ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านหนองสองพี่น้อง

รหัสโครงการ ศรร.1412-105 รหัสสัญญา 58-00-2265-ต.5 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

ผลงานการปฎิบัติที่เป็นเลิศของสถานศึกษาพอเพียง

โรงเรียนบ้านหนองสองพี่น้อง ได้นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเผยแพร่เพือเป็นการสร้างความรู้ ความเข้าใจ แก่ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ตลอดจนผู้ปกครองและคณะกรรมการสถานศึกษา โดยจัดอบรมปฎิบัติการออกแบบการเรียนรู้แบบบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแก่ครูผู้สอนทุกคน

มีการขยายผลให้โรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายและการจัดทำตลาดนัดพอเพียง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

การใช้โปรแกรม Thai School Lunch

โรงเรียนบ้านหนองสองพี่น้องมีการจัดเมนูอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนโดยใชโปรแกรม Thai School Lunch

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

น้ำยาอเนกประสงค์ชีวภาพจากน้ำหมักมะกรูด

กิจกรรมชุมนุมการทำน้ำยาอเนกประสงค์จากน้ำหมักธรรมชาติประกอบด้วยรูปแบบกระบวนการที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการกิจกรรมโดยครูทำหน้าที่เป็นผู้ให้คำปรึกษา จัดกิจกรรมให้ในโรงเรียนและใช้แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนให้เกิดประโยชน์ โดยกิจกรรมชุมนุมที่จัดขึ้นเป็นกิจกรรมนักเรียนในลักษณะของกิจกรรมตามความถนัดและความสนใจ ซึ่งมุ่งเน้นการเติมเต็มความรู้ ความชำนาญและประสบการณ์ของผู้เรียนให้กว้างขวางยิ่งขึ้น กิจกรรมชุมนุมการทำน้ำยาอเนกประสงค์จากน้ำหมักธรรมชาติจะทำให้ผู้เรียนจะมีทักษะการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมมากขึ้นสามารถสร้างสรรค์ผลงานหรือผลิตภัณฑ์หรือวิธีการใหม่มีจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ มีความเชื่อมั่นพัฒนาตนเองได้ และแสดงออกได้อย่างสร้างสรรค์ มีสมาธิในการทำงาน มีระเบียบวินัย ความรับผิดชอบ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรมชุมนุมการทำน้ำยาอเนกประสงค์จากน้ำหมักธรรมชาติ 1. เพื่อสร้างและนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นรับรู้ได้ด้วยความภาคภูมิใจ 2. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อกิจกรรมชุมนุมการทำน้ำยาอเนกประสงค์จากน้ำหมักธรรมชาติ

ศึกษาการใช้วัสดุอุปกรณ์อื่นมาทำน้ำยาอเนกประสงค์

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

ผลงานการปฎิบัติที่เป็นเลิศของสถานศึกษาพอเพียง การสร้างวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมด้วยถุงนม

  1. การสำรวจขยะและเศษวัสดุเหลือใช้ที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ภายในโรงเรียน
  2. การรวมกลุ่มระดมความคิดถึงการนำขยะที่มีมากในโรงเรียน คือถุงนม มาประดิษฐ์เป็นของใช้อะไรได้บ้าง ซึ่งนักเรียนสามารถคิดสิ่งประดิษฐ์ได้หลายอย่าง เช่น ผ้าปูโต๊ะ ผ้าคลุมทีวี ผ้าคลุมคอมพิวเตอร์ เสื้อกันฝน เป็นต้น

เผยแพร่ขยายผลสู่โรงเรียนใกล้เคียง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

โครงการพัฒนาสภาวะสุขภาพของนักเรียน โดยใช้กลยุทธ์สายใยรัก

ประกอบด้วย 1. สายใยรักจากผู้บริหารสถานศึกษาและคณะกรรมการสถานศึกษา เช่น การพัฒนาอาคารเรียน การพัฒนาห้องพยาบาล การพัฒนาห้องสมุด การพัฒนาห้องส้วม การพัฒนาโรงอาหาร 2. สายใยรักจากครู เช่น กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน กิจกรรมการปลูกผักปลอดสารพิษ กิจกรรมกีฬาต้านยาเสพติด 3. สายใยรกจากผู้ปกครองและชุมชน เช่น กิจกรรมผู้ปกครอง และชุมชน เช่น กิจกรรมผู้ปกครองร่วมใจใส่ใจสุขภาพ กิจกรรมชุมชนอุ่นใจ 4. สายใยรักจากนักเรียน เช่น กิจกรรมห่วงใยใส่ใจสุขภาพ กิจกรรมใส่ใจสิ่งแวดล้อม ส่งผลให้โรงเรียนได้รับการคัดเลือกเป็นโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส รางวัลส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร และโรงเรียนสุขบัญญัติ

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

  1. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน2. เครือข่ายผู้ปกครอง 3. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองช้างแล่น 4. โรงพยาบาลห้วยยอด 5. องค์การบริหารส่วนตำบลหนองช้างแล่น

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานภาคีเครือข่าย เช่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองช้างแล่น โรงพยาบาลห้วยยอด ให้ความร่วมมือสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมของโรงเรียนบ้านหนองสองพี่น้อง

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

สภาพแวดล้อมของโรงเรียนบ้านหนองสองพี่น้อง มีพื้นที่เอื้ออำนวยในการดำเนินกิจกรรม อยู่ใกล้ชุมชน ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมมีส่วนร่วม และให้ความร่วมมือสนับสนุนเป็นอย่างดี

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

โรงเรียนบ้านหนองสองพี่น้องมีกระบวนการเรียนรู้ให้นักเรียนใช้วิธีการสร้างความตระหนัก /ปฏิบัติจริง/ เสริมแรง / ตรวจสอบ ซึ่งจะทำให้นักเรียนเกิดทักษะในการดำเนินชีวิตโดยมีครูเป็นที่ปรึกษา ส่วนกระบวนการเรียนรู้ของแม่ครัว คือ ให้แม่ครัวเปิดใจยอมรับสิ่งดีๆ เปิดใจยอมรับสิ่งใหม่ๆที่ไม่เคยรู้มาก่อน นำแม่ครัวไปอบรมเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจมากขึ้นและนำไปปฏิบัติ

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

โรงเรียนบ้านหนองสองพี่น้องเน้นกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน เริ่มตั้งแต่การประชุมระดมความคิดเพื่อขับเคลื่อนโครงการเด็กไทยแก้มใส /จัดอบรมเพื่อให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษแก่ผู้ปกครองและชุมชน /เชิญชวนผู้ปกครอง ชุมชนมาช่วยปรับภูมิทัศน์เพื่อให้เหมาะกับเป็นศูนย์การเรียนรู้ /เชิญผู้ปกครองและคนในชุมชนมาเป็นวิทยากรเรื่องการปลูกผัก โดยใช้กุลยุทธ์สายใยรัก

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

นำผลผลิตที่ได้จากการปลูกในแปลงเกษตรมาจัดทำอาหารกลางวันได้สำหรับบางวัน

แปลงเกษตรโรงเรียน

สร้างเครือข่ายผู้ปกครองในการรับซื้อผักเพื่อให้เพียงพอในการทำอาหารกลางวัน และขยายแปลงเกษตรของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

โรงเรียนจัดกิจกรรมการเลี้ยงไก่ไข่เพื่อนำไข่ไก่ มาประกอบอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน

โรงเลี้ยงไก่

ต่อขยายโรงเลี้ยงไก่และซื้อไก่มาเพิ่มจำนวน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

โรงเรียนจัดกิจกรรมการเลี้ยงปลาดุก มาประกอบอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน

บ่อปลาดุก

ต่อขยายบ่อปลาดุกเพิ่มขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

ได้รับผลไม้ 3 ครั้งต่อสัปดาห์และผักรับประทานทุกวัน

เมนูอาหาร

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

ได้รับผลไม้ 3 ครั้งต่อสัปดาห์และผักรับประทานทุกวัน

เมนูอาหาร

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

ได้รับผลไม้ 3 ครั้งต่อสัปดาห์และผักรับประทานทุกวัน

เมนูอาหาร

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

รับซื้อผักและผลไม้ปลอดสารพิษจากชุมชนผู้ปกครองแกนนำโดยสร้างขอตกลงผักและผลไม้ปลอดสารเคมีทุกชนิด

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

จัดทำเมนูอาหารสำหรับเด็กทุกสัปดาห์โดยร่วมมือกับเจ้าหน้าที่อาหารกลางวันและคนจัดซื้อ

 

ขยายผลในการใช้โปรแกรมให้กับครูในทุกระดับชั้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการชั่งนำ้หนักส่วนสูงของเด็กในแต่ละชั้นโดยมีครูประจำชั้นเป็นผู้รับผิดชอบ

แบบบันทึกการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง/ แบบบันทึกภาวะโภชนาการ

ประสานกับเจ้าหน้าที่อนามัยหรือโรงพยาบาลเพื่อแก้ปัญหาเด็กอ้วน เตี้ย โดยมีการลงทะเบียนติดตามผล

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/22562 1/12562 1/22562 2/12562 2/2
เตี้ย 4.55 4.55% 4.55 4.55% 4.05 4.05% 3.98 3.98% 3.66 3.66% 3.66 3.66% 3.66 3.66% 3.14 3.14% 3.13 3.13% 3.13 3.13% 3.45 3.45% 3.35 3.35% 3.95 3.95% 4.47 4.47% 5.11 5.11% 4.52 4.52% 4.28 4.28% 4.32 4.32% 4.32 4.32% 3.17 3.17%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 9.66 9.66% 9.66 9.66% 8.09 8.09% 8.52 8.52% 8.38 8.38% 7.33 7.33% 7.33 7.33% 6.28 6.28% 6.77 6.77% 6.77 6.77% 5.17 5.17% 5.03 5.03% 9.60 9.60% 10.06 10.06% 9.66 9.66% 7.34 7.34% 8.56 8.56% 8.65 8.65% 7.03 7.03% 6.88 6.88%
ผอม 4.59 4.59% 4.02 4.02% 4.09 4.09% 3.45 3.45% 2.15 2.15% 2.09 2.09% 2.09 2.09% 2.09 2.09% 2.14 2.14% 2.14 2.14% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.56 0.56% 0.00 0.00% 0.57 0.57% 0.56 0.56% 1.07 1.07% 2.70 2.70% 2.16 2.16% 1.06 1.06%
ผอม+ค่อนข้างผอม 15.60 15.60% 8.62 8.62% 7.60 7.60% 5.75 5.75% 7.53 7.53% 6.81 6.81% 6.81 6.81% 6.81 6.81% 5.88 5.88% 5.88 5.88% 3.45 3.45% 3.39 3.39% 10.17 10.17% 8.38 8.38% 4.57 4.57% 3.95 3.95% 3.21 3.21% 8.11 8.11% 7.57 7.57% 4.23 4.23%
อ้วน 4.59 4.59% 3.45 3.45% 2.34 2.34% 3.45 3.45% 4.30 4.30% 4.19 4.19% 3.66 3.66% 3.66 3.66% 3.74 3.74% 3.74 3.74% 2.30 2.30% 2.26 2.26% 16.95 16.95% 11.17 11.17% 9.71 9.71% 10.73 10.73% 11.76 11.76% 20.54 20.54% 20.54 20.54% 7.41 7.41%
เริ่มอ้วน+อ้วน 8.72% 8.72% 6.90% 6.90% 6.43% 6.43% 6.90% 6.90% 8.06% 8.06% 7.33% 7.33% 7.33% 7.33% 6.81% 6.81% 6.95% 6.95% 6.95% 6.95% 5.75% 5.75% 5.08% 5.08% 16.95% 16.95% 20.67% 20.67% 19.43% 19.43% 19.21% 19.21% 20.86% 20.86% 22.16% 22.16% 23.78% 23.78% 19.05% 19.05%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

1.จัดอาหารที่มีคุณค่าทางสารอาหารครบถ้วนให้กับเด็กนักเรียนทุกคน 2.ประสานงานกับผู้ปกครองของนักเรียนในการรับประทานอาหารเมื่ออยู่ที่บ้าน 3.ให้ความรู้เรื่องอาหารยอดฮิตแต่ให้โทษกับร่างกาย 4.จัดกิจกรรมหน้าเสาธงในการบริหารกายยามเช้าทุกวันรวมทั้งส่งเสริมการเล่นกีฬาตามศักยภาพของนักเรียน

แบบบันทึกการออกกำลังกาย /เมนูอาหาร /บันทึกการชั่งน้ำหนัก

1.ให้ความรู้กับผู้ปกครองเกี่ยวกับโทษของอาหาร 2.เพิ่มความเข้มแข็งของ อย.น้อยโดยจัดการอบรมและให้ความสำคัญในการทำหน้าที่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

1.จัดอาหารที่มีคุณค่าทางสารอาหารครบถ้วนให้กับเด็กนักเรียนทุกคน 2.ประสานงานกับผู้ปกครองของนักเรียนในการรับประทานอาหารเมื่ออยู่ที่บ้าน 3.ให้ความรู้เรื่องอาหารยอดฮิตแต่ให้โทษกับร่างกาย 4.จัดกิจกรรมหน้าเสาธงในการบริหารกายยามเช้าทุกวันรวมทั้งส่งเสริมการเล่นกีฬาตามศักยภาพของนักเรียน

แบบบันทึกการออกกำลังกาย /เมนูอาหาร /บันทึกการชั่งน้ำหนัก

1.ให้ความรู้กับผู้ปกครองเกี่ยวกับโทษของอาหาร 2.เพิ่มความเข้มแข็งของ อย.น้อยโดยจัดการอบรมและให้ความสำคัญในการทำหน้าที่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

1.จัดอาหารที่มีคุณค่าทางสารอาหารครบถ้วนให้กับเด็กนักเรียนทุกคน 2.ประสานงานกับผู้ปกครองของนักเรียนในการรับประทานอาหารเมื่ออยู่ที่บ้าน 3.ให้ความรู้เรื่องอาหารยอดฮิตแต่ให้โทษกับร่างกาย 4.จัดกิจกรรมหน้าเสาธงในการบริหารกายยามเช้าทุกวันรวมทั้งส่งเสริมการเล่นกีฬาตามศักยภาพของนักเรียน

แบบบันทึกการออกกำลังกาย /เมนูอาหาร /บันทึกการชั่งน้ำหนัก

1.ให้ความรู้กับผู้ปกครองเกี่ยวกับโทษของอาหาร 2.เพิ่มความเข้มแข็งของ อย.น้อยโดยจัดการอบรมและให้ความสำคัญในการทำหน้าที่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

จัดกิจกรรมร่วมกับ อนามัย ในการดูแลเด็กอ้วนเป็นพิเศษโดยมีการให้ความรู้กับผู้ปกครองในการควบคุมอาหารให้กับนักเรียนกลุ่มนี้เป็นพิเศษ

แบบบันทึกภาวะโภชนาการ

1.ให้ความรู้กับผู้ปกครองในการดูแลการรับประทานอาหารให้กับนักเรียนในเวลาที่นักเรียนอยู่ที่บ้าน 2.ให้ความสำคัญกับการออกกำลังกายทุกรูปแบบ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

ผู้ปกครองของเด็กอ้วนจะได้เข้ารับการอบรมจากนักโภชนาการพร้อมกับนักเรียน

ภาพการอบรม

กระตุ้นให้ผู้ปกครองเห็นความสำคัญในการดูแลนักเรียนเรื่องการรับประทานอาหารเมื่ออยู่ที่บ้านโดยหลีกเลี่ยงจากอาหารขยะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

  1. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน2. เครือข่ายผู้ปกครอง 3. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองช้างแล่น 4. โรงพยาบาลห้วยยอด 5. องค์การบริหารส่วนตำบลหนองช้างแล่น

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh