท้องถิ่น สวนนายดำ
1.5 ภูมิปัญญาท้องถิ่น สวนลุงนิล 1.6 สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์จังหวัดชุมพร 1.7 ผู้ปกครองนักเรียน

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

2.1 โรงเรียนตั้งอยู่ในพื้นที่ที่เน้นการเกษตรทำให้เอื้อต่อการทำการเกษตร 2.2 โรงเรียนตั้งอยู่ในพื้นที่ที่เน้นเรื่องสุขภาพและสุขาน่าใช้ของสวนนายดำ 2.3 บริบทของโรงเรียนและสภาพแวดล้อมมีความเหมาะสมในการเพาะปลูก เช่น มีสระน้ำไว้เลี้ยงปลา มีวัสดุจากธรรมชาติมาเป็นอาหารหมู 2.4 ผู้ปกครอง และนักเรียนเกิดความเข้าใจในการกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นการเกษตรในโรงเรียนและสุขภาพ

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

โรงเรียนใช้กระบวนการ PDCAในการทำงาน ซึ่งพอจะสรุปได้ ตามขั้นตอนดังนี้ 3.1 มีการประชุมวางแผนโดยเน้นกระบวนการ การมีส่วนร่วมของทุกคน 3.2 จัดทำแผนการปฏิบัติงานตามกิจกรรมในโครงการ 3.3 ประสานงานกับภาคีเครือข่าย 3.4 ลงมือดำเนินงานตามแผนงานที่กำหนด 3.5 ใช้กระบวนการนิเทศติดตามงานเพื่อให้เป็นไปวัตถุประสงค์ของโครงการ 3.6 ประเมินและสรุปผลการดำเนินงาน

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

4.1 ศึกษาจากเอกสาร และสื่ออินเทอร์เน็ต 4.2 อบรมให้กับแม่ครัวเกี่ยวกับการประกอบอาหาร Thai School Lunch 4.3 อบรมเชิงปฏิบัติการให้กับครูเกี่ยวกับโปรแกรม Thai School Lunch 4.4 จัดกระบวนการเรียนรู้ในกลุ่มสาระต่างๆเช่นการงานอาชีพและเทคโนโลยี พลศึกษาและสุขศึกษา 4.5จัดอบรมให้กับนักเรียนในเรื่อง อาหารปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ 4.6 นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ทำให้เกิดความชำนาญ และเกิดความรู้ในเรื่องนั้นจริงๆ

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

5.1ได้รับการสนับสนุนจากท้องถิ่น เทศบาลตำบลทุ่งตะไคร เข้ามาจัดกิจกรรมให้กับกลุ่มเป้าหมาย 5.2ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขลักษณะของนักเรียน โดยการประชุมผู้ปกครอง 5.3ร้านค้าและตลาดบริเวณโรงเรียนได้ร่วมกันสนับสนุน โดยซื้อ ผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียนที่เหลือจากการปรุงอาหารกลางวันแล้ว 5.4ชุมชนได้เข้ามาให้ความรู้เกี่ยวกับการแปรรูป อาหารจากภูมิปัญญาท้องถิ่น 5.5ได้รับการสนับสนุน การร่วมคิด ร่วมวางแผนจากผู้นำหมู่บ้านชุมชน และจากคณะกรรมการสถานศึกษา

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

มีการปลูกผักปลอดสารพิษ มีการเพาะเห็ดนางฟ้า มีการปลูกสตรอว์เบอร์รี่

กิจกรรมที่ 1,4

เพิ่มผักและผลไม้ให้มีความหลากหลาย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

มีการเลี้ยงหมูหลุม เพื่อจำหน่าย

กิจกรรมที่ 3

เลี้ยงไก่ไข่ เพื่อนำไข่มาบริโภค

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

เลี้ยงปลาดุก ปลาสวายในกระชัง

กิจกรรมที่ 2

ใช้วิธีการเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์แทนในกระชัง เนื่องจากต้นทุนน้อย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

อาหารกลางวันของโรงเรียนจะมีผักเป็นส่วนประกอบทุกมื้อและมีผลไม้หลังทานข้าว

กิจกรรมที่ 11

ควรประสานความร่วมมือไปยังผู้ปกครองให้นักเรียนได้รับประทานผักและผลไม้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

อาหารกลางวันของโรงเรียนจะมีผักเป็นส่วนประกอบทุกมื้อและมีผลไม้หลังทานข้าว

กิจกรรมที่ 11

ควรประสานความร่วมมือไปยังผู้ปกครองให้นักเรียนได้รับประทานผักและผลไม้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

อาหารกลางวันของโรงเรียนจะมีผักเป็นส่วนประกอบทุกมื้อและมีผลไม้หลังทานข้าว

กิจกรรมที่ 11

ควรประสานความร่วมมือไปยังผู้ปกครองให้นักเรียนได้รับประทานผักและผลไม้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

โรงเรียนได้รับความร่วมมือจากภูมิปัญญาท้องถิ่น เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง และแปรรูปอาหาร

กิจกรรมที่ 1

เปิดโอกาสให้ชุมชน เข้ามาเรียนรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

โรงเรียนจัดเมนูอาหารตามโปรแกรมหมุนเวียน 1 เดือน แต่มีรายการอาหารบางรายการที่ทางโรงเรียนจัดแล้วไม่สามารถลงในโปรแกรมได้ ใช้วิธีการเทียบเคียงในการเทียบสารอาหารแทน (แต่ในโปรแกรมที่จัดทุกเมนูมีสารอาหารผ่านเกณฑ์อยู่ในระดับดี)

รายการเมนูอาหารของโรงเรียน ภาพถ่าย กิจกรรมที่ 9 , 11

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง ในแต่ละระดับชั้น และมีการประมวลโดยครูประจำชั้น ภาคเรียนละ 2 ครั้ง

กิจกรรมที่ 10

นำข้อมูลที่ได้ มาพัฒนาและจัดกิจกรรมเสริมให้กับนักเรียน

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/2
เตี้ย 3.49 3.49% 4.73 4.73% 4.00 4.00% 1.33 1.33% 1.33 1.33%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 4.26 4.26% 9.09 9.09% 8.91 8.91% 4.57 4.57% 4.19 4.19%
ผอม 3.47 3.47% 2.18 2.18% 2.00 2.00% 1.52 1.52% 1.52 1.52%
ผอม+ค่อนข้างผอม 5.20 5.20% 2.73 2.73% 2.36 2.36% 4.76 4.76% 4.57 4.57%
อ้วน 9.63 9.63% 11.27 11.27% 8.91 8.91% 4.57 4.57% 4.76 4.76%
เริ่มอ้วน+อ้วน 14.64% 14.64% 13.45% 13.45% 11.64% 11.64% 10.29% 10.29% 10.29% 10.29%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

ควบคุมอาหารเที่ยงให้ความรู้และภาวะเสี่ยงเรื่องโรคอ้วน

กิจกรรมที่10

ควบคุมอาหาร และสนับสนุนการออกกำลังกาย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

ควบคุมอาหารเที่ยงให้ความรู้และภาวะเสี่ยงเรื่องโรคอ้วน

กิจกรรมที่ 10

ควบคุมอาหาร และสนับสนุนการออกกำลังกาย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

ให้นักเรียนที่มีภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลงได้ดื่มนมพร้อม ออกกำลังกายใน

กิจกรรมที่ 10

สนับสนุนให้มีการกระโดดเชือกเพื่อเพิ่มความสูง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

มีการอบรมให้ความรู้กับผู้ปกครองนักเรียนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคอ้วน

กิจกรรมที่10

ควรให้ผู้ปกครอง ควบคุมการรับประทานอาหารตอนอยู่ที่บ้าน ของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

1.1เทศบาลตำบลทุ่งตะไคร 1.2 โรงพยาบาลทุ่งตะโก 1.3 สำนักงานสาธารณสุขอำเภอทุ่งตะโก 1.4 ภูมิปัญญาท้องถิ่น สวนนายดำ
1.5 ภูมิปัญญาท้องถิ่น สวนลุงนิล 1.6 สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์จังหวัดชุมพร 1.7 ผู้ปกครองนักเรียน

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh