แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านหินผุด


“ โรงเรียนบ้านหินผุด ”

หมู่ที 5 ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายเกษม หวันอาหลี

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านหินผุด

ที่อยู่ หมู่ที 5 ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ ศรร.1411-113 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ต.2

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านหินผุด จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที 5 ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านหินผุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านหินผุด



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านหินผุด " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที 5 ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ศรร.1411-113 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านหินผุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 122 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนบ้านหินผุดจึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
  2. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชน ครู นักเรียน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียน ตามแนวทางการดำเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียน อย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
  3. เพื่อสร้างการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะเด็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียน และผู้ปกครองมีความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหารที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีการเจริญเติบโตสมวัย โดยการรับประทานอาหารที่มีคุณค่าต่อสุขภาพ สะอาด ปลอดภัย
      1. มีระบบ การกำกับติดตาม และเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียนที่ชัดเจน ต่อเนื่อง เพื่อแก้ไขปัญหาด้านโภชนาการ เช่น โรคขาดโปรตีน และพลังงานโรคอ้วน โรคขาดไอโอดีน โรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กลดลง
      2. บุคลากรในโรงเรียนได้รับการอบรมพัฒนาศักยภาพ ด้านการจัดการอาหาร และโภชนาการ แบบครบวงจร
      3. โรงเรียนได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ต่อไป
    2. ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามโครงการอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมครู/แม่ครัว/ผู้ปกครอง/นักเรียนแกนนำของโรงเรียนบ้านหินผุดระยะเวลา 1 วันใช้สถานที่โรงเรียนบ้านหินผุด ผู้เข้าอบรมจำนวน 50 คน

    วันที่ 2 ตุลาคม 2559 เวลา 08:30-16.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ชี้แจงการดำเนินงานตามโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสเพื่อถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ 2.ให้ความรู้ในการจัดบริการอาหารที่ส่งผลต่อสุขภาพที่ดีของนักเรียน 3.ให้ความรู้ในการพัฒนาสุขนิสัยและอนามัยนักเรียนและผู้ปกครอง 4.ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพนักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครู ผู้ปกครอง/นักเรียน/ผู้แทนชุมชน/ผู้นำท้องถิ่น มีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง 1.การดำเนินงานตามโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสเพื่อถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ 2.ให้ความรู้ในการจัดบริการอาหารที่ส่งผลต่อสุขภาพที่ดีของนักเรียน 3.ให้ความรู้ในการพัฒนาสุขนิสัยและอนามัยนักเรียนและผู้ปกครอง 4.ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพนักเรียน

     

    50 50

    2. ประชุมสัมมนาผู้ปกครองกลุ่มเสี่ยง(อ้วน ผอม)ครั้งที่ 1

    วันที่ 3 ตุลาคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ให้ความรู้การบริโภคอาหารที่ส่งผลต่อสุขภาพและภาวะโภชนาการที่ดี แก่ผู้ปกครองนักเรียนกลุ่มเสี่ยง(อ้วน ผอม)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้ปกครองนักเรียนกลุ่มเสี่ยง(อ้วน ผอม)มีความรู้ความเข้าใจในการจัดบริการอาหารแก่นักเรียนกลุ่มเสี่ยง(อ้วน ผอม)มากขึ้น โดยการให้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กอ้วน ผอม ในเรื่อง การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย

     

    74 30

    3. ประชุมปิดงวด 1

    วันที่ 12 ตุลาคม 2559 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.รายงานการเงินงวดที่ 1 มีความถูกต้อง 2.รายงานการดำเนินกิจกรรมผ่านระบบออนไลน์ได้ถูกต้อง

     

    2 0

    4. เลี้ยงไก่ไข่

    วันที่ 17 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ซื้อแม่พันธุ์ไก่ไข่ 72 ตัว 2.ซื้ออาหารไก่ไข 5 กระสอบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.มีแม่พันธุ์ไก่ไข่ 72 ตัว
    2. จัดซื้ออาหารไก่ไข่ จำนวน  5 กระสอบ

     

    21 0

    5. เพาะเห็ดนางฟ้า

    วันที่ 17 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดซื้อก้อนเชื้อเห็ดนางฟ้า จำนวน 400 ก้อน 2.จัดซื้อก้อนเชื้อเห็ดนางฟ้า จำนวน 104 ก้อน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. จัดซื้อก้อนเชื้อเห็ดนางฟ้า จำนวน 400 ก้อน

     

    25 14

    6. กิจกรรมเลี้ยงไก่ไข่ ครั้งที่2

    วันที่ 21 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ซื้ออาหารไก่ไข่สาวและวิตามินสำหรับไก่ไข่สาว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.มีอาหารสำหรับไก่ไข่สาวและวิตามินอย่างเพียงพอ 2.ไก่ไข่ให้ผลผลิตที่มีคุณภาพ คุ้มค่า คุ้มทุน

     

    41 0

    7. ทำปุ๋ยหมักจุลินทรีย์และปุ๋ยหมักน้ำจุลินทรีย์

    วันที่ 23 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ซื้อวัสดุ ดังนี้ 1.ซื้อกากน้ำตาล 1.5 กิโลกรัม 2.ซื้อจุลินทรีย์ EM 1 ลิตร 3.ซื้อแกลบ 4 กระสอบ 4.ซื้อมูลวัว 3 กระสอบ 5. ซื้อรำข้าว 3 กระสอบ จัดทำปุ๋ยหมักจุลินทรีย์และปุ๋ยหมักน้ำจุลินทรีย์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โรงเรียนมีปุ๋ยจุลินทรีย์และปุ๋ยหมักน้ำจุลินทรีย์ใช้ในกิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษ กิจกรรมไม้ผล กิจกรรมเลี้ยงไก่ไข่(น้ำหมักใช้ดับกลิ่นมูลไก่ไข่)

     

    27 28

    8. ซ่อมแซมโรงเรือนเลี้ยงไก่ไข่

    วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ซ่อมแซมโรงเรือนเลี่ยงไก่ไข่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โรงเรือนเลี้ยงไก่ไข่มีสภาพแข็งแรงพร้อมสำหรับการเลี้ยงไก่ไข่

     

    39 0

    9. ปลูกไม้ผล

    วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดซื้อวัสดุเพื่อนำมาใช้ในกิจกรรม ดังนี้ 1.ต้นกล้ามะละกอ 2.หน่อกล้วย 3. ปุ๋ย 4. ดินผสม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.โรงเรียนมีผลไม้ปลอดสารพิษส่งเข้าโรงอาหารกลางวันนักเรียน 2. นักเรียนได้รับประทานผลไม้ปลอดสารพิษที่นักเรียนมีส่วนร่วมในการปลูกจนได้รับผลิต

     

    17 0

    10. ปลูกผักปลอดสารพิษ

    วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ซื้อเมล็ดพันธุ์ผัก 2.ซื้อปุ๋ยมูลวัว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. โรงเรียนมีผักปลอดสารพิษปรุงอาหารกลางวันนักเรียน 2.นักเรียนมีผักปลอดสารพิษรับประทาน

     

    17 24

    11. เลี้ยงปลาดุก

    วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดซื้อพันธุ์ปลาดุกและอาหารปลาดุก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.โรงเรียนเลี้ยงปลาดุกจำนวน 800 ตัว 2. นักเรียนมีปลาดุกรับประทาน

     

    17 25

    12. ศึกษาดูงานกิจกรรมเกษตรในโรงเรียน กิจกรรมการเลี้ยงไก่ไข่ การเลี้ยงปลาดุก และการปลูกผัก

    วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำนักเรียนเยี่ยมชมศึกษาดูงานและเรียนรู้ ณ ศูนย์สาธิตฝึกอาชีพเศรษฐกิจพอเพียงมูลนิธิสงเคราะห์เด็กของสภากาชาดไทย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนและบุคลากรที่ร่วมกิจกรรมมีความรู้ในกิจกรรมเกษตรด้านการเลี้ยงไก่ไข่ การเลี้ยงเป็ด การปลูกผักผลไม้ การปักชำมัลเบอร์รี่ และสามารถนำสู่การปฏิบัติจริงได้

     

    54 42

    13. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพ

    วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กิจกรรมออกกำลังกายด้วยฮูลาฮุบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.นักเรียนและบุคลากรรวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้องมีอุปกรณ์สำหรับการออกกำลังเพิ่มขึ้น 2..นักเรียนและบุคลากรรวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้องมีสุขภาพที่ดีขึ้น

     

    112 0

    14. เพาะเห็ดนางฟ้า ครั้งที่2

    วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เพาะเห็ดนางฟ้า

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -โรงเรียนมีเห็กนางฟ้าเพื่อส่งเข้าอาหารกลางวัน -นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีเห็ดนางฟ้าเป็นอาหารกลางวันที่โรงเรียน

     

    36 0

    15. ประชุมติดตามการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 2

    วันที่ 7 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมติดตามการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 2

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมติดตามการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 2

     

    0 0

    16. คืนดอกเบี้ยเพื่อปิดโครงการ

    วันที่ 7 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนดอกเบี้ยเพื่อปิดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คืนดอกเบี้ยเพื่อปิดโครงการ

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
    ตัวชี้วัด : 1. เกิดกระบวนการการประเมิน ติดตามและเผ้าระวังแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน ภาคเรียน 2ครั้ง 2. ภาวะอ้วน ผอม ไม่เกิน ไม่เกิน 7 % (ทั้งนี้ดูตามเกณฑ์ของโรงเรียนเป็นหลัก) 3. ภาวะเตี้ย ไม่เกิน 7 % 4. เด็กมีการปรับพฤติกรรมการกิน โดยกินผักและผลไม้ เฉลี่ยในมื้อกลางวันประมาณ 40-100 กรัม (อาจดูตามเกณฑ์ของแต่ละโรงเรียน ที่แยกเป็น ช่วงอนุบาล และ ช่วงปฐม) 5. มีการนำโปรแกรม Thai school lunch มาใช้ในการกำหนดเมนูอาหารกลางวัน

    1.สามารถดำเนินการได้ครบถ้วนตามเป้าหมายและตัวชี้วัด ทั้งนี้ เด็กที่มีภาวะอ้วน เตี้ยและผอมไม่เกิน 7 % (อ้วน 0. ผอมและเตี้ยในปีการศึกษา 2559 ภาคเรียนที่ 2/2 ) 2.

    2 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชน ครู นักเรียน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียน ตามแนวทางการดำเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียน อย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
    ตัวชี้วัด : จำนวนกิจกรรมที่ ผู้ปกครอง ชุมชน ครู นักเรียน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วม 40 %

    กิจกรรมเกษตรในโรงเรียน จำนวน 5 กิจกรรม ดังนี้ 1. การปลูกผักปลอดสารพิษ
    2. การปลูกไม้ผล
    3.การเลี้ยงไก่ไข่
    4.การเลี้ยงปลาดุก
    5.การการเพาะเห็ดนางฟ้า

    3 เพื่อสร้างการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะเด็ก
    ตัวชี้วัด : 1. เด็กมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินผักและผลไม้เพิ่มขึ้น เฉลี่ยประมาณ 40-100 กรัม ในมื้ออาหารเย็น และอาหารว่าง (ติตตามผลโดยครูและผู้ปกครอง) 2.นักเรียนประมาณ 80% มีพฤติกรรมสุขภาวะที่ดี ได้แก่ การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร มีการแปรงฟันหลังทานอาหาร รวมทั้งแปรงฟันก่อนเข้านอน และมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถัง 3. ทางโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมออกกำลังกาย ก่อนเลิกเรียน (อาจจะเน้นที่เด็กมีภาวะอ้วนเป็นพิเศษ) 4. นักเรียนประมาณ 80 % ของจำนวนเด็กในโรงเรียน ให้ความร่วมมือทำกิจกรรมศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน (2) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชน ครู นักเรียน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียน ตามแนวทางการดำเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียน อย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (3) เพื่อสร้างการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะเด็ก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านหินผุด

    รหัสโครงการ ศรร.1411-113 รหัสสัญญา 58-00-2265-ต.2 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
    1. กิจกรรมเลี้ยงไก่
    2. กิจกรรมเลี้ยงปลาดุก
    3. กิจกรรมเพาะเห็ดนางฟ้า

    1.กิจกรรมเลี้ยงไก่ดับกลิ่นมูลไก่ด้วยน้ำหมัก/ปุ๋ยหมักจุลินทรีย์ ขั้นตอน/รายละเอียด อุปกรณ์ 1.กากน้ำตาล 1 ช้อนโต๊ะ
    2.น้ำซาวข้าว1ลิตร
    3. EM 2 ช้อนโต๊ะ
    วิธีทำ นำกากน้ำตาล EM ตามสัดส่วน เทลงในขวดน้ำซาวข้าวเขย่าให้เข้ากันทิ้งไว้ 2 วัน แล้วเปิดฝาขวดเพื่อลดความดันอากาศ วันละครั้ง จากนั้นหมักทอ้งไว้ประมาณ 1 สัปดาห์
    การนำน้ำหมัก/ปุ๋ยน้ำหมักไปใช้
    1.นำน้ำหมัก/ปุ๋ยหมักจุลินทรีย์ใส่ขวดสเปรย์ฉีดบนมูลไก่หลังเก็บไข่ทุกวันเพื่อดับกลิ่นมูลไก่


    2. กิจกรรมเลี้ยงปลาดุก "เลี้ยงปลาดุกในท่อซิเมนต์" ขั้นตอน/รายละเอียด 1.นำท่อซีเมนต์มาเรียงต่อกันตามต้องการลาดก้นพื้นท่อปูนผสมยากันซึม 2.เจาะท่อบ่อซีเมนต์เพื่อให้น้ำไหลวนได้ทุกบ่อและปลาดุกว่ายวนได้ทุกบ่อ

    3.กิจกรรมเพาะเห็ดนางฟ้า "นำก้อนเห็ดที่หมดเชื้อแล้วมาทำปุ๋ย" ขั้นตอน/รายละเอียด 1.นำก้อนเห็ดที่หมดเชื้อแล้วมาทำปุ๋ยมาผสมด้วยกากน้ำตาลและEMคลุกเคล้าให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกัน 2.หมักทิ้งไว้1เดือนโดยคอยพลิกกลับปุ๋ยที่หมักไว้ทุกๆ3 วัน 3.นำปุ๋ยไปใช้ใส่ผักผลไม้และปรับปรุงดิน

    ขยายผลต่อชุมชนให้เกิดความยั่งยืนและต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โรงเรียนบ้านหินผุด จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ ศรร.1411-113

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายเกษม หวันอาหลี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด