ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 1

รหัสโครงการ ศรร.1413-093 รหัสสัญญา 58-00-2265-ต.10 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

กิจกรรมผักไร้ดิน,

ปลูกผักไร้ดินโดยใช้ท่อพีวีซี 1.จัดทำโรงเรือนผักไร้ดินด้วยท่อพีวีซี ขนาด 2*1.5 เมตร จำนวน 5 หลัง 2.นำฟองน้ำสำหรับเพาะซึ่งกรีดตรงกลางฟองน้ำเป็นสี่แฉก มาลงถาดใส่น้ำสูงประมาณ 1 ซม หลังจากนั้นกดให้ฟองน้ำอิ่มน้ำ 4.นำเมล็ดผักที่เตรียมไว้มาเขี่ยลงในฟองน้ำที่ผ่าสี่แฉกชิ้นละ 1 เมล็ด
5. นำผ้าที่ทึบแสงมาวงคลุมไว้ 6. รดน้ำเช้าเย็น (ระวังระดับน้ำสูงเกินไปเททิ้ง) 7. ครบ 2 วันเปิดผ้าออก นำออกมารับแสงในที่สว่างแต่ไม่โดนแดด 1 วัน 8. ให้ต้นกล้าผักโดนแดดตามข้อ 6 จนครบ 7 วัน วันที่ 7 ให้นำลงปลูกในโรงเรือน 9.เมื่อผักเจริญเติบโตเต็มที่ จัดจำหน่ายผ่านสหกรณ์โรงเรียน

นำไปขยายผลสู่บ้านนักเรียนและชุมชน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

สหกรณ์ต้นแบบ โรงเรียนต้นแบบการจัดการเรียนรู้การสหกรณ์

โรงเรียนได้รับการคัดเลือกเป็นสหกรณ์ต้นแบบ อีกทั้งยังได้รับรางวัลโรงเรียนต้นแบบการจัดการเรียนรู้การสหกรณ์

จัดการบริหารโดยนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการระบบคลังสินค้าและการขายหน้าร้าน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

กระดานเศรษฐกิจและกระดานคุณค่าอาหาร

โรงเรียนจัดให้มีการทำกระดานเศรษฐกิจและกระดานคุณค่าอาหารสำหรับบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการงานอาชีพฯ สุขศึกษา และคณิตศาสตร์

จัดให้มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

การจัดกิจกรรมค่ายอ้วน และการจัดอาหารให้เหมาะสมกับภาวะโภชนาการของนักเรียนที่มีปัญหา

จัดกิจกรรมค่ายอ้วนโดยร่วมกับโรงพยาบาลเหนือคลอง และจัดทำเมนูสุขภาพให้กับนักเรียนที่มีปัญหาด้านภาวะโภชนาการ

ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

เจลล้างมือสมุนไพร

จัดทำโครงงานเจลล้างมือสมุนไพร นำผลิตภัณฑ์ของโรงเรียนนำเผยแพร่สู่ชุมชน

ขอ อย. ผลิตภัณฑ์ นำจำหน่ายเพื่อส่งเสริมรายได้แก่นักเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

โรงเรียน zero waste

มีการจัดทำกิจกรรมลดขยะในโรงเรียนให้เป็นศูนย์โดยมีธนาคารขยะทีรับซื้อขยะจากนักเรียนเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้เปลี่ยนขยะเป็นเงินตรามีการนำขยะมารีไซเคิลเป็นผลิตภัณฑ์ที่นักเรียนสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ อาทิเช่น ผ้ากั้นเปื้อน หมวก ตะกร้าใส่ของ ถังขยะคุณธรรม เป็นต้น

จัดกิจกรรมเพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีพฤติกรรมอย่างยั่งยืน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

กิจกรรรมหนูน้อยรักษ์ทันต์

กิจกรรมหนูน้อยรักษ์ทันต์เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนได้รักษาสุขภาพในช่องปากของตนเองโดยมีการดำเนินงานดังนี้ 1. โรงเรียนจัดทำหลักสูตรหนูน้อยรักษ์ทันต์ 2. อบรมนักเรียนแกนนำในการสอนน้องแปรงฟัน
3. อบรมนักเรียนแกนนำย้อมสีฟันเพื่อทดสอบประสิทธิภาพการแปรงฟัน 4. โมเดลฟันกระดาษเผยแพร่ความรู้ให้แก่นักเรียน 5.นักเรีนเผยแพร่ความรุู้ได้ถูกต้อง

มีการจัดดำเนินการอย่างต่อเน่อง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

กิจกรรมกุ๊กน้อยละเลงครัว กิจกรรม 111 เห็ดนางฟ้ามหาสเน่ห์

นำผลผลิตจากการเพาะปลูกในโรงเรียนมา มาจำหน่ายผ่านสหกรณ์ร้านค้าในโรงเรียน และนำมาเป็นวัตถุดิบในการแปรรูปอาหาร เช่น น้ำพริกเห็ด เห็ดสวรรค์ คุกกี้เห็ด นอกจากนี้ยังนำผลผลิตมาเป็นวัตถุดิบในการทำอาหารเพื่อสุขภาพ เช่น สลัดม้วน ข้าวยำสมุนไพร น้ำสมุนไพร แซนวิชแก้มใส

มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

ชุมชนบริเวณใกล้เคียงโรงเรียน ชมรมผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา วัด มัสยิด โรงพยาบาล วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีกระบี่ สถาบันพลศึกษากระบี่ ฯลฯ ให้ความร่วมมือในกาารส่งเสริมและพัฒนานวัตกรรมที่โรงเรียนกำหนดขึ้นให้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

-การให้ความร่วมมือของชุมชน ผู้ปกครอง และหน่วยงานต่างๆ -การให้ความร่วมมือของคณะครูและนักเรียน -สถานที่มีความพร้อมในการดำเนินกิจกรรม

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

มีการสร้างความรู้ ความเข้าใจและส่งเสริมสุขภาพอนามัยการจัดบริการอาหารตามหลักโภชนาการและหลักสุขาภิบาลแก่นักเรียนผู้ปกครองและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตามและเฝ้าระวัง การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ และได้รับความร่วมมือจากทุกๆฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

มีการประชุมครูและมีการวางแผนในการจัดกิจกรรมตามแผนการเรียนรู้ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้เพื่อนำไปถ่ายทอดให้แก่นักเรียน และนักเรียนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีการจัดอบรมแม่ครัวเน้นการปฏบัติจริง ตั้งแต่การแต่งกายที่ถูกสุขลักษณะจนไปถึงปริมารในการตักข้าว

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

มีการจัดประชุมผู้ปกครองเพื่อบอกนโยบายการดำเนินงานจัดกิจกรรมในแต่ละภาคเรียน เพื่อให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการส่งเสริมบุตร หลานเข้าร่วมกิจกรรม และยังมีการเชิญชวนให้คนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม เช่น การจัดกิจกรรมหนูน้อยรักทันต์ของโรงพยาบาลเหนือคลอง โครงการครู D.A.R.E ของสภ.เหนือคลอง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

มีการเพาะปลูกผักบนดินและผักไร้ดิน แต่ไม่สามารถผลิตได้เพียงพอต่อจำนวนนักเรียน เนื่องจากมีพื้นที่เพาะปลูกจำกัด

โรงเรือนผักไร้ดิน ผักในลูกล้อ ผักไต่ราว

มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ให้แก่นักเรียนได้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

โรงเรียนเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์จำนวน 3 บ่อ บ่อละ 500 ตัว เพื่อนำผลผลิตไปเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวัน

บ่อปลาดุกในโรงเรียน

มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

มีการจัดจำหน่ายอาหารเช้า ผ่านสหกรณ์ร้านค้าในโรงเรียน

ภาพถ่าย

มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

มีการจัดเมนูอาหารให้ถูกหลักโภชนาการและเหมาะสมกับวัย โดยผ่านโปรแกรม Thai school lunch

แฟ้มเอกสาร Thai school lunch

มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

มีการจัดเมนูอาหารให้ถูกหลักโภชนาการและเหมาะสมกับวัย โดยผ่านโปรแกรม Thai school lunch

แฟ้มเอกสาร Thai school lunch ภาพถ่าย

มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

มีวิทยากรปราชญ์ชาวบ้านมาให้ความรู้ เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ และพานักเรียนไปศึกษาดูงานเกียวกับการปลูกผักปลอดสารพิษภายในชุมชนใกล้เคียง

ภาพถ่ายการจัดกิจกรรม

มีการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

มีการจัดเมนูอาหารให้ถูกหลักโภชนาการและเหมาะสมกับวัย โดยมีการคำนวณปริมาณและจัดเมนูอาหารให้เหมาะสมกับวัยโดยแบ่งออกเป็น 2 ระดับ ได้แก่เด็กอนุบาล 3-5 ปี และเด็กอายุ ุ6-12 ปี

แฟ้มเอกสาร Thai school lunch

มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วน โดยมีการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเป็นประจำทุกเดือน

สมุดบันทึกสุขภาพนักเรียน

มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/22561 1/12561 1/22562 1/12562 1/2
เตี้ย 1.66 1.66% 2.33 2.33% 1.13 1.13% 0.82 0.82% 0.51 0.51% 2.86 2.86% 2.86 2.86% 1.94 1.94% 1.81 1.81% 2.12 2.12% 2.33 2.33% 1.36 1.36%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 4.14 4.14% 4.95 4.95% 3.79 3.79% 4.52 4.52% 2.36 2.36% 8.88 8.88% 8.88 8.88% 4.91 4.91% 5.13 5.13% 7.79 7.79% 6.98 6.98% 3.40 3.40%
ผอม 3.07 3.07% 2.63 2.63% 2.12 2.12% 2.88 2.88% 1.13 1.13% 1.88 1.88% 1.28 1.28% 0.41 0.41% 3.51 3.51% 3.07 3.07% 2.45 2.45% 1.55 1.55%
ผอม+ค่อนข้างผอม 9.21 9.21% 7.28 7.28% 4.04 4.04% 6.68 6.68% 3.40 3.40% 5.83 5.83% 4.05 4.05% 3.68 3.68% 8.06 8.06% 7.68 7.68% 8.83 8.83% 4.08 4.08%
อ้วน 0.00 0.00% 2.22 2.22% 1.52 1.52% 1.23 1.23% 0.72 0.72% 2.37 2.37% 1.58 1.58% 0.82 0.82% 2.37 2.37% 0.96 0.96% 5.53 5.53% 2.52 2.52%
เริ่มอ้วน+อ้วน 2.54% 2.54% 4.75% 4.75% 4.95% 4.95% 3.80% 3.80% 2.16% 2.16% 5.04% 5.04% 4.15% 4.15% 3.06% 3.06% 5.59% 5.59% 4.13% 4.13% 11.28% 11.28% 5.63% 5.63%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

มีการจัดอาหาร

สมุดบันทึกสุขภาพนักเรียน ภาพถ่าย

มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

มีการจัดทำเมนูอาหารสำหรับเด็กที่ค่อนข้างผอม เช่น ปุยฝ้ายสมุนไพร แซนวิชแก้มใส

สมุดบันทึกสุขภาพนักเรียน ภาพถ่าย

มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

มีการดื่มนมตอนเช้าเป็นประจำทุกวันและมีการออกกำลังกายโดยการกระโดดเชือก และการจัดกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ในกิจกรรมการละเล่นของไทย

สมุดบันทึกสุขภาพนักเรียน แผนการจัดกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ภาพถ่าย

มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

มีการเฝ้าสังเกตพฤติกรรมการกินอาหารและดูข้อมูลจากบันทึกสุขภาพนักเรียนเป็นรายบุคคล

สมุดบันทึกสุขภาพนักเรียน ภาพถ่าย

มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

โดยครูมีการพูดคุยให้คำปรึกษาแก่ผู้ปกครองที่มีบุตรอยู่ในภาวะเสี่ยง เพื่อนำกลับไปแก้ไขปัญหาร่วมกัน

สังเกตพฤติกรรมเด็ก และสมุดบันทึกสุขภาพนักเรียน

มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

ชุมชนบริเวณใกล้เคียงโรงเรียน ชมรมผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา วัด มัสยิด โรงพยาบาล วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีกระบี่ สถาบันพลศึกษากระบี่ ฯลฯ ให้ความร่วมมือในกาารส่งเสริมและพัฒนานวัตกรรมที่โรงเรียนกำหนดขึ้นให้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh