แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โรงเรียนบ้านวังปริง จ.พัทลุง
“ โรงเรียนบ้านวังปริง จ.พัทลุง ”
โรงเรียนบ้านวังปริง ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายบุญธรรม พัชรเลขกุล
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านวังปริง จ.พัทลุง
ที่อยู่ โรงเรียนบ้านวังปริง ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ ศรร.1411-110 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ต.21
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านวังปริง จ.พัทลุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านวังปริง ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านวังปริง จ.พัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านวังปริง จ.พัทลุง
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านวังปริง จ.พัทลุง " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนบ้านวังปริง ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ศรร.1411-110 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านวังปริง จ.พัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 115 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียน บ้านวังปริง จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตามและเฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
- เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชุมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดาเนินงานความสาเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร
- เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนเพิ่มขึ้น และเพื่อขยายผลเครือข่ายโรงเรียนในอำเภอ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กนักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
- โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
- พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดาเนินงาน
- ชุมชนมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน
- ขยายผลเครือข่ายโรงเรียนในอำเภอมาร่วมโครงการจำนวน10โรงดังนี้
- โรงเรียนบ้านควนประกอบ
- โรงเรียนบ้านต้นประดู่
- โรงเรียนวัดควนขี้แรด
- โรงเรียนบ้านคู
- โรงเรียนบ้านป่าแก่
- โรงเรียนบ้านพูดกรป.กลาง
- โรงเรียนบ้านนาทุ่งโพธิ์
- โรงเรียนบ้านหน้าวัง
- โรงเรียนวัดเขาวงก์
- โรงเรียนวัดพังกิ่ง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมโปรแกรม Thai School Lunch การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ
วันที่ 12 พฤษภาคม 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ครูเข้ารับอบรม
2.ผู้รับผิดชอบจัดรายการอาหารกลางวันตามโปรแกรม Thai School Lunch
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้รับบริการอาหารกลางวันที่มีคุณภาพ
0
2
2. ให้ความรู้เกี่ยวกับสหกรณ์และการทำบัญชีครัวเรือนแก่นักเรียน / ออมทรัพย์ /จำหน่ายสินค้า
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ขออนุมัตงบประมาณเพื่อจัดอบรมนักเรียน
- เชิญวิทยากรให้ความรู้
- จัดอบรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในกิจกรรมสหกรณ์
- นักเรียนสามารถทำบันทึกรายรับรายจ่ายของตนเองได้ถูกต้อง
235
86
3. จัดนิทรรศการ
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดนิทรรศการแสดงผลงานนักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นำเสนอผลงานในกิจกรรมต่างๆของโรงเรียน
255
0
4. ปรับปรุงสภาพแวดล้อมในโรงเรียน
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.สำรวจสภาพอาคาร สำนักงาน โรงอาหาร และห้องน้ำห้องส้วม
2. ปรับปรุงสภาพแวดล้อม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อาคารเรียน สำนักงาน โรงอาหาร และสภาพแวดล้อม สะอาด ปลอดภัย สวยงาม
255
117
5. ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมลดเวาลเรียน เพิ่มเวลารู้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนเข้าร่วมปฎิบัติกิจกรรมทุกคน
0
117
6. ทำน้ำหมักชีวภาพ
วันที่ 7 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- เชิญวิทยากรจากสำนักงานเกษตรจังหวัดพัทลุง มาให้ความรู้ และฝึกปฎิบัติจริง
- เตรียมถังน้ำหมัก และวัสดุอุปกรณ์
- นำเศษพืชผักสดที่เหลือจากโครงการอาหารกลางวันนักเรียนใส่ในถังหมัก
- เติมน้ำ กากน้ำ จุลินทรย์ปิดฝาให้มิดชิด
- น้ำบรรจุขวด
- นำไปใช้ผสมน้ำรดพืชผัก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีน้ำหมักชีวภาพใช้รดพืชผัก ไม้ดอกไม้ประดับ
เผยแพร่สู่ชุมชน
0
36
7. ให้ความรู้เกี่ยวกับการเกษตร
วันที่ 25 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ครูให้ความรู้แก่นักเรียน เรื่องวิธิและขั้นตอนการปลูกผัก เลี้ยงปลา เพาะเห็ด
- สอนวิธีการทำบัญชีรายรับ รายจ่าย และบัญชีครัวเรือน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมได้
0
59
8. ปลูกผักสวนครัว
วันที่ 1 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.เตรียมแปลงผัก พันธุ์ผัก ปุ๋ยคอก
2. แบ่งกลุม่นักเรียนผู้รับผิดชอบ
3. ให้นักเรียนปลูกผักแต่ละชนิด และรับผิดชอบดูแลรักษา
4.นำผลผลิตไปปประกอบอาหารสนับสนุนโครงการอาหารกลางวัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นำผลผลิตไปปประกอบอาหารสนับสนุนโครงการอาหารกลางวัน
นำไปประกอบการจัดกิจกรรม ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
0
112
9. เพาะเห็ด
วันที่ 2 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ซื้อวัสดุ อุปกรณ์ ก้อนเชื้อเห็ด และท่อซีเมนต์
- นำก้อนเห็ด บรรจุในท่อซีเมนต์
- คลุมปิดปากท่อด้วยตาข่ายดำ
- ดูแลรดนำ ทุกวัน
- เก็บดอกเห็ดสนับสนุนโครงการอาหารกลางวัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- เก็บดอกเห็ดสนับสนุนโครงการอาหารกลางวัน
- จำหน่ายบุคลากรและผู้ปกครอง
0
25
10. ให้ความรู้นักเรียนด้านสุขภาพ (ฝึกมวยไทย เต้นแอร์โรบิก)
วันที่ 3 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- เสนอขออนุมัติงบประมาณ
- จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการฝึกสอนมวยไทย
- จัดกิจกรรมสอนมวยไทย ในคาบชมรม และกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
- เชิญวิทยากรจาก สภ.กงหรา ให้ความรู้เรื่องยาเสพติด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง
- นักเรียนมีโอกาสในการชกมวยบนเวทีการแข่งขัน เพิ่มรายได้ระหว่างเรียน
- นักเรียนจัดเก็บอุปกรณ์ในการรับปประทานอาหารได้ถูกสุขลักษณะ
- นักเรียนได้รับความรู้เรื่องการป้องกันตนจากยาเสพติด
255
36
11. เลี้ยงผึ้งโพรง
วันที่ 31 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.สร้างบ้านผึ้ง จำนวน 10 หลัง
2. นำบ้านผึ่งไปวางในบริเวณโรงเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ยังไม่เกิดผลสำเร็จ
0
25
12. เฝ้าระวังโภชนาการและสมรรถภาพร่างกายนักเรียน
วันที่ 1 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง นักเรียนภาคเรียนละ 2 ครั้ง
2. จัดอาหารเสริมนมในภาคเช้า
3. จัดอาหารมือกลางวันตามโปรแกรม Thai School Lunch
4. สรุปภาวะโภชนาการ
5.ให้อาหารว่างในภาคบ่ายสำหรับนักเรียนที่มีปัญหาทุพโภชนาการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ ร้อยละ 69.31
- นักเรียนที่มีน้ำหนักมากกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 8.91
- นักเรียนที่มีนำ้หนักค่อนข้างมาก ร้อยละ 6.93
- นักเรียนที่มีน้ำหนักค่อนข้างน้อย ร้อยละ 10.89
5. นักเรียนที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 3.96
- นักเรียนที่ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ ร้อยละ 72.28
- นักเรียนที่มีส่วนสูง สูงกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 0.99
- นักเรียนที่ส่วนสูง ค่อนข้างสูง ร้อยละ 4.95
- นักเรียนที่มีส่วนสูงค่อนข้างเตี้ย ร้อยละ 13.86
- นักเรียนที่ส่วนสูง เตี้ย ร้อยละ 7.92
255
243
13. ป้ายแหล่งเรียนรู้ 10 จุด / ป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ
วันที่ 13 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ออกแบบป้าน รายละเอียดของแต่ละกิจกรรม
- สั่งทำป้าย
- ติดตั้งป้ายตามสถานที่จัดกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีป้ายแนะนำกิจกรรมประกอบการเรียนรู้
0
3
14. ประชุมสัญจรทำรายงานออนไลน์งวดที่ 1
วันที่ 13 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.รักษาการผู้อำนวยการโรงเรียน ครูเกษตร ครูการเงิน ครูอนามัยโรงเรียน และครูบันทึกข้อมูล เข้ารับการประชุม
2. จัดทำข้อมูลรายงานผลการดำเนินงานงวดที่ 1
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้จัดทำรายงานผล และบันทึกข้อมูลการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1 เพื่อขอรับงบประมาณงวดที่ 2
0
5
15. อบรมผู้เฝ้าระวัง/บริหารโครงการ แม่ครัว/ผู้ปกครอง/แกนนำนักเรียนได้รับการอบรมความรู้ มีความเข้าใจ การใช้เมนูอาหารนำไปปฏิบัติได้จริง
วันที่ 4 พฤศจิกายน 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
- ชี้แจงทำความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดรายการอาหารที่เหมาะกับเด็กวัยเรียน
- อบรมและให้ความรู้แก่แม่ครัวในการจัดทำ และปรุงอาหาร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้รับสารอาหารที่ครบ 5หมู่ในแต่ละวัน
- นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดี
0
13
16. เตรียมบ่อ เลี้ยงปลากินพืช และเลี้ยงปลาดุก
วันที่ 24 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ซื้อพันธุ์ปลาดุก (บิกอุย) 1,000 ตัว
- พันธุ์ปลากินพืช(ปลานิล) สนับสนุนจาก ประมงจังหวัดพัทลุง จำนวน 100 ตัว
- จัดเวรผู้รับผิดชอบให้อาหารปลา
- จัดซื้ออาหารปลา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- สนับสนุนโครงการอาหารกลางวันนักเรียน โดยผ่านกิจกรรมสหกรณ์ร้านค้าโรงเรียนบ้านวังปริง
- แข่งขันกิจกรรมแปรรูปอาหาร
- จำหน่าย ครู บุคลากร และผู้ปกครอง
0
29
17. แบบประเมินสุขภาพรายบุคคล
วันที่ 16 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ให้ความรู้เกี่ยวกับสุขอนามัยเบื้องต้น
- เฝ้าระวังดูแลสุขอนามัยนักเรียน
- ประเมินสุขภาพนักเรียนรายบุคคล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนมีสุขอนามัยที่ดี
นักเรียนมีภาวะทุพโภชนาการลดลง
52
50
18. ทำปุ๋ยหมัก / ปุ๋ยชีวภาพ
วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- เตรียมสถานที่เพื่อทำกองปุ๋ยหมัก จำนวน 2 กอง
- ครูให้ความรู้ในการทำปุ๋ยหมัก
- นักเรียนจัดหาวัสดุอุปกรณ์
- นำเศษวัสดุ ใบไม้ หญ้าแห้ง ผสมกับมูลสัตว์กองสลับเป็นชั้นๆ ใส่กากน้ำตาล จุลินทรีย์ และปุ๋ยยูเรีย ผสมน้ำรดให้ชุ่ม
- คลุมด้วยวัสดุทึบแสง 15 วัน กลับกองปุ๋ยหมัก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นำปุ๋ยหมักที่ได้ใส่โคนต้นไม้ ไม้ดอก ไม้ประดับในบริเวณโรงเรียน
- เผยแพร่ความรู้สู่ชุมชน
0
57
19. เกษตรที่บ้านนักเรียน
วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ตืดตามผลโดยการสัมภาษณ์ สอบถาม และเยี่ยมบ้านนักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนมีพืชผักสวนครัวไว้รับประทาน
0
92
20. การแปรงฟันหลังอาหารเที่ยง
วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- นักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารมื้อเที่ยง ทุกวัน
- ตรวจอุปกรณ์การแปรงฟัน
- ตรวจฟันโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ปีละ 2 ครั้ง
- จัดซื้ออุปกรณืการแปรงฟัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนมีสุขภาพพันที่ดี
0
114
21. ทดสอบสมรรถนะนักเรียน
วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- แต่งตั้งคณะทำงานดำเนินการทดสอบสมรรถภาพนักเรียน
- จำแนกนักเรียนตามอายุเพื่อทดสอบ
- ดำเนินการทดสอบ
- สรุปผล และรายงานผลการทดสอบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ร้อยละ 100
2. นักเรียนมีสุขภาพที่ดี และผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 100
0
101
22. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสหกรณ์และการทำบัญชีครัวเรือนแก่นักเรียน / ออมทรัพย์ 2
วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสหกรณ์และการทำบัญชีครัวเรือนแก่นักเรียน / ออมทรัพย์ ครั้งที่ 2
0
0
23. อบรมให้ความรู้นักเรียนด้านสุขภาพ (ฝึกมวยไทย เต้นแอร์โรบิก) ครั้งที่ 2
วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ให้ความรู้นักเรียนด้านสุขภาพ (ฝึกมวยไทย เต้นแอร์โรบิก) ครั้งที่ 2
0
0
24. ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ห้องส้วม
วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
- สำรวจความเสียหายของห้องน้ำห้องส้วม และระบบสาธารณูปโภคหลังน้ำท่วม
- ประชุมเสนอของบประมาณจัดซ่อมระบบสาธารณูปโภค
- ดำเนินการจัดทำปรับปรุงห้องส้วม จำนวน 6 ที่
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- มีห้องน้ำสะอาด และพร้อมใช้งาน เพียงพอกับจำนวนนักเรียน
- โรงเรียนมีระบบสาธารณูปโภคที่ดี
0
3
25. ปรับปรุงโรงอาหาร
วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 15:30 น.กิจกรรมที่ทำ
- เสนอกิจกรรมการดำเนินงานปรับปรุงโรงอาหาร
- ดำเนินการตามกิจกรรม
- จัดทำและจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- โรงอาหารมี โต๊ะ และเก้าอีเพียงพอ และพร้อมใช้งาน
- นักเรียนทุกชั้นมีที่คว่ำจาก เพื่อเก็บถาดหลุมประจำห้องเรียน
- บริเวณที่ล้างจานมีความสะอาด
0
101
26. การประเมินภาคความรู้ด้านต่างๆ
วันที่ 17 มีนาคม 2560 เวลา 15:30 น.กิจกรรมที่ทำ
- สอบถามความพึงพอใจผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย
- ประเมินความพึงพอใจต่อกิจกรรม
- สรุปผล และรายงานผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความพึงพอใจ ต่อการจัดกิจกรรมทุกกิจกรรม ในระดับ ดีมาก
255
225
27. เพาะชำต้นไม้
วันที่ 20 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- สอน สาธิต การตอนกิ่ง
- นักเรียนเตรียมวัสดุอุปกรณ์
- นักเรียนปฏิบัติตามจริง
- เพาะชำกล้าไม้ผลในถุงดำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- มีกิ่งโกสน ปลูกในกระถาง สร้างความสวยงามในโรงเรียน
- มีกล้าไม้ผล นำไปปลูกที่บ้านและจำหน่าย
0
34
28. ตรวจรายงานงวด และสรุปผลโครงการ
วันที่ 29 มีนาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
สรุปผลโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
โครงการบรรลุเป้าหมายที่วางไว้
0
3
29. คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ
วันที่ 4 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คืนเงินดอกเบี้ย
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตามและเฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
ตัวชี้วัด : - เกิดกระบวนการ ประเมิน ติดตามและเฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
1 ตัวชี้วัดผลลัพธ์
ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย
ของโรงเรียน
ปี2559
1.ภาวะโภชนาการนักเรียน
1.1 ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วน
(นักเรียนที่มีน้ำหนักต่อส่วนสูงเกินเกณฑ์มาตรฐาน: มากกว่าหรือเท่ากับ+2 S.D. ขึ้นไป) 1.90
1.2 ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีภาวะผอม
(นักเรียนที่มีน้ำหนักต่อส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน: น้อยกว่าหรือเท่ากับ -2 S.D. ) 4.50
1.3 ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีภาวะเตี้ย
(นักเรียนที่มีน้ำหนักต่อส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน: น้อยกว่าหรือเท่ากับ -2 S.D. )
2.45
1.4 ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีภาวะส่วนสูงระดับดีและสมส่วน 92.00
2. สมรรถภาพทางกาย
- ร้อยละของเด้กนักเรียนที่มีสมรรถภาพทางกายเหมาะสมตามวัยใน 3 ด้าน คือ การไหลเวียนเลือด ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ และความอ่อนตัว 75.00
3.สุขภาพด้านอื่นๆของนักเรียน
3.1 ร้อยละของเด็กนักเรียนที่เป็นโรคฟันผุ 8.00
ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย
ของโรงเรียน
ปี2559
3.2มีเหตุการณ์การระบาดของโรคอาหารเป็นพิษ ไม่มี
3.3ร้อยละของเด็กนักเรียนที่ไม่เป็นเหา 100.00
3.4ร้อยละของเด็กนักเรียนที่ตรวจพบความผิดปกติของสายตาและการได้ยินได้รับการดูแลส่งต่อรักษา ไม่มี
4.การบริโภคอาหาร
- ร้อยละของเด็กนักเรียนที่บริโภคอาหารได้ถูกต้อง 75
5.สุขนิสัยที่พึงประสงค์
- ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีสุขนิสัยที่พึงประสงค์ 75
6.ปริมาณผลผลิตทางการเกษตรแบบผสมผสานในโรงเรียน
6.1 ปริมาณผัก 110
6.2 ปริมาณผลไม้ 100
6.3 สัตว์ปีก -
6.4 สัตว์น้ำ 400
6.5 เห็ด 150
7.ความรู้ด้านเกษตร โภชนาการ และสุขภาพ
- ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีความรู้ด้านเกษตร โสหกรณ์ภชนาการ และสุขภาพระดับดีขึ้นไป 75
8.ความพึงพอใจของนักเรียนต่อโครงการสุขภาพในโรงเรียน 82
9.ความพึงพอใจของผู้ปกครองต่อโครงการสุขภาพในโรงเรียน 75
10.ความพึงพอใจของหน่วยงานที่สนับสนุน 72
2
เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชุมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดาเนินงานความสาเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร
ตัวชี้วัด : เกิดการมีส่วนร่วมของชุมชุมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดาเนินงานความสาเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร
3
เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนเพิ่มขึ้น และเพื่อขยายผลเครือข่ายโรงเรียนในอำเภอ
ตัวชี้วัด : ขยายผลไปสู่โรงเรียนในเครือข่ายเข้าร่วม 10 โรง มาร่วมโครงการจำนวน10โรงดังนี้
1. โรงเรียนบ้านควนประกอบ
2. โรงเรียนบ้านต้นประดู่
3. โรงเรียนวัดควนขี้แรด
4. โรงเรียนบ้านคู
5. โรงเรียนบ้านป่าแก่
6. โรงเรียนบ้านพูดกรป.กลาง
7. โรงเรียนบ้านนาทุ่งโพธิ์
8. โรงเรียนบ้านหน้าวัง
9. โรงเรียนวัดเขาวงก์
10. โรงเรียนวัดพังกิ่ง
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โรงเรียนบ้านวังปริง จ.พัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ ศรร.1411-110
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายบุญธรรม พัชรเลขกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โรงเรียนบ้านวังปริง จ.พัทลุง
“ โรงเรียนบ้านวังปริง จ.พัทลุง ”
โรงเรียนบ้านวังปริง ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุงหัวหน้าโครงการ
นายบุญธรรม พัชรเลขกุล
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านวังปริง จ.พัทลุง
ที่อยู่ โรงเรียนบ้านวังปริง ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ ศรร.1411-110 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ต.21
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านวังปริง จ.พัทลุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านวังปริง ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านวังปริง จ.พัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านวังปริง จ.พัทลุง
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านวังปริง จ.พัทลุง " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนบ้านวังปริง ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ศรร.1411-110 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านวังปริง จ.พัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 115 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียน บ้านวังปริง จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตามและเฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
- เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชุมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดาเนินงานความสาเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร
- เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนเพิ่มขึ้น และเพื่อขยายผลเครือข่ายโรงเรียนในอำเภอ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กนักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
- โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
- พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดาเนินงาน
- ชุมชนมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน
- ขยายผลเครือข่ายโรงเรียนในอำเภอมาร่วมโครงการจำนวน10โรงดังนี้
- โรงเรียนบ้านควนประกอบ
- โรงเรียนบ้านต้นประดู่
- โรงเรียนวัดควนขี้แรด
- โรงเรียนบ้านคู
- โรงเรียนบ้านป่าแก่
- โรงเรียนบ้านพูดกรป.กลาง
- โรงเรียนบ้านนาทุ่งโพธิ์
- โรงเรียนบ้านหน้าวัง
- โรงเรียนวัดเขาวงก์
- โรงเรียนวัดพังกิ่ง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมโปรแกรม Thai School Lunch การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ |
||
วันที่ 12 พฤษภาคม 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ1.ครูเข้ารับอบรม 2.ผู้รับผิดชอบจัดรายการอาหารกลางวันตามโปรแกรม Thai School Lunch ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 2 |
2. ให้ความรู้เกี่ยวกับสหกรณ์และการทำบัญชีครัวเรือนแก่นักเรียน / ออมทรัพย์ /จำหน่ายสินค้า |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
235 | 86 |
3. จัดนิทรรศการ |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดนิทรรศการแสดงผลงานนักเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนำเสนอผลงานในกิจกรรมต่างๆของโรงเรียน
|
255 | 0 |
4. ปรับปรุงสภาพแวดล้อมในโรงเรียน |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.สำรวจสภาพอาคาร สำนักงาน โรงอาหาร และห้องน้ำห้องส้วม 2. ปรับปรุงสภาพแวดล้อม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอาคารเรียน สำนักงาน โรงอาหาร และสภาพแวดล้อม สะอาด ปลอดภัย สวยงาม
|
255 | 117 |
5. ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมลดเวาลเรียน เพิ่มเวลารู้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนเข้าร่วมปฎิบัติกิจกรรมทุกคน
|
0 | 117 |
6. ทำน้ำหมักชีวภาพ |
||
วันที่ 7 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีน้ำหมักชีวภาพใช้รดพืชผัก ไม้ดอกไม้ประดับ เผยแพร่สู่ชุมชน
|
0 | 36 |
7. ให้ความรู้เกี่ยวกับการเกษตร |
||
วันที่ 25 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมได้
|
0 | 59 |
8. ปลูกผักสวนครัว |
||
วันที่ 1 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.เตรียมแปลงผัก พันธุ์ผัก ปุ๋ยคอก 2. แบ่งกลุม่นักเรียนผู้รับผิดชอบ 3. ให้นักเรียนปลูกผักแต่ละชนิด และรับผิดชอบดูแลรักษา 4.นำผลผลิตไปปประกอบอาหารสนับสนุนโครงการอาหารกลางวัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนำผลผลิตไปปประกอบอาหารสนับสนุนโครงการอาหารกลางวัน นำไปประกอบการจัดกิจกรรม ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
|
0 | 112 |
9. เพาะเห็ด |
||
วันที่ 2 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 25 |
10. ให้ความรู้นักเรียนด้านสุขภาพ (ฝึกมวยไทย เต้นแอร์โรบิก) |
||
วันที่ 3 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
255 | 36 |
11. เลี้ยงผึ้งโพรง |
||
วันที่ 31 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.สร้างบ้านผึ้ง จำนวน 10 หลัง 2. นำบ้านผึ่งไปวางในบริเวณโรงเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นยังไม่เกิดผลสำเร็จ
|
0 | 25 |
12. เฝ้าระวังโภชนาการและสมรรถภาพร่างกายนักเรียน |
||
วันที่ 1 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง นักเรียนภาคเรียนละ 2 ครั้ง 2. จัดอาหารเสริมนมในภาคเช้า 3. จัดอาหารมือกลางวันตามโปรแกรม Thai School Lunch 4. สรุปภาวะโภชนาการ 5.ให้อาหารว่างในภาคบ่ายสำหรับนักเรียนที่มีปัญหาทุพโภชนาการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
255 | 243 |
13. ป้ายแหล่งเรียนรู้ 10 จุด / ป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ |
||
วันที่ 13 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีป้ายแนะนำกิจกรรมประกอบการเรียนรู้
|
0 | 3 |
14. ประชุมสัญจรทำรายงานออนไลน์งวดที่ 1 |
||
วันที่ 13 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.รักษาการผู้อำนวยการโรงเรียน ครูเกษตร ครูการเงิน ครูอนามัยโรงเรียน และครูบันทึกข้อมูล เข้ารับการประชุม
2. จัดทำข้อมูลรายงานผลการดำเนินงานงวดที่ 1 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้จัดทำรายงานผล และบันทึกข้อมูลการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1 เพื่อขอรับงบประมาณงวดที่ 2
|
0 | 5 |
15. อบรมผู้เฝ้าระวัง/บริหารโครงการ แม่ครัว/ผู้ปกครอง/แกนนำนักเรียนได้รับการอบรมความรู้ มีความเข้าใจ การใช้เมนูอาหารนำไปปฏิบัติได้จริง |
||
วันที่ 4 พฤศจิกายน 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 13 |
16. เตรียมบ่อ เลี้ยงปลากินพืช และเลี้ยงปลาดุก |
||
วันที่ 24 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 29 |
17. แบบประเมินสุขภาพรายบุคคล |
||
วันที่ 16 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนมีสุขอนามัยที่ดี
|
52 | 50 |
18. ทำปุ๋ยหมัก / ปุ๋ยชีวภาพ |
||
วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 57 |
19. เกษตรที่บ้านนักเรียน |
||
วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำตืดตามผลโดยการสัมภาษณ์ สอบถาม และเยี่ยมบ้านนักเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนมีพืชผักสวนครัวไว้รับประทาน
|
0 | 92 |
20. การแปรงฟันหลังอาหารเที่ยง |
||
วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนมีสุขภาพพันที่ดี
|
0 | 114 |
21. ทดสอบสมรรถนะนักเรียน |
||
วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 101 |
22. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสหกรณ์และการทำบัญชีครัวเรือนแก่นักเรียน / ออมทรัพย์ 2 |
||
วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสหกรณ์และการทำบัญชีครัวเรือนแก่นักเรียน / ออมทรัพย์ ครั้งที่ 2
|
0 | 0 |
23. อบรมให้ความรู้นักเรียนด้านสุขภาพ (ฝึกมวยไทย เต้นแอร์โรบิก) ครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นให้ความรู้นักเรียนด้านสุขภาพ (ฝึกมวยไทย เต้นแอร์โรบิก) ครั้งที่ 2
|
0 | 0 |
24. ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ห้องส้วม |
||
วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 3 |
25. ปรับปรุงโรงอาหาร |
||
วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 15:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 101 |
26. การประเมินภาคความรู้ด้านต่างๆ |
||
วันที่ 17 มีนาคม 2560 เวลา 15:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นครู นักเรียน ผู้ปกครอง และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความพึงพอใจ ต่อการจัดกิจกรรมทุกกิจกรรม ในระดับ ดีมาก
|
255 | 225 |
27. เพาะชำต้นไม้ |
||
วันที่ 20 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 34 |
28. ตรวจรายงานงวด และสรุปผลโครงการ |
||
วันที่ 29 มีนาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำสรุปผลโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นโครงการบรรลุเป้าหมายที่วางไว้
|
0 | 3 |
29. คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ |
||
วันที่ 4 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคืนเงินดอกเบี้ย
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตามและเฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน ตัวชี้วัด : - เกิดกระบวนการ ประเมิน ติดตามและเฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน 1 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ของโรงเรียน ปี2559 1.ภาวะโภชนาการนักเรียน 1.1 ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วน (นักเรียนที่มีน้ำหนักต่อส่วนสูงเกินเกณฑ์มาตรฐาน: มากกว่าหรือเท่ากับ+2 S.D. ขึ้นไป) 1.90 1.2 ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีภาวะผอม (นักเรียนที่มีน้ำหนักต่อส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน: น้อยกว่าหรือเท่ากับ -2 S.D. ) 4.50 1.3 ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีภาวะเตี้ย (นักเรียนที่มีน้ำหนักต่อส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน: น้อยกว่าหรือเท่ากับ -2 S.D. ) 2.45 1.4 ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีภาวะส่วนสูงระดับดีและสมส่วน 92.00 2. สมรรถภาพทางกาย - ร้อยละของเด้กนักเรียนที่มีสมรรถภาพทางกายเหมาะสมตามวัยใน 3 ด้าน คือ การไหลเวียนเลือด ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ และความอ่อนตัว 75.00 3.สุขภาพด้านอื่นๆของนักเรียน 3.1 ร้อยละของเด็กนักเรียนที่เป็นโรคฟันผุ 8.00 ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ของโรงเรียน ปี2559 3.2มีเหตุการณ์การระบาดของโรคอาหารเป็นพิษ ไม่มี 3.3ร้อยละของเด็กนักเรียนที่ไม่เป็นเหา 100.00 3.4ร้อยละของเด็กนักเรียนที่ตรวจพบความผิดปกติของสายตาและการได้ยินได้รับการดูแลส่งต่อรักษา ไม่มี 4.การบริโภคอาหาร - ร้อยละของเด็กนักเรียนที่บริโภคอาหารได้ถูกต้อง 75 5.สุขนิสัยที่พึงประสงค์ - ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีสุขนิสัยที่พึงประสงค์ 75 6.ปริมาณผลผลิตทางการเกษตรแบบผสมผสานในโรงเรียน 6.1 ปริมาณผัก 110 6.2 ปริมาณผลไม้ 100 6.3 สัตว์ปีก - 6.4 สัตว์น้ำ 400 6.5 เห็ด 150 7.ความรู้ด้านเกษตร โภชนาการ และสุขภาพ - ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีความรู้ด้านเกษตร โสหกรณ์ภชนาการ และสุขภาพระดับดีขึ้นไป 75 8.ความพึงพอใจของนักเรียนต่อโครงการสุขภาพในโรงเรียน 82 9.ความพึงพอใจของผู้ปกครองต่อโครงการสุขภาพในโรงเรียน 75 10.ความพึงพอใจของหน่วยงานที่สนับสนุน 72 |
||||
2 | เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชุมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดาเนินงานความสาเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร ตัวชี้วัด : เกิดการมีส่วนร่วมของชุมชุมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดาเนินงานความสาเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร |
||||
3 | เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนเพิ่มขึ้น และเพื่อขยายผลเครือข่ายโรงเรียนในอำเภอ ตัวชี้วัด : ขยายผลไปสู่โรงเรียนในเครือข่ายเข้าร่วม 10 โรง มาร่วมโครงการจำนวน10โรงดังนี้ 1. โรงเรียนบ้านควนประกอบ 2. โรงเรียนบ้านต้นประดู่ 3. โรงเรียนวัดควนขี้แรด 4. โรงเรียนบ้านคู 5. โรงเรียนบ้านป่าแก่ 6. โรงเรียนบ้านพูดกรป.กลาง 7. โรงเรียนบ้านนาทุ่งโพธิ์ 8. โรงเรียนบ้านหน้าวัง 9. โรงเรียนวัดเขาวงก์ 10. โรงเรียนวัดพังกิ่ง |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โรงเรียนบ้านวังปริง จ.พัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ ศรร.1411-110
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายบุญธรรม พัชรเลขกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......